• Tidak ada hasil yang ditemukan

GREENonEquity Issue1 Thai

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2017

Membagikan "GREENonEquity Issue1 Thai"

Copied!
6
0
0

Teks penuh

(1)

GREEN

Etienne Delattre Chief of Party

(2)

ความเสมอภาคในการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่าไม้คือ

อะไร

?

การที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาค

ส่วนได้รับการปฎิบัติอย่างเป็น

ธรรม อันเป็นผลจากการสร้าง

และด าเนินการทางนโยบาย การ

-กระจายทรัพยากรและต้นทุน

ตามหลักการที่ได้รับการเห็นชอบ

ร่วมกัน

สิทธิที่ชัดเจนและมี ประสิทธิภาพ(Clear and Effective Rights) คือการ

ให้โอกาสผู้มีส่วนได้เสียทุก ระดับได้มีส่วนร่วมและได้รับ ประโยชน์จากกิจกรรมที่ เกี่ยวกับการบรรเทา ภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศในภาคป่าไม้และ การจัดการป่า

ธรรมาภิบาล(Good Governance)คือการ

สนับสนุนหลักนิติธรรม การ เคารพสิทธิ มีความโปร่งใส ยึด หลักความรับผิดชอบและ ตรวจสอบได้ การเข้าถึงข้อมูล และการมีส่วนร่วมที่เหมาะสม ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน กระบวนการตัดสินใจ

การที่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ซึ่งมีความเข้มแข็งและชัดเจน ในสิทธิของตน ได้รับการ แบ่งปันผลประโยชน์อย่าง เป็นธรรม (Fair share of benefits) จากกิจกรรมการ

บรรเทาภาวะการ เปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศในภาคป่าไม้ และ การจัดการป่า

สิทธิที่ชัดเจน

และ

มีประสิทธิภาพ

ธรรมาภิบาล

การแบ่งปัน

ผลประโยชน์

ที่เป็นธรรม

ความเสมอภาค

ท าไมความเสมอภาคจึงมีความส าคัญ

?

ความเสมอภาค เป็นประเด็นหนึ่งที่ได้รับความสนใจและเป็นที่ถกเถียงในระดับนานาชาติ เกี่ยวกับการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่าไม้ ข้อกังวลที่ส าคัญคือการ บรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่าไม้จะส่งผลให้เกิดความไม่เป็นธรรมกับชุมชน ท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ในขณะเดียวกันการบรรเทาภาวะการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่าไม้ก็สามารถช่วยเสริมสร้างความเป็นธรรมเพิ่มขึ้นได้ พื้นฐาน ของโครงการกรีนแม่โขงเกิดจากการตระหนักว่าการเสริมสร้างความเสมอภาคเป็นสิ่งส าคัญต่ออนาคต ของการจัดการทรัพยากรป่าไม้ในภูมิภาคลุ่มน ้าโขง รวมทั้งต่อชุมชนที่พึ่งพิงทรัพยากรเหล่านั้น

แหล่งข้อมูลเพิ่มเติมเรื่องความเสมอภาค

เรดด์เน็ต (REDD-net) คือศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และสื่อเพื่อการ

เรียนรู้ที่เกี่ยวกับเรดด์พลัส(REDD+)หรือการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการท าลายป่า

และความเสื่อมโทรมของป่า ท่านสามารถอ่านวารสารทุกฉบับของ REDD-net ได้ที่ http://www.redd-net.org

เอกสารของ RECOFTC ที่ตีพิมพ์ร่วมกับ East-West Centerเรื่อง Hanging in the Balance: Equity in Community-Based Natural Resource Management in

Asia ที่มีการหยิบยกค าถามส าคัญต่างๆเกี่ยวกับความเสมอภาคในบริบทของการจัดการ

ทรัพยากรธรรมชาติโดยมีชุมชนเป็นฐาน ดูรายละเอียดได้จากhttp://www.recoftc.org/site/

การประชุมนานาชาติครั้งแรกในหัวข้อของความเสมอภาคในการบรรเทาภาวะการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่าไม้ จัดขึ้นในเดือนมีนาคม 2555ที่ประเทศอังกฤษภายใต้

ชื่อ “Beyond Carbon Conference” เนื้อหาของการประชุมนี้เป็นการสะท้อนถึงพัฒนาการของ

ความเป็นธรรมและความเสมอภาคในประเด็นที่มีการถกเถียงเกี่ยวกับ REDD+เป้าหมายของการ

ประชุมครั้งนี้คือการหารือเกี่ยวกับข้อจ ากัดและโอกาสในการสร้างผลประโยชน์ร่วมกันจาก REDD+

ในช่วงเวลา2วันของการประชุมครั้งนี้มีนักวิทยาศาสตร์, เจ้าหน้าที่รัฐ, เจ้าหน้าที่จากองค์กรภาค

ประชาสังคม และภาคเอกชนเข้าร่วมการประชุมมากกว่า 100คน ท่านสามารถหาเอกสารและสื่อ

(3)

ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ

ระยะเวลาด าเนินโครงการ:

3

ปี(ตั้งแต่

เดือนตุลาคม2555 ถึง เดือนกันยายน 2558)

แหล่งทุน: USAID Regional Development Mission Asia

ประเทศที่ด าเนินโครงการ: กัมพูชา ลาว

พม่า ไทย และเวียดนาม

ผลิตผลของโครงการ

มีข้อเสนอแนะทางนโยบายอย่างน้อย 2

ชุด ที่รวบรวมประเด็นเกี่ยวกับภาวะการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่าไม้จาก ระดับรากหญ้าเพื่อน าไปถ่ายทอดในเวทีหรือ เครือข่ายทางนโยบายระหว่าง ประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

มีองค์กรภาคประชาสังคมระดับชาติถึง 20

องค์กรที่ได้รับการอบรมในประเด็นความเสมอ ภาคในการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศในภาคป่าไม้ และมีความสามารถใน การจัดกระบวนการปรึกษาหารือกับผู้มีส่วนได้เสีย ในระดับรากหญ้า

มีองค์กรภาคประชาสังคมระดับชาติจ านวน ถึง 10 องค์กรที่ได้รับการสนับสนุนในการ

รวบรวมและสื่อสารมุมมองต่างๆอของผู้มีส่วนได้ เสียในระดับรากหญ้าสู่ผู้ก าหนดนโยบายใน ประเทศเหล่านั้น

ความเสมอภาคในการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่าไม้ คืออะไร?

ขอเชิญร่วมเสนอแนะค าตอบหรือแสดงความเห็นต่อความหมายของค าว่า กรีนแม่โขง เราจะน าทุกความเห็นของท่านมาแสดงบนเว็บไซต์ของโครงการ ข้อเสนอแนะที่ดีที่สุดจะได้รับการ

เผยแพร่ในจดหมายข่าวฉบับต่อไปของเรา ส่งความคิดเห็นของท่านได้ที่

green.mekong@recoftc.org เว็บไซต์ของโครงการกรีนแม่โขง

จะเป็นศูนย์กลางออนไลน์ส าหรับ ประเด็นความเสมอภาคในการ บรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศในภาคป่าไม้ ท่านสามารถเรียนรู้เพิ่มเติม เกี่ยวกับโครงการกรีนแม่โขงจาก เว็บไซต์ของเราที่

โครงการกรีนแม่โขงจะมีส่วนสนับสนุนให้เกิดความเสมอ

ภาคได้อย่างไร

?

สื่อและเอกสารเพื่อการสื่อสารที่พัฒนาขึ้นจากโครงการจะช่วยสร้างความเข้าใจและ ตระหนักรู้แก่ผู้เกี่ยวข้องจากภาคส่วนต่างๆ ถึงเรื่องความเสมอภาคในการบรรเทาภาวะการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่าไม้ ปัจจัยดังกล่าวจะน าไปสู่นโยบายและกระบวนการการ พัฒนาศักยภาพและการแบ่งปันข้อมูลที่เหมาะสมสอดคล้อง ในที่นี้ผู้เกี่ยวข้องจากภาคส่วนต่างๆ ได้แก่ หน่วยงานรัฐ ภาคประชาสังคม สถาบันการศึกษา องค์กรท้องถิ่น ชุมชน องค์กรพัฒนา เอกชนในระดับชาติและนานาชาติ และภาคธุรกิจ

ผู้เกี่ยวข้องในภาคส่วนต่างๆ มีความเข้าใจเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับความเสมอภาคใน

การบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่าไม้

การสร้างกลไกการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพเพื่อน าเสนอมุมมองจากผู้มีส่วนได้เสียในระดับ รากหญ้าสู่ผู้ก าหนดนโยบายในระดับชาติ และระดับประเทศ โดยใช้กระบวนการการเรียนรู้ การให้ ข้อมูลที่ชัดเจน และการปรึกษาหารือร่วมกันผ่านช่องทางต่างๆ ทั้งในระดับชาติและภูมิภาค เพื่อให้ ผู้ก าหนดนโยบายน าเอาความคิดเห็นเหล่านี้มาพิจารณาเพื่อน าไปสู่การเสริมสร้างความเสมอภาค ในการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่าไม้อย่างมีประสิทธิภาพ

เสริมสร้างความเข้มแข็งของกระบวนการทางนโยบายเกี่ยวกับการบรรเทา

ภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่าไม้ ในระดับชาติและภูมิภาค

กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพให้กับองค์กรภาคประชาสังคมจะช่วยให้ผู้มีส่วนได้เสียระดับ รากหญ้ามีความเข้าใจในหลักการของการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาค ป่าไม้ซึ่งมีประเด็นของความเสมอภาคเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ รวมทั้งในการวางแผนและการด าเนินโครงการที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้โครงการ ยังคาดหวังว่าจากศักยภาพที่เพิ่มขึ้นจะท าให้ชุมชนมีช่องทางต่างๆ มากขึ้นในการเข้ามามีส่วนร่วม อย่างแข็งขันและสามารถร่วมกันค้นหาแนวทางที่เหมาะสมเพื่อตอบสนองต่อความท้าทาย อุปสรรคและความเสี่ยงในการด าเนินงานเพื่อการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในภาคป่าไม้ในหลากหลายระดับ

สร้างศักยภาพให้กับองค์กรภาคประชาสังคม เพื่อเสริมสร้างความเสมอภาค

ในการบรรเทาภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคป่าไม้

ท่านสามารถเข้าถึง

ข้อมูลส าคัญ

เกี่ยวกับโครงการ

(factsheet)

ได้ที่เว็บไซต์ของเรา

(4)

ในวันที่ 6 มีนาคมที่ผ่านมา โครงการกรีนแม่โขงและ LEAF

(Forest Carbon Partnership Facility)ของธนาคารโลก

หลังจากที่ ร่าง R-PP ของประเทศไทยได้รับการอนุมัติแล้ว RECOFTC และกรมป่าไม้ซึ่งขึ้นกับกระทรวงการเกษตรและป่าไม้ของ ประเทศลาว การสัมมนามีผู้เข้าร่วมราว 45 คนจากหน่วยงานรัฐ องค์กร Area (CERDA), United Nations collaborative initiative on Reducing Emissions from Deforestation and forest Degradation (UN-REDD) และ โครงการลดก๊าซเรือนกระจกในป่า เอเชีย (LEAF) ในประเทศเวียดนาม ได้ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เกี่ยวกับการน ามิติหญิงชายมาพิจารณาในกระบวนการด าเนินงาน การ น าเสนอและอภิปรายจากการสัมมนาได้ถูกรวบรวมและจัดท าเป็น ข้อเสนอทางนโยบายส าหรับแต่ละประเทศ ซึ่งท่านสามารถดูรายละเอียด ได้ในเว็บไซต์ของRECOFTC

(5)

เจนเดอร์เลนส์

(Gender Lens)

-

มองผ่านเลนส์มิติหญิงชาย

(Food & Agriculture Organization of the

United Nations –FAO)

FAO มีเอกสารมากมายในเรื่องมิติหญิงชายกับป่า

(International Institute of

Sustainable Development –IISD)

(6)

สงวนลิขสิทธิ์ © 2011 ศูนย์ฝึกอบรมวนศาสตร์ชุมชนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก- RECOFTC อนุญาตให้สามารถท าส าเนาข้อมูลจากเอกสารนี้ในรูปแบบของ ดิจิตอลหรือเอกสารตีพิมพ์ได้โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย และไม่ต้องมีการขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อเป็นการน าไปประกอบสื่อการเรียนและวัตถุประสงค์ที่ ไม่ใช่ในเชิงพาณิชย์ และจะต้องไม่น าข้อมูลไปเผยแพร่ต่อเพื่อหวังผลก าไร และควรชี้แจงแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างชัดเจน ส าเนาของเอกสารนี้ หรือเอกสารนี้ใน ภาษาอื่นๆ ควรกล่าวถึงข้อชี้แจงเรื่องลิขสิทธิ์ในหน้าแรกของเอกสาร หรือสื่อดิจิตอล ผู้เผยแพร่ข้อมูลควรเคารพลิขสิทธิของเจ้าของข้อมูลในเอกสารนี้ที่ นอกเหนือจากRECOFTCด้วยRECOFTCอนุญาตให้มีการน าข้อมูลโดยย่อของเอกสารนี้ไปเผยแพร่ต่อได้ การเผยแพร่ข้อมูลทั้งหมดในรูปแบบอื่น เช่นการลง ตีพิมพ์ใหม่ หรือการแจกจ่ายเอกสารควรได้รับค าอนุญาตจาก RECOFTC ผู้สนใจเผยแพร่ข้อมูลสามารถขอการอนุมัติจาก RECOFTCได้โดยส่งค าขอเป็นลาย ลักษณ์อักษรไปยัง ตู้ ป.ณ. 1111มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร 10903ประเทศไทย หรือส่งอีเมลมาที่ info@recoftc.org

จดหมายข่าวฉบับนี้จัดท าขึ้นโดย

ศูนย์ฝึกอบรมวนศาสตร์ชุมชนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

RECOFTC

ตู้ ป.ณ. 1111 ไปรษณีย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร 10903, ประเทศไทย

เกี่ยวกับ RECOFTC

รีคอฟ-RECOFTCเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ไม่แสวงหาผลก าไรแห่งเดียว ที่มีความเชี่ยวชาญในการเสริมสร้างศักยภาพในด้านวนศาสตร์ชุมชน และการ กระจายอ านาจในการจัดการป่าไม้ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก รีคอฟ

-RECOFTC เริ่มจากการเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ตั้งแต่ปี 2530 เป็นต้นมา จนปัจจุบัน รีคอฟ-RECOFTC ยังคงมีบทบาทส าคัญในการสนับสนุนการ พัฒนาสถาบันด้านวนศาสตร์ชุมชน รวมทั้งนโยบายและแผนงานต่างๆ ใน ภูมิภาค

บรรณาธิการจดหมายข่าว: Ann Jyothis, RECOFTC ภาพประกอบโดย: Etienne Delattre, RECOFTC

ท่านสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการกรีนแม่โขงได้ที่เว็บไซต์ของเรา: http://www.recoftc.org/site/about-green-mekong

Referensi

Dokumen terkait

[r]

Surat Penawaran serta Daftar Kuantitas & Harga. Tidak Ada

I conclude that the within-species variation in the leaf-stem balance of current-year shoots is related to variation in shoot functional roles, as has been observed for long and

- Nama Perusahaan yang diundang beserta undangan Pembuktian Kualifikasi telah dikirimkan ke alamat Email masing-masing perusahaan sesuai dengan data yang telah diupload di LPSE

Pokja Barang/Jasa Konsultansi dan Jasa Lainnya pada Unit Layanan Pengadaan Barang/Jasa Kabupaten Aceh Barat Daya akan melakukan klarifikasi dan/atau verifikasi kepada penerbit

- Nama Perusahaan yang diundang beserta undangan Pembuktian Kualifikasi telah dikirimkan ke alamat Email masing-masing perusahaan sesuai dengan data yang telah diupload di LPSE

Sehubungan dengan masa sanggah yang akan berakhir pada tanggal 31 Mei 2017 maka dengan ini pokja Biro Layanan Pengadaan Barang dan Jasa Provinsi Papua

Summary Both drought and root pruning (RP) increased the number of cones induced when black spruce ( Picea mariana (Mill.) B.S.P.) grafts were injected with gibberellins A 4/7