• Tidak ada hasil yang ditemukan

การบริโภคยาสูบในประชากรกลุ่มพิเศษ

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "การบริโภคยาสูบในประชากรกลุ่มพิเศษ"

Copied!
87
0
0

Teks penuh

(1)

การบริโภคยาสูบในประชากรกลุ่มต่างๆ

22. 22. 22. การบริโภคยาสูบในประชากร การบริโภคยาสูบในประชากร การบริโภคยาสูบในประชากร กลุ่ม กลุ่ม กลุ่ม พิเศษ พิเศษ พิเศษ

นายแพทย์หทัย ชิตานนท์, พบ, อว (ประสาทศัลยศาสตร์), สด (กิตติมศักดิ์), FICS, FRCST, FCNST ประธานสถาบันส่งเสริมสุขภาพไทย, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ

ประธานรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัยโลก (2550-2551)

เอกสารวิชาการส าหรับนักวิจัยและนักวิชาการควบคุมยาสูบ

(2)

สารบัญ

หน๎า

1. แพทย๑ 1

2. ทันตแพทย๑ 10

3. เภสัชกร 11

4. พยาบาล 13

5. นักวิชาการสาธารณสุข 15

6. ครู 17

7. ทหารและต ารวจ 18

8. ผู๎สูงอายุ 20

9. กลุํมเชื้อชาติและชนกลุํมน๎อย 21

10. กลุํมศาสนา 22

11. นักกีฬา 28

12. ดาราและผู๎มีชื่อเสียง 34

(3)

1. แพทย์

อัตราการสูบบุหรี่ของแพทย์

เมื่อปี 2000 อัตราการสูบบุหรี่ของแพทย๑ในประเทศตํางๆ โดยสรุปมีดังนี้

- อินเดีย มีอัตราต่ าสุด (แพทย๑ชาย 3% หญิง 0%)

- บอสเนียเฮอรเซโกวินา มีอัตราสูงสุด (แพทย๑ชาย 55% หญิง 50%)

(4)

Possible social dynamics of changes in smoking behaviour

culture region tobacco-

industry socio-economic

status adults females students

clubs acceptability of

smoking puritan/norms promotion/price family income exemplary role emancipation Peer pressure medical students’

smoking behaviour restrictive

legislation cessation

methods mass media

campaigns healthism workstress/

anti-smoking campaigns

exemplary

role less

external control government health care

organizations anti-smoking

organizations life-style conscious

groups medical curricula professional medical associations

lack of home stability

Anti-smoking information research on smoking and health

(5)

ความชุกของการสูบบุหรี่ในนักศึกษาแพทย์ ตามเพศและประเทศ

อัตราการสูบบุหรี่ ปี

ประเทศ หญิง ชาย รวม

Algeria 9 47 1992*

Australia 7 10 1992*

Austria 35

50

1997*

1989*

Bangladesh 4 54 1992*

Belgium 28 1989*

Benin 0 13 1992*

Brazil 18 10 1985*

Czechoslovakia 36 1989*

China 4 47 1992*

Denmark 29 1989*

Egypt 2 6 1992*

Finland 18 1989*

France 32 1989*

West-Germany(former) 26

33

1977*

1989*

Great Britain 22

14 15

33 17 18

35

17 12

1972 1977*

1977 1981 1983*

1989*

Hong Kong 8

5

16 10

1987 1992*

Hungary 12 1989*

Iceland 14 1989*

(6)

India

0 0

3 7

40 27

1977*

1979 1981 1992*

Indonesia 8

11 16

43 50 47

1988 1988 1992*

Iraq 9 32 1976

Israel 12 18

21

1983 1985

Japan 8

6

51 49

1986 1992*

Kenya 7 37 1992*

Kuwait 9 16 1992*

Madagascar 9 30 1992*

Malaysia 1 18 1992*

Morocco 0 32 1992*

The Netherlands 16

23

19 31

1989 1989

Nigeria 72

4 28

1976 1992*

Pakistan 1

23 4

21 29 16

1981 1983*

1992*

Poland 42 1989*

Portugal 34 1989*

Romania 38

54

1989*

1990*

Russia (former) 15

10 35

42 54 62

1980*

1983*

1992*

(7)

Senegal 19 31 1992*

Singapore 0 4 1992*

Sudan 2 35 1990*

Thailand 0 16 1992*

Tunisia 17 39 1992*

Turkey 32 47

10

1981 1989*

United States

14 5 6

9 4 0

14 6 7 5

10

1977*

1978 1982*

1983 1985 1986 1987 1992*

Yugoslavia (former) 23 28

30 36

1978 1989*

*=year of publication

การทบทวนอัตราการสูบบุหรี่ของนักศึกษาแพทย์ทั่วโลก (Richmond Thorax, 1999)

อัตราการสูบบุหรี่ของนักศึกษาแพทย์ทั่วโลก มีตั้งแต่ 0-56% ในชาย และ 0-44.7% ในหญิง

การสูบบุหรี่มีความชุกในโรงเรียนแพทย์ของเอเชียน้อยกว่าของยุโรป

ความชุกของการสูบบุหรี่ในนักศึกษาแพทย์ชายในเตอรกี (43%) มีสูงกว่าในประเทศยุโรปอื่นๆ

ในเอเชีย, อัฟริกา และตะวันออกกลาง , อัตราการสูบบุหรี่ของนักศึกษาแพทย์หญิงต่่ากว่าของชาย (การสูบบุหรี่ในสตรีไม่เป็นที่ยอมรับของสังคม)

1 ชั่วโมงของการบรรยายเรื่องยาสูบ ควรมีเนื้อหา 9 เรื่อง 1. ความชุกของการสูบบุหรี่ในประเทศของตน

2. ส่วนประกอบของยาสูบที่มีอันตราย ได้แก่ นิโคติน, สารน้่ามันดิน, และคาร์บอนมอนน็อคไซด์

3. ผลของการสูบบุหรี่ต่อสุขภาพ และผลดีที่ได้จากการเลิกสูบ 4. ผลของควันบุหรี่มือสองต่อสุขภาพ

(8)

5. ชนิดต่างๆ ของผลิตภัณฑ์ยาสูบ 6. ภาวะพึ่งพิงนิโคติน

7. บทบาทของเวชปฏิบัติทั่วไปในการควบคุมยาสูบ 8. แง่มุมทางเศรษฐกิจของยาสูบ

9. อุตสาหกรรมยาสูบ

การสอน ‘การควบคุมยาสูบ’ ในโรงเรียนแพทย์

6 ใน 27 โรงเรียนแพทย์แจ้งว่าได้มีการสอนเรื่อง ‘การควบคุมยาสูบ’ เป็นการเฉพาะ

13 ใน 27 แจ้งว่าเรื่องยาสูบได้มีการผสมผสานไปในการสอนหัวข้อทางการแพทย์อื่นๆ

3 ใน 27 สอนเรื่องยาสูบอย่างไม่เป็นทางการระหว่างหัวข้ออื่นๆ

5 ใน 27 รายงานว่าไม่มีการสอนเรื่องยาสูบเลย ปัจจัยลบ

มีความบกพร่องในความรู้ของนักศึกษาแพทย์ในเรื่องของโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่

ขาดทักษะและทรัพยากรในการที่จะสอนเทคนิคการเลิกบุหรี่

โรงเรียนแพทย์จ่านวนน้อย (11%) ที่มีหัวข้อการสอนเรื่องยาสูบในหลักสูตร

25% ไม่สอนเรื่องยาสูบเลยในโรงเรียนแพทย์ของทวีปเอเชียและอัฟริกา

สิ่งกีดขวางการสอนยาสูบในโรงเรียนแพทย์คืออาจารย์จ่านวนมากยังสูบบุหรี่อยู่

มีการเพิ่มอย่างน่าตกใจในอัตราการสูบบุหรี่เมื่อนักเรียนแพทย์เรียนสูงขึ้น

นักศึกษาแพทย์ ไม่มีทักษะในการให้ค่าแนะน่าเกี่ยวกับการสูบบุหรี่

พฤติกรรมและทัศนคติต่อการสูบบุหรี่ของนักศึกษาแพทย์ ต่อการสูบบุหรี่และการรณรงค์เพื่อการ ไม่สูบบุหรี่ใน 9 ประเทศ ของทวีปเอเชีย1

รายงานการศึกษาในโรงเรียนแพทย๑ 15 แหํง จาก 9 ประเทศ ในทวีปเอเชีย ถึงเรื่อง พฤติกรรม ความรู๎ และทัศนคติ เกี่ยวกับยาสูบของนักศึกษาแพทย๑ ซึ่งประกอบด๎วยนักศึกษาปีแรก 1646 คน และปีสุดท๎าย 1587 คน ซึ่ง 59% เป็นชาย พบวํา

- ความชุกของการสูบบุหรี่เป็นประจ า ในชายคือ 4% ในปีแรก และ 11% ในปีสุดท๎าย

- ความชุกของการสูบบุหรี่เป็นครั้งคราวในชายคือ 18% และ 24% ในปีแรกและปีสุดท๎ายตามล าดับ

1 Tessier JF, Freour P, Belougne D and Crofton J. Smoking habits and attitudes of medical students towards smoking and antismoking campaigns, in nine Asian countries. International Journal of Epidemiology 1992; 21: 298-304.

(9)

- ความชุกของการสูบบุหรี่ในขายแตกตํางกันไป ระหวําง 3% ถึง 24% ในโรงเรียนแพทย๑ตํางๆ - 33% ของผู๎สูบบุหรี่เคยพยายามอยํางจริงจังที่จะเลิก

- 44% คาดวําจะเลิกได๎ภายใน 5 ปี

- มากกวํา 80% ของผู๎ไมํสูบหรือผู๎สูบในอดีต และ 60% ของผู๎สูบปัจจุบัน คิดวําการสูบบุหรี่มี

อันตรายตํอสุขภาพ

- มีความตระหนักน๎อยมากวําบุหรี่เป็นสาเหตุของโรคที่ส าคัญตํางๆ เชํน โรคหัวใจขาดเลือด , โรค หลอดเลือดสํวนปลาย , ถุงลมปอดพอง , มะเร็งของกระเพาะปัสสาวะ และการตายแรกเกิด - มีความบกพรํองอยํางเห็นได๎ในการฝึกและความตั้งใจที่จะให๎ค าแนะน าแกํผู๎ป่วยในการเลิกบุหรี่

- มีความรู๎เพียงเล็กน๎อยเกี่ยวกับกฎหมายและมาตรการตํางๆ ตัวอยําง เชํน เพียง 44% ของนักศึกษา แพทย๑ปีสุดท๎าย (26% ของผู๎สูบบุหรี่) คิดวําการขึ้นภาษีบุหรี่เป็นมาตรการส าคัญ

- ความรู๎และทัศนคติในนักศึกษาแพทย๑ ชายและหญิงไมํแตกตํางกัน

พฤติกรรมการสูบบุหรี่โดย เพศ , ชาย (M) และหญิง (F) ตามโรงเรียนแพทย์ต่างๆ 2 ปีรวมกัน ผู้สูบ

ประจ า

%

ผู้สูบบางครั้ง

% ผู้เคยสูบ

% ผู้ไม่สูบ

% นักศึกษา

ทั้งหมด

M F M F M F M F M F

Bangladesh 28 0 26 4 16 20 30 76 155 45

China

Beijing 15 1 32 3 21 1 32 95 86 113

Beijing-

Beijung 6 0 42 4 24 10 28 86 125 74

Beijing Zhei-

Jang 16 0 31 6 24 12 29 82 92 107

Shanghai 3 0 57 10 10 3 30 87 101 98

Tianjin 27 0 41 1 5 3 27 96 94 106

Hong Kong 0.5 0 9 5 6.5 5 84 90 227 65

India

Bombay 1 0 6 0 4 1 89 99 73 82

Madras 2 0 2 0 11 1 85 99 47 128

New Dehi 5 0 14 2 7 4 74 94 135 96

Indonesia 8 1 39 15 19 4 34 80 118 74

Malaysia 7 0 11 1 4 3 78 96 122 78

Pakistan 6 2 10 2 8 2 76 94 143 57

Singapore 0 0 4 0 3 2 93 98 205 109

Thailand 1 0 15 0 13 4 71 96 177 96

(10)

แพทย์ชาวสวีเดน

ในประเทศสวีเดนได๎มีการส ารวจความชุกของการสูบบุหรี่ในหมูํแพทย๑อยํางสม่ าเสมอในร๎อยละ 5 ของจ านวนแพทย๑ทั้งหมดตลอดระยะเวลา 27 ปีที่ผํานมา (ถึงปี 1996) พบวํา :

- ผู๎สูบบุหรี่ประจ าลดลงจาก 49% เป็น 6%

- จ านวนบุหรี่ที่บริโภคตํอวันลดลงจาก 13 เป็น 5 มวน - แพทย๑เวชปฏิบัติทั่วไปมีอัตราการสูบบุหรี่น๎อยที่สุด คือ 4%

- จิตแพทย๑มีอัตราการสูบบุหรี่สูงสุด คือ 11%

ข๎อค๎นพบอื่นๆ

เหตุผลที่ไมํสูบบุหรี่คือเรื่องสุขภาพ

ความที่จะต๎องเป็นแบบอยํางที่ดี เพิ่มจาก 10% เป็น 71% (จากปี 1969 – 1996)

แพทย๑ 84% ต๎องการให๎มีการสอนเรื่องการป้องกันการสูบบุหรี่ให๎แกํบรรดาแพทย๑ทั้งหมด

(11)

เมื่อค าแนะน าที่ไม่ดีเป็นค าแนะน าที่ดีที่สุด โดย นายแพทย์ Peter A. Ubel ผมจบออกมาเป็นแพทย์ 18 ปีแล้วก็ยังพบว่า ตนเองต้องดิ้นรนที่จะเข้าใจหลักการทางจริยธรรมของ การปฏิบัติงานทางการแพทย์

เมื่อไม่นานมานี้ผมได้ดูแลผู้ป่วยคนหนึ่งซึ่ง

กลืนไม่ได้ พบว่าอาการนี้เกิดจากมะเร็งที่ลามมาปอด เราหวังว่าจะท าให้โรคลามช้าลงและเขาจะ ได้มีชีวิตยืนต่อไปอีกสัก 2 – 3 เดือน ซึ่งเป็นสิ่งเล็กน้อยที่ชายอายุ 50 เศษจะอยู่กับภรรยาที่เขารัก และลูกหลายคนที่ก าลังจะเริ่มมีครอบครัว ในวันหนึ่งเมื่อผมเยี่ยมไข้และซักถามอาการภรรยาของ เขาก็ได้โพล่งขึ้นด้วยความโกรธว่าเช้าวันนั้นผู้ป่วยได้แอบออกไปสูบบุหรี่ เขาจ้องเธอและกล่าวว่า ไม่ใช่ธุระกงการอะไรของเธอ เธอหันมามองผมเพื่อขอการสนับสนุน อย่างไรผมก็เป็นแพทย์และผม พบว่าผมก าลังตกอยู่ในความงุนงงสงสัย

ในที่สุดผมก็บอกคนไข้ว่าเขาสูบบุหรี่ได้ ผมหันไปอธิบายกับภรรยาของเขาว่า ‚ผมทราบว่า คุณทั้งสองรักกันมาก ผมทราบว่าคุณก าลังพยายามไม่ให้เขาสูบบุหรี่เพราะคุณรักเขาและไม่

ต้องการให้เขาป่วยหนักลง แต่ขณะนี้บุหรี่จะไม่ท าร้ายเขาอีกแล้ว มันจะช่วยให้เขาผ่อนคลายลง สิ่งที่ส าคัญคือคุณทั้งสองคนควรอยู่ใกล้ชิดกันไว้ เพราะว่าระยะ 2 – 3 เดือนข้างหน้าเป็นระยะที่

ยากล าบาก ‚ผมเตือนเขาทั้งสองคนว่ามะเร็งรักษาไม่หายแล้วและเราก าลังหวังว่าจะช่วยคุณภาพ ชีวิตของเขาให้ดีขึ้นและใช้เวลาที่ดีที่สุดกับคนที่เขารัก‛

นายแพทย์ Peter A. Ubel เป็นผู้อ านวยการ Center for Behavioral and Decision Science in Medicine ของมหาวิทยาลัยมิชิแกน2

2 Ubel P.A. When Bad Advice Is the Best Advice. The New York Times April 27, 2009.

(12)

2. ทันตแพทย์

บทบาทของทันตแพทย์และทีมทันตกรรม

จากแถลงการณ๑ของสหพันธ๑ทันตแพทย๑นานาชาติ (FDI) ได๎กลําววําผลของการบริโภคยาสูบตํอฟัน เป็นเรื่องที่เห็นได๎ชัดเจนในคนไข๎ทุกคน และสามารถน าเป็นข๎อสนับสนุนในการให๎การปรึกษาเรื่อง การเลิกบุหรี่ ทันตแพทย๑และทีมงานทันตกรรมทั้งทีมอยูํในฐานะที่ดีมากที่จะให๎ค าแนะน า , ให๎การ สนับสนุน หรือสํงตํอไปยังบริการผู๎เชี่ยวชาญที่สามารถจะชํวยผู๎สูบบุหรี่ได๎ ในประเทศตํางๆ สํวน ใหญํบทบาทของทีมทันตกรรมยังไมํได๎น ามาใช๎ประโยชน๑ และจ าเป็นต๎องสร๎างความเข๎มแข็งให๎ใน ทุกระดับ เชํน :

 ให๎การศึกษาเรื่องทันตกรรม ซึ่งรวมถึงผลจากการสูบบุหรี่ และการเปลี่ยนแปลงบทบาททันต บุคลากรให๎เป็นแบบอยํางที่ดี

 ให๎การฝึกอบรมและการสร๎างขีดความสามารถแกํทีมทันตสุขภาพ

 ให๎มีการตอบแทนอยํางสมควรตํอการให๎ค าแนะน าการเลิกบุหรี่

 สร๎างความเข๎มแข็งในความรับผิดชอบด๎านสาธารณสุข แกํทั้งระดับปัจเจกและระดับสมาคม

 เพิ่มการชี้แนะให๎เป็นบทบาทที่ส าคัญของนักวิชาการทันตสุขภาพในการควบคุมยาสูบทุกระดับ

 FDI จัดให๎มีความเป็นผู๎น าในกระบวนการนี้ โดยสํงเสริมวิธีการใช๎ทีมงานและการใช๎สหสาขา ซึ่งปรับได๎ตามระบบงานในประเทศตํางๆ ทั่วโลก FDI มีพันธะต๎องให๎ความรํวมมือกับ นักวิชาการสาธารณสุขสาขาอื่นๆ ในเรื่องนี้

(13)

3. เภสัชกร

PHARMACISTS AGAINST TOBACCO

The Global Network of Phamacists Against Tobacco จัดตั้งโดย the International Pharmaceutical Federation (FIP) โดยความรํวมมือกับ WHO Europham Forum เป็นเครือขํายทั่วโลกส าหรับเภสัช กร, นักศึกษาเภสัชวิทยา และองค๑กรวิชาชีพของพวกเขาซึ่งมีความสนใจในการเลิกบุหรี่ และ กิจกรรมควบคุมยาสูบ เครือขํายนี้ได๎จัดตั้งขึ้นระหวํางการประชุมยาสูบ หรือสุขภาพโลกที่นครเฮ ลชิงกิ ฟินแลนด๑

เครือขํายนี้เปิดโอกาสให๎มีการส ารวจในภูมิภาคอื่นของโลก, รวบรวมข๎อมูล, และสํงเสริมบทบาท ของเภสัชกร รวมทั้งเปิดโอกาสให๎องค๑กรทางเภสัชกรรม และเภสัชกรรมได๎มีการแลกเปลี่ยน ประสบการณ๑ของการเลิกบุหรี่ในที่ตํางๆ

International Pharmaceutical Federation (FIP)

เป็นสหพันธ๑นานาชาติซึ่งมีเครือขํายทั่วโลกของเภสัชกรต๎านบุหรี่นี้ มีส านักงานตั้งอยูํที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร๑แลนด๑ สหพันธ๑ฯ ได๎ให๎ข๎อแนะน าการปฏิบัติงานแกํองค๑กรเภสัชกรรมในประเทศ ตํางๆ ดังนี้

1. รวบรวมข๎อมูลในเรื่อง

การบริโภคยาสูบ

การเลิกบุหรี่

เภสัชกรสามารถชํวยอะไรได๎บ๎าง 2. สอนบุคลากร

3. สร๎างเครือขําย

4. จัดตั้งหนํวยบริการตามความต๎องการของชุมชน 5. จัดแสดงที่หน๎าร๎านเภสัช

6. ให๎ข๎อมูลที่เหมาะสม 7. ให๎การสนับสนุนเฉพาะตัว

8. จัดให๎มีการเยี่ยมเยียนร๎านขายยา เพื่อติดตามผล 9. บันทึกกิจกรรมและผลที่ได๎รับ

10. รายงานผลให๎แกํผู๎รํวมงานและองค๑กรที่สังกัดอยูํ

(14)

งานขององค์กรเภสัชกรรมในประเทศต่างๆ

 ออสเตรเลีย

Quit Victoria’s Pharmacy Programme.

Smoking Cessation Programme for the Defence Force

 แคนาดา

Clinical Tobacco Intervention Program

 ญี่ปุ่น

การรณรงค๑เพื่อเลิกบุหรี่โดยสมาคมเภสัชกรรมญี่ปุ่น

 มาเลเซีย

จัดให๎เภสัชกรชุมชนเป็นผู๎ให๎บริการเลิกบุหรี่ที่ได๎รับการรับรองแล๎ว

 สิงคโปร๑

Smoking Cessation Programme in Guardian 2003

 สวีเดน (องค๑กร Swedish Pharmacists against Tobacco)

(15)

4. พยาบาล

(16)

ICN

Related sites

Florence Nightingale International Foundation

World Health Professions Alliance

International Council of

Nurses

ICN Advancing Nursing and Health World Wide

1899 - 2002

Press Releases | Fact Sheets | The International

Nursing Review | Links &

Conferences | Feedback | Advanced Practice Network | Disaster Preparedness | Nursing

Students | Regulation | Professional Practice | Socio-economic welfare |

International Nurses Day 2007 Positive practice

environments:

Quality workplaces = quality patient care

The ICN Definit ion of Nursing

The white heart symbol of nursing

ICN Code of Ethics ICN Biennial repor

Informed Patient Project

Nurse Politicians Network

ICN Conference & CNR 27 May - 1 June 2007

Yokohama, Japan

8th International Regulation Conference June 2-3 2007

Yokohama, Japan

Bulgarian nurses, Palestinîan doctor in Libya

International Centre for Human Resources in Nursing

International Health Workforce Migration Conference

ICN Applauds the High Level Panel

Recommendation for a UN Agency for Women

International Centre on Nurse Migration

ICN Nursing Mobile Library

Global TB / MDR-TB Resource Centre

2006 Triad Meetings

- Meeting of the National Nurses Associations - Meeting of the Regulators Forum

- Inaugural Triad Meeting

Search www.icn.ch

Add our site to your favorites!

Last updated: 21 January, 2007

(17)

งานของพยาบาลและผดุงครรภ์ชาวสวีเดนในการป้องกันการบริโภคยาสูบ

ผดุงครรภ๑ พบกับสตรีที่ก าลังจะเป็นแมํอยํางตํอเนื่อง เขาสามารถจะให๎ก าลังใจในการชํวยให๎สตรี

เหลํานี้เลิกบุหรี่ ผดุงครรภ๑ที่ได๎รับการอบรมในเทคนิคของการสนทนา สามารถจะพูดคุยกับสตรีมี

ครรภ๑ที่สูบบุหรี่ในเรื่องของการเลิกโดยไมํมีการโทษผู๎จะเป็นแมํเหลํานี้ นอกจากนี้ผดุงครรภ๑อาจมี

อิทธิพลตํอวัยรุํนให๎มีชีวิตที่ปราศจากบุหรี่ได๎ในศูนย๑การแพทย๑ส าหรับเยาวชน

พยาบาลประจ าคลินิกสุขภาพเด็ก มีหน๎าที่ให๎พํอแมํดูแลให๎มีสภาวะปลอดบุหรี่ให๎แกํ

สภาพแวดล๎อมของเด็ก พยาบาลเหลํานี้ควรมีความรู๎และทักษะในการสนทนาที่มุํงเป้าให๎พํอแมํมี

ความรู๎และ motivation

พยาบาลสาธารณสุข มีความใกล๎ชิดกับชาวบ๎าน สถานีอนามัยมักอยูํในเขตเมือง พยาบาลกลุํมนี้

สามารถชํวยได๎โดยการแนะน าตัวตํอเด็ก

พยาบาลอาชีวอนามัย มีบทบาทสร๎างความรับรู๎ในเรื่องสุขภาพให๎แกํลูกจ๎างในสถานที่ท างานตํางๆ บทบาทนี้จะเดํนยิ่งขึ้นหากสถานที่ท างานมีกฎห๎ามสูบบุหรี่

ผู๎ชํวยพยาบาลในหอผู๎ป่วยอายุรกรรม ต๎องดูแลผู๎ป่วยโรคหัวใจและโรคปอดมาก จึงมีโอกาสที่จะ แนะน าผู๎ป่วยและญาติให๎เห็นถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่และผลดีจากการเลิกบุหรี่

พยาบาลประจ าโรงเรียน มีบทบาทส าคัญในการชี้ชวนให๎นักเรียนไมํริเริ่มสูบบุหรี่ และชํวยให๎

นักเรียนที่สูบบุหรี่แล๎วเลิกสูบ โรงเรียนก็ควรต๎องมีโปรแกรมชํวยให๎นักเรียนเลิกสูบ เพื่อให๎

พยาบาลได๎มีเครื่องมือชํวยงานนี้

(18)

5. นักวิชาการสาธารณสุข

World Health Professional Alliance (WHPA) หรือพันธมิตรวิชาชีพสุขภาพโลก ได๎กํอตั้งขึ้นเมื่อปี

1999 โดยการรวมตัวกันของแพทย๑ พยาบาล เภสัชกร และตํอมาก็ได๎มีสหพันธ๑กายภาพบ าบัดโลก (the World Conferation for Physical Therapy (WCPI) เข๎ามารวมด๎วย

WHPA สนับสนุนให๎รัฐบาลพัฒนานโยบายตํางๆ ในการห๎ามโฆษณาและสํงเสริมการขาย , ให๎มีค า เตือนสุขภาพที่เดํนและส าคัญบนผลิตภัณฑ๑ยาสูบทุกชนิด , ห๎ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะและ เครื่องบินโดยสาร , ให๎การศึกษาแกํสาธารณะในการต๎านการบริโภคยาสูบ และสํงเสริมให๎

เกษตรกรยาสูบเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นแทน

(19)

นอกจากกิจกรรมดังกลําว พันธมิตรฯ ยังเสนอตํอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนที่ 53 ให๎เฝ้าระวังให๎

มีความเป็นอิสระและความปลอดภัยของนักวิชาการสาธารณสุขในการให๎การบริบาลสุขภาพโดย ถ๎วนหน๎า

(20)

6. ครู

ครูสวีเดนต่อต้านยาสูบ (Swedish Teachers Against Tobacco) องค๑กรนี้ได๎กํอตั้งขึ้นเมื่อ 19 เมษายน 1994 โดย

จัดให๎โรงเรียนสํงเสริมการด ารงชีพที่มีสุขภาพดี โดยพยายามป้องกันการใช๎ยาสูบในเด็กและ เยาวชน เพราะยาสูบเป็นอันตรายในตัวของมันเองและยังน าไปสูํการใช๎ยาอื่นๆ อีกด๎วย

ให๎มีสุขศึกษาในโปรแกรมพื้นฐานของการฝึกอบรมครู

การอบรมภายในเป็นประจ าส าหรับบุคลากรของโรงเรียนในเรื่องตํางๆ เกี่ยวกับยาสูบ

พัฒนาหลักสูตร ซึ่งรวมถึงการสอนในการป้องกันการใช๎ยาสูบ โดยให๎มีการใช๎ในโรงเรียนภาค บังคับ และโรงเรียนมัธยมปลาย

พัฒนาวิธีการสอนในเรื่องยาสูบ

สนับสนุนการพัฒนาวัสดุการสอนที่เกี่ยวข๎อง

สนับสนุนให๎นักเรียนผู๎เลือกสิ่งแวดล๎อมที่ปราศจากยาสูบและยาเสพย๑ติด

สํงเสริมให๎บุคลากรของโรงเรียนไมํสูบบุหรี่เสียเอง เพื่อให๎เป็นแบบอยํางทางบวกตํอลูกศิษย๑ให๎

ด าเนินชีวิตที่ปลอดยาทั้งหลาย

โรงเรียนที่ปลอดบุหรี่ทั้งโรงเรียน

รํวมมือกับองค๑กรอื่นๆ ทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ

(21)

7. ทหาร – ต ารวจ

(22)
(23)

ทหารในสงครามอิรักมีโอกาสสูบบุหรี่เป็น 2 เท่า ของประชาชนอเมริกันทั่วไป

การส ารวจทหารเรือและนาวิกโยธิน อเมริกันที่ไปรบในอิรัก 408 คน พบวํา 52% สูบ บุหรี่และ 36% ใช๎บุหรี่ไร๎ควัน เทียบกับอัตราการ สูบบุหรี่ของคนอเมริกัน 29.6%

การสูบบุหรี่มีความสัมพันธ๑กับการรับ ราชการทหาร ประมาณครึ่งหนึ่งกลําววําไมํเคย

บริโภคผลิตภัณฑ๑ยาสูบกํอนเข๎ามาเป็นทหาร 80% ของผู๎สูบบุหรี่กลําววํา การรับราชการทหารท าให๎

สูบบุหรี่มากขึ้น 72% ของผู๎สูบบุหรี่และใช๎ยาสูบไร๎ควัน สาเหตุที่ส าคัญ คือ ตามอยํางผู๎บังคับบัญชา และผู๎น าที่พวกเขาชื่นชอบ, ความเบื่อ, คลายเครียด, ชํวยให๎ตื่นอยูํ

เมื่อเร็วๆนี้กระทรวงกลาโหมได๎เริ่มรณรงค๑ต๎านการสูบบุหรี่โดยมีเป้าหมายที่กลุํมทหาร เกณฑ๑อายุ 18 – 25 เรียกวํา ‚Quit Tobacco, Make Everryone Proud‛ กรมทหารผํานศึกได๎จัดท า เว็บไซต๑แนะน าการเลิกบุหรี่3

กองทัพเรือจ ากัดยาสูบส าหรับเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์

ส่วนใหญ่ของเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์

ทั้งที่เป็นทหารและพลเรือนสังกัดกองเรือภาคพื้น แปซิฟิคจะถูกห้ามมิให้สูบบุหรี่หรือเคี้ยวบุหรี่ไร้

ควันในระหว่างปฏิบัติหน้าที่และสวมใส่

เครื่องแบบ

น.อ. Kevin Moore ผู้บังคับการหน่วย พยาบาลของกองทัพเรือประจ าญี่ปุ่น, เกาหลีใต้

และหมู่เกาะ Diego Garcia กล่าวว่าเขาเคยถูกถามว่า ‚ท่านจะเรียกตัวเองว่าเป็นองค์กรดูแล สุขภาพได้อย่างไรเมื่อท่านอนุญาตให้ผู้คนฆ่าตัวเองต่อหน้าท่าน?‛ เขาว่า ‚เป็นค าถามที่ดีมากและ คิดว่านโยบายนี้จะช่วยให้เราพูดได้ว่าเราจะไม่สนับสนุนพฤติกรรมที่ท าร้ายตนเอง‛

3 Roan S. U.S. troops in Iraq are heavy smokers. Los Angeles Times 28 October, 2008.

(24)

http://www.af.mil/news/story.asp?id=123330658

กองทัพเรือออกข้อแนะน าว่าหัวหน้าอายุรกรรมและศัลยกรรมจะ ‚ห้ามบุคลากรทาง การทหารใช้ผลิตภัณฑ์ยาสูบในขณะที่อยู่ต่อหน้าผู้ป่วยหรือขณะสวมใส่เครื่องแบบการแพทย์

ทหารเรือ‛4

แก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ของทหารอากาศ

ทหารอากาศอเมริกันร้อยละ 27 สูบบุหรี่ ที่ฐานทัพอากาศ Bolling มลรัฐ Maryland ได้

จัดท าโครงการโดย Bolling Health ad Wellness Center (MAWC) โดยจัดโปรแกรมการให้ความรู้

เรื่องบุหรี่และสุขภาพ ตลอดจนไปถึงแผนการเลิกบุหรี่ ผลก็คืออัตราการสูบบุหรี่ของทหารอากาศที่

ฐานทัพนี้ไม่ลดลงเหลือร้อยละ 115

กองทัพอากาศสหรัฐฯ ขยายสภาพแวดล้อมปลอดบุหรี่

กองทัพอากาศสหรัฐฯ ออกข้อก าหนด 40-102 ซึ่งเริ่ม ใช้บังคับตั้งแต่ มีนาคม 2012 ห้ามสูบบุหรี่บริเวณที่ตั้งของ กองทัพยกเว้นในเขตอนุญาตให้สูบบุหรี่และห้ามจ าหน่ายบุหรี่

ในที่ตั้งของกองทัพ

บริเวณของหน่วยรักษาพยาบาลจะปลอดบุหรี่

ทั้งหมดในเดือนกันยายน 2013

ค าว่าห้ามสูบบุหรี่รวมถึงซิการ์, ซิกาแรต, บุหรี่อีเลคทรอนิค, ไปป๊, หม้อระกู่, และยาสูบไร้

ควันที่ใช้เคี้ยว, ดมและdip

การห้ามบริโภคยาสูบยังครอบคลุมไปถึงทหารอากาศ ที่อยู่ในเครื่องแบบระหว่างเรียนและ ฝึกอบรมในหลังสูตรต่างๆ

อัตราการสูบบุหรี่ในทหารอากาศคือ 23% เทียบกับ 31% ในข้าราชการทั้งหมดของ กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ

ในอัตรานี้ค านวณได้ว่าทหารอากาศที่ประจ าการในวันนี้ 30,000 นายจะตายก่อนถึงเวลา อันสมควร กระทรวงกลาโหมต้องใช้จ่ายค่ารักษาพยาบาลข้าราชการของกระทรวงนี้เป็นเงินปีละ 53 พันล้านเหรียญ6

4 Caster D. Navy tighters tobacco restrictions for medical personnel. Stars and Stripes April 5, 2009.

5 Windish K. Tobacco use: Why do it? Bolling AFB on dcmilitary.com January 28, 2010.

6 Air Force expands tobacco-free environments at base installations and services. The official web site of the U.S.

AIR FORCE 20 December 2012.

(25)

8. ผู้สูงอายุ

การศึกษาชายอายุ 70 ปี ที่เมือง Gotelorg รวม 449 คน เมื่อปี 1971/72 และศึกษาซ้ าใน กลุ่มนี้ 331 คน เมื่อปี 1976/77 เปรียบเทียบกับกลุ่มการเปรียบเทียบ cohort ชายอายุ 70 ปี 474 คน พบว่าน้ าหนักตัวลดลง หลังจากอายุ 70 ปีมีสูงกว่าในกลุ่มผู้สูบบุหรี่ ระดับของสารในเลือดมี

ความแตกต่างกันของกลุ่มผู้สูบและผู้ไม่สูบบุหรี่ แสดงถึงว่า ผู้สูบมีความบกพร่องถึงความ หนาแน่นของกระดูก, หน้าที่ของปอดและก าลังกล้ามเนื้อ7

การศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่และสมองเสื่อมในผู้สูงอายุโดย Prospective Studies การศึกษาติดตามในระยะที่ 2 ของคนอายุ 60 ปี จ านวน 2820 คนจาก ชุมชน 6 แห่งของเมืองจุงกิง พบว่ามีผู้เป็นสมองเสื่อม 121 ราย ซึ่งประกอบด้วยโรคอัลไซเมอร์ 84 รายและ vascular dementia 21 ราย8

7 Mellstrom D, Rundgren A, Jagenburg R, et al. Tobacco smoking, ageing and health among the elderly: A

longitudinal population study of 70 – year old man and an age cohort comparison. Age and Ageing (1982) 11: 45 – 58.

8 Juan D, ZhouDHD, Li J Wang, et al. A 2- year follow – up study of cigarette smoking and risk of dementia. European Journal of Neurology. 11:277 – 282.doi:10.1046/j1468 – 1331 2003. 00779.x

(26)

ร้อยละของผู้ใหญ่ที่สูบบุหรี่ตามเชื้อชาติต่างๆในสหรัฐฯ

SOURCE : CDC Vital Signs September 2011, Adult Smoking in the US

http://www.cdc.gov/tobacco/campaign/tips/

9. กลุ่มเชื้อชาติและชนกลุ่มน้อย

สหรัฐอเมริกาแบ่งกลุ่มเชื้อชาติ (minority groups) ออกเป็น 4 กลุ่ม คือชนกลุ่มน้อย 1. African American

2. American Indians and Alaska Natives 3. Asian Americans and Pacific Islanders 4. Hispanics

ทั้งหมดรวมกันนับเป็น 25% ของประชากรสหรัฐฯ ทั้งหมด

อัตราการสูบบุหรี่ของคนเชื้อ ชาติต่างๆในสหรัฐอเมริกา

ชนเผ่าพื้นเมืองดั้งเดิม (American Indian) และชนเผ่า ดั้งเดิมของมลรัฐอลัสก้า มีอัตรา การสูบบุหรี่สูงสุดที่ 31.4 % อเมริกันเชื้อสายเอเชียมีอัตรา การสูบบุหรี่ต่ าสุด คือ 9.2%

ตัวท านายที่มีพลังมากที่สุดของการสูบบุหรี่ในวัยรุ่น คือ เชื้อชาติและเพศ จากการศึกษาวัยรุ่น 1,175 คนใน 5 เชื้อชาติของสหรัฐฯ พบว่า มีความแตกต่างอย่างชัดเจนในเหตุผลของการไม่สูบ บุหรี่ เชื้อชาติ Africa American หญิง เห็นว่า การไม่สูบบุหรี่เป็น Identity marker ซึ่งเป็นบวก หญิง African American เห็นว่า การไม่สูบบุหรี่เป็น Identity marker ที่เป็นบวก ความรับรู้ของ message ของครอบครัวในเรื่องการสูบบุหรี่ก็มีต่างกันทั้งในเรื่องเชื้อชาติและเพศ กลุ่มที่แจ้งว่ามี

message ต่อต้านการสูบบุหรี่จากครอบครัวคือกลุ่ม African American, Hispanics และ Asian Americans/Pacific Islanders9

9 Mermelstein R. Explanations of ethnic and gender differences in youth smoking: A multi – site, qualitative investigation. Nicotine & Tobacco Research Volume 1, Issue Suppl 1>Pp S91.s98

(27)

พระสงฆ๑ปลอดบุหรี่ที่กรุงพนมเปญถํายภาพหน๎าพระเจดีย๑ซึ่งได๎ประกาศเป็น เขตปลอดบุหรี่ เมื่อต๎นปี 2000

10. กลุ่มศาสนา

ศาสนาพุทธ

กัมพูชา CAMBODIA

การควบคุมยาสูบของเขมร ท าน้อยมาก อัตราการสูบบุหรี่ของพระ สูงกว่า 60% องค์การ The Adventist Devlopment and Relief Agency (ADRA) Cambodia ได้เริ่มโปรแกรม การไม่สูบบุหรี่เมื่อประมาณปี 1997 และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี

จ า ก ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข , ศึกษาธิการ, วัฒนธรรมและศาสนา10

พม่า MEANMAR

ตั้งแต่วันที่ 28 กรกฎาคม 2007 พม่าห้าม สูบบุหรี่และเคี้ยวหมากพลูที่ลานรอบๆ พระ เจดีย์ชเวดากอน11

10 Simpson D. Cambodia: smoke-free pagoda. NEWS ANALYSIS Tob Control 2000; 9:268.

11 Anon. Smoking ban around Swedagon. Nam News Network August 31, 2010.

http://www.namnewsnetwork.org/v2/readphoto.php?id=2790, accessed 31 August 2010.

(28)

ไทย THAILAND

การส ารวจการสูบบุหรี่ในพระสงฆ์

 91% ของพระสงฆ์ทั้งประเทศสนับสนุนการห้ามสูบบุหรี่

 80% เห็นด้วยกับการห้ามขายบุหรี่แก่พระสงฆ์12

โรงพยาบาลสงฆ์ได้ส ารวจสุขภาพของพระสงฆ์ทั่วประเทศไทยท าการศึกษาระหว่างปี 2549 ถึง 2552 ในพระสงฆ์รวม 90, 250 รูป พบว่าอัตราการสูบบุหรี่สูงมากคือ 41.3 ขณะที่อัตราการสูบ บุหรี่ของประชาชนอยู่ที่ 20.2 เปอร์เซนต์ ทั้งนี้มีอัตราสูงกว่าในทุกภูมิภาคยกเว้นภาคเหนือ13 การเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ในพระสงฆ์

ข้อมูลในโรงพยาบาลสงฆ์ปี 2546-47 พบว่า พระที่อาพาธมีประวัติการสูบบุหรี่ 18,000 รูป เท่ากับ 30% ของพระสงฆ์อาพาธทั้งหมดและได้มรณภาพจากโรคต่างๆ 3 อันดับแรก ได้แก่ โรคมะเร็งปอด, โรคถุงลมปอดพองและวัณโรค ซึ่งล้วนเป็นผลจากการสูบบุหรี่14,15,16,17,18

มาตรการแก้ปัญหาพระสงฆ์สูบบุหรี่

1. ให้ข้อมูลและความรู้แก่พระสงฆ์

มูลนิธิไม่สูบบุหรี่ได้จัดท าคู่มือถึงภัยของการสูบบุหรี่และภัยของควันบุหรี่ถวายให้แก่วัด เพื่อให้

พระสงฆ์น าข้อมูลไปเทศน์สั่งสอนคนที่มาท าบุญและหวังด้วยว่าจะช่วยให้พระสงฆ์ที่สูบบุหรี่เมื่อได้

อ่านข้อมูลดังกล่าวแล้วจะเลิกสูบบุหรี่19,20

2. จัดตั้งเครือข่ายวัดปลอดบุหรี่ 5 จังหวัดลุ่มแม่น้ าโขง

ภาคีเครือข่ายลุ่มน้ าโขง 5 จังหวัด ร่วมกันประกาศเจตนารมณ์น าร่อง วัดต้นแบบปลอดบุหรี่

โดยการน าของ พระมหาวรวุฒิ ปัญญาวุฑโฒ เลขาธิการส านักงานเครือข่ายพระสงฆ์ลุ่มน้ า โขงเพื่อส่งเสริมศิลธรรม อ าเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม ซึ่งร่วมกับคณะสงฆ์อีก 5 จังหวัด

12 Sarnsamak P. Death of monk ban on smoking in temples. The Nation April 10, 2009

13 ‘รพ.สงฆ์’ ส ารวจ – ทั่วประเทศ พบพระสุขภาพย่ าแย่โรครุมเร้า ข่าวสด 1 กันยายน 2553

14 ส่องโรคไขสุขภาพวัดปลอดบุหรี่ มติชน 10 เมษายน 2552

15 สงฆ์อมควันป่วยเข้า รพ. กว่า 1.8 หมื่นรูป ไทยรัฐ 11 เมษายน 2552

16 Anon. Thailand – Monks xxx from tobacco smoking and/or smoke exporure. Snus News & other Tobacco Products April 13, 2009.

17 เร่งรณรงค์พระเลิกสูบบุหรี่ หวังลดอาพาธ 1.8 หมื่นรูป. แนวหน้า 6 กรกฎาคม 2552

18 สธ. เข้าตั้งกฎวัด เขตปลอดบุหรี่ โพสต์ทูเดย์ 6 กรกฎาคม 2552

19 แฉพระสงฆ์แสนรูปยังติดบุหรี่ เดลินิวส์ 28 พฤศจิกายน 2551.

20 พศ. รณรงค์ ‘พระ’ เลิกบุหรี่ ชี้ 1.2 แสนรูปทั่ว ปท. ยังสูบ มติชน 28 พฤศจิกายน 2551

(29)

คือ นครพนม มุกดาหาร สกลนคร หนองคายและ อุดรธานี ท าโครงการจังหวัดน าร่องรณรงค์

ให้วัดเป็นเขตปลอดบุหรี่ถาวร ในปี 2552 ภาคีฯจะมีจังหวัดอุบลราชธานีเข้ามาร่วมโครงการวัด ต้นแบบปลอดบุหรี่เพิ่มอีกจังหวัดหนึ่ง เพื่อลดปัญหาสุขภาพของพระสงฆ์ และคนในชุมชนภาคอิ

สานที่มีผู้สูบบุหรี่ถึง 3.5 ล้านคน21,22

3. ออกกฏหมายควบคุมการสูบบุหรี่ภายในวัด

พระครูสังฆพินัย ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจกรรมนิสิตมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย (มจร.) แจ้งว่า มจร. ได้ก าหนดกฏระเบียบไว้ชัดเจนว่าห้ามพระนิสิตสูบบุหรี่และจะไม่รับพระนิสิตที่

สูบบุหรี่เข้าศึกษา รวมทั้ง มจร. ก าหนดให้ทุกพื้นที่ในมหาวิทยาลัยเป็นเขตปลอดบุหรี่23

21 เครือข่ายพระสงฆ์ลุ่มน้ าโขง วัดต้นแบบปลอดบุหรี่ บางกอกทูเดย์ 14 เมษายน 2552.

22 เครือข่ายพระสงฆ์ลุ่มน้ าโขง เผยผลรณรงค์วัดปลอดบุหรี่ใน 5 จังหวัด ข่าวสด 26 เมษายน 2552

23 ‘มจร.’ ออกกฎห้ามพระนิสิตสูบ หนุน ‘มส.’ รณรงค์สงฆ์เลิกบุหรี่. มติชน 22 ธันวาคม 2551

(30)
(31)
(32)

ศาสนาอิสลาม ISLAM

ศาสนาอิสลามสามารถน ามาใช้ในการควบคุมยาสูบได้ในหมู่มุสลิม 1.2 พันล้านคน ซึ่ง นับเป็น 20% ของประชากรทั่วโลก และก าลังเพิ่มขึ้นปีละ 2.9% :ซึ่งมากกว่าอัตราการเพิ่มของ ประชากรโลกคือ 2.0 %

เมื่อต้นปี 2009 สภา Ulema ของอินโดนีเซียได้ออกกฎห้ามเด็กและสตรีมีครรภ์สูบบุหรี่

และห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ สภาฯ ประกาศว่าการสูบบุหรี่ชาวมุสลิมอยู่ระหว่าง haram(ต้องห้าม) และ makruh(เป็นที่น่ารังเกียจ)24

ศาสนาคริสเตียน

คริสจักรรัสเซียนออร์โธดอกซ์ (Russian Orthodox) ที่มอสโคว์ โบสถ์รัสเซียนนิกายออร์โธดอกซ์ ได้

ปฏิเสธที่สื่อลงพิมพ์ข่าวว่า ท่าน Kirill พระสังคราช แห่ง นครมอสโคว์ และรัสเซียทั้งหมด ได้ท าการค้าบุหรี่และ น้ ามันในช่วงทศวรรษ 1990s และมีก าไรนับพันล้าน

Synodol information department แจ้งในค า แถลงว่าข่าวที่ตีพิมพ์เป็นเท็จและตั้งใจสร้างความเสีย ชื่อเสียงให้กับสมเด็จพระสังฆราชและโบสถ์ออร์โธดอกซ์

การกล่าวหาท่าน Kirill ผู้ซึ่งเป็นประธานของกรม External Church Relations ของเขตปกครองของพระราชา คณะ แห่งนครมอสโคว์ในช่วงทศวรรษ 1990s เป็นการ กล่าวหาเท็จ25

24 Anon. ‘Islam can be used to curb tobacco use’ NEWKERALA.COM March 12, 2009.

25 Anon. Russian Orthodox Church denies pratriarch’s involvement in business projects. Kyiv Post 20 February 2012.

http://www.kyivpost.com/news/russia/detail/122778, accessed 20 February 2012.

(33)

11. นักกีฬา

ATHLETIC กรีฑา

อัลบั้มที่ออกใหม่เมื่อเมษายน 2006 ชื่อ ‚หัวใจของฉันโบยบิน : หนังสือภาพลิวเซียง‛ ออกวางจ าหน่าย ราคา 49 หยวน หนังสือ นี้เป็นหนังสือภาพที่ยกย่องลิวเซียง นักกระโดดสูงเหรียญทองโอ ลิมปิคของจีน จัดพิมพ์โดยบริษัท Baisha ซึ่งลิวเซียงเป็นโฆษก ในหนังสือ 154 หน้า เล่มนี้มีเพียง 44 หน้าที่บรรยายถึง ความส าเร็จทางกีฬาของลิวซียง แต่มีถึง 36 หน้า และรูปภาพ 21 หน้า ซึ่งแสดงนก crane ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของบริษัท Baisha ซึ่งเป็นบริษัทบุหรี่โดยเฉพาะ26

26 Martinsen J. Photos of Liu Xiang and flying cranes. DANWEI, 7 May 2006

Owens, Jesse นักวิ่งเหรียญทอง โอลิมปิค

เสียชีวิตด๎วยโรคมะเร็งปอดเมื่ออายุ 66 ปี

(34)

BASEBALL เบสบอลล๑

เคยมีความคิดว่าควรจะห้ามนักเบสบอล ใช้ยาสูบไร้ควันขณะอยู่ในสนามแข่ง เพราะนอกจากจะเป็นตัวอย่างที่ไม่ดีต่อ เยาวชนผู้นิยมชมชื่นในตัวนักเบสบอล แต่

กฎระเบียบต่าง ๆ ก็ยังไม่ได้น าออกมาใช้

จนกระทั่งมีตัวอย่างพิษภัยของยาสูบไร้

ควันต่อนักเบสบอล ผู้เป็นต านานของกีฬา ยอดนิยมนี้

Tony Gwynn เป็นนักเบสบอลผู้ซึ่งได้รับเลือกเป็นสมาชิกของหอเกียรติยศเบสบอล ถึงแก่กรรม ด้วยมะเร็งของต่อมน้ าลาย ซึ่งเกิดจากการเคี้ยวยาสูบไร้ควัน คนต่อมาคือ Curt Schilling ซึ่งเป็นผู้

ขว้างเบสบอล ระดับต านานของทีม ฟิลาเดลเฟีย Phillies และทีมบอสตัน Red Sox ก็เป็นมะเร็ง ช่องปาก

ซานฟรานซิสโก เป๋นเมืองแรกที่ห้ามบริโภคยาสูบไร้ควันในสนามตั้งแต่เดือนมกราคม 2016 เมือง บอสตันก็จะออกกฎห้ามยาเคี้ยวตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 201627

27 Lagar K. Ban on chewing tobacco sought for Fenway, city parks. The Boston Glole. August 05, 2015.

Di Maggio, Joe นักเบสบอลชื่อดัง

เสียชีวิตด๎วยโรคมะเร็งปอดเมื่ออายุ 84 ปี

Referensi

Dokumen terkait

1.2.1 THE TECHNOLOGY OF MOBILE LEARNING AND ITS INTERACTIONS WITH OTHER MEDIA OF LEARNING 1.2.2 LEARNING THEORY RELEVANT TO MOBILE LEARNING 1.2.3 THE POSITION OF MOBILE LEARNING,