• Tidak ada hasil yang ditemukan

การพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานของศูนย์ดาร D

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "การพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานของศูนย์ดาร D"

Copied!
10
0
0

Teks penuh

(1)

การพัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

DEVELOPING THE OPERATIONAL EFFICIENCY OF DAMRONGTHAM CENTER IN PHUNPHIN DISTRICT, SURAT THANI PROVINCE

ผกาวรรณ ราชรักษ์1, อัศว์ศิริ ลาปีอี2,สุพัฒพงศ์ แย้มอิ่ม 3 Phakawan Ratcharak1, Aussiri Lapi-e2, Supatpong Yamim 3 1 สาขาวิชาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี

โทร 082-6451402 อีเมล์ Beem2539phakawan@gmail.com

2 สาขาวิชาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี

โทร 086-2981703 อีเมล์ sirin.a@hotmail.com

3 สาขาวิชาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี

โทร 081-4999833 อีเมล์ dr.supatpong1982@gmail.com

บทคัดย่อ

การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ส ารวจบริบทการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม ภายหลังประกาศของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติฉบับที่ 96/2557 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารง ธรรม และ 3) วิเคราะห์แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กลุ่มเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่ด าเนินงานในศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จ านวน 50 คน กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณ จ านวน 44 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างตามเป้าประสงค์ กลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพ จ านวน 10 คน คัดเลือกโดยวิธีแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น .89 และแบบสัมภาษณ์เชิง ลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์

เนื้อหาส าหรับข้อมูล เชิงคุณภาพ

ผลการวิจัยพบว่า 1) บริบทการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม ก าหนดเป้าหมายด าเนินงานการแก้ไขปัญหา เร่งด่วนเป็นการเฉพาะ เนื่องจากอาศัยอ านาจตามประกาศของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ 96/2557 ในการอ านวย ความยุติธรรมแก่ประชาชนพื้นที่อ าเภอพุนพินในด้านต่าง ๆ เช่น ปัญหาหนี้สิน ปัญหาที่ดิน รวมทั้งปัญหาจากผู้มีอิทธิพล ทั้งนี้

ด้วยกลไกการท างานเชิงรุกมากกว่าเชิงรับส่งผลให้ข้อร้องเรียนสามารถตอบสนองตามความต้องการของผู้ได้รับความเดือดร้อน อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความรวดเร็ว 2) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านบุคลากร อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านค่านิยมร่วม ด้านกลยุทธ์ ด้านโครงสร้าง ด้านระบบ ด้านรูปแบบการบริหาร และด้านความสามารถของบุคลากร ตามล าดับ 3) แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม ควรเพิ่มช่องทางให้บริการรับข้อร้องเรียน ผ่านระบบออนไลน์หรือการโทรศัพท์มากขึ้นเพื่อความสะดวกในการติดต่อขอรับบริการ และควรน าข้อคิดเห็นของประชาชนมา ปรับปรุงกระบวนการด าเนินงานอย่างสม่ าเสมอ รวมถึงควรรูปแบบการบริหารจัดการโครงสร้าง รวมทั้งพัฒนาขีดความสามารถ ของบุคลากรในการประสานงาน พร้อมสร้างเครือข่าย ความร่วมมือไปยังหน่วยงานเกี่ยวข้อง ส าหรับก าหนดเป็นแนวทางการ พัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินงานต่อไป

ค าส าคัญ : การพัฒนา, ประสิทธิภาพ, ศูนย์ด ารงธรรม

(2)

Abstract

The research objectives were 1) to survey the operational context of Damrongtham Center after the announcement of National Council for Peace and Order No. 96/2014, 2) to study the factors affecting the development of operational efficiency of Damrongtham Center in Phunphin District, and 3) to analyze the guidelines for the development of operational efficiency of Damrongtham Center in Phunphin District, Surat Thani Province. It was the mixed method research. The population was a group of 50 government officers operating in Damrongtham Center, Phunphin District. 44 out of the population were selected for the quantitative research by the random sampling method and 10 out of the population were selected for the qualitative research by the purposive sampling method. The data were collected by using the questionnaires with the reliability of .89. The in-depth interview form was analyzed by using the descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation. In addition, the content analysis was used to analyze the qualitative data.

The results of the study revealed that 1) The operational context of Damrongtham Center set targets for specific urgent problem-solving tasks in accordance with the power of the National Council for Peace and Order Announcement No. 96/2557 to provide justice to people of Phunphin District in various aspects such as debt problems, land problems, as well as problems from influential people. However, with a more proactive rather than reactive mechanism, complaints could be responded to the needs of those who had suffered with efficiency and speed. 2) Factors affecting the efficiency of operation of Damrongtham Center, Phunphin District, Surat Thani Province in all aspects were at a high level. Considering each aspect, it was found that “personnel” had the highest mean, followed by shared value, strategy, structure, system, type of administration, and competence of personnels respectively. 3) In terms of the guidelines for the development of operational efficiency of Damrongtham Center, there should be more channels for receiving complaints via online or telephone systems for the convenience of contacting the service. Moreover, their opinions should be taken into consideration for improving the operating process regularly, including to develop the management structure as well as the ability of personnel to coordinate, be ready to build a network and cooperation with relevant agencies in order to set the guideline for further development of operational efficiency.

Keywords: Development, Efficiency, Damrongtham Center

(3)

ความส าคัญของปัญหา

ศูนย์ด ารงธรรมเป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อท าหน้าที่ในการ “รับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ ให้บริการข้อมูลข่าวสาร ให้ค าปรึกษา รับเรื่องปัญหาความต้องการและข้อเสนอแนะของประชาชน และท าหน้าที่เป็นศูนย์บริการร่วมตามมาตรา 32 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546” (ประกาศคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ ฉบับที่ 96/2557 เรื่อง การจัดตั้งศูนย์ด ารงธรรม, 2557: 8) โดยให้แต่ละจังหวัดจัดตั้งศูนย์ด ารงธรรมขึ้น ณ ศาลา กลางของทุกจังหวัดและเปิดให้บริการแก่ประชาชน นับตั้งแต่วันที่ 18 กรกฎาคม 2557 เป็นต้นมา

ในส่วนของอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้จัดตั้งศูนย์ด ารงธรรมจังหวัดขึ้นตามกฎหมายดังกล่าวและได้ท า หน้าที่ในการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์และแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนเรื่อยมาถึงปัจจุบัน จากข้อมูลสถิติสรุปผลการ ด าเนินการร้องเรียน ร้องทุกข์ของศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปีงบประมาณ 2557-2564 (ประจ าเดือน เมษายน) ตามค าสั่ง คสช.ที่ 96/2557 ตั้งแต่วันที่ 18 กรกฎาคม 2562-30 เมษายน 2564 พบว่า ศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี รับเรื่องร้องเรียนจากประชาชนตามช่องทางต่าง ๆ เข้ามาด าเนินการจ านวน 97 เรื่อง สามารถแก้ไข ปัญหาจนได้ข้อยุติ จ านวน 96 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 98 ของเรื่องร้องเรียนทั้งหมด และอยู่ระหว่างด าเนินการแก้ไข 1 เรื่อง คิด เป็นร้อยละ 2 ของเรื่องร้องเรียนทั้งหมด (ศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี, 2564) จากที่กล่าวถึงในข้างต้น ในการด าเนินการต่อเรื่องร้องเรียนต่าง ๆ ของประชาชนที่ยื่นต่อศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ขั้นตอน แรกที่ส าคัญจะต้องด าเนินการคือการวิเคราะห์ จ าแนก แยกแยะเรื่องร้องเรียน แต่จากการสังเกตการด าเนินงานที่ผ่านมาของ ศูนย์ด ารงธรรมจังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่า บุคลากรหรือเจ้าหน้าที่อาศัยเพียงประสบการณ์การท างานของตนในการวิเคราะห์

แยกแยะเรื่องร้องเรียน ยังขาดหลักการหรือเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานในการชี้ชัดว่า เรื่องร้องเรียนแบบใดที่ควรจะจัดล าดับให้

ความส าคัญก่อนหลัง จึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีหลักการหรือเกณฑ์การวิเคราะห์จ าแนกแยกแยะ เรื่องร้องเรียน เพื่อให้การ ด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานีสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่รัฐบาลได้ก าหนด ไว้ในยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ที่ได้ก าหนดเป้าไว้ว่าให้หน่วยงาน “ภาครัฐ มีวัฒนธรรมการท างานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวมตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส” (ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2561 : 14)

จากปรากฏการณ์และประเด็นปัญหาที่ได้กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการพัฒนาประสิทธิภาพ การด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อส ารวจบริบทการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายหลังประกาศของ คสช. ฉบับที่ 96/2557 เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยกระดับ ประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มการยกระดับ ประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี และเพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทียมกันในสังคม และจะต้องท าการศึกษาและอธิบายอย่างเป็นระบบว่า ศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้มีการวิเคราะห์ จ าแนกแยกแยะ เรื่องร้องเรียนที่ศูนย์ด ารงธรรมรับเข้ามา ด าเนินการรวมถึงขั้นตอนกระบวนการวินิจฉัยเรื่องร้องเรียน และการยกระดับประสิทธิภาพของบุคลากร เป็นไปตามมาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ ซึ่งผลการศึกษาจะช่วยพัฒนาปรับปรุงการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ให้การด าเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และสอดคล้องการกับแนวทางการด าเนินงานภาครัฐตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

นอกจากนั้น ยังเป็นการประเมินผลการด าเนินการต่อเรื่องร้องเรียนของศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ เผยแพร่ผลการด าเนินการของศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้สาธารณะชนได้รับทราบข้อมูลอีกด้วย การด าเนินการอย่างมีขั้นตอน โปร่งใส ตอบสนองและเป็นธรรมสอดคล้องกับการก าหนดเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใส่ในการด าเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และท าให้การด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัด

(4)

สุราษฎร์ธานี เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการ และแก้ไขปัญหาการร้องเรียนของประชาชนให้

ได้มากที่สุด

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1) เพื่อส ารวจบริบทการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายหลังประกาศของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติฉบับที่ 96/2557

2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัด สุราษฎร์ธานี

3) เพื่อวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ขอบเขตของการวิจัย

ขอบเขตด้านเนื้อหา

งานวิจัยเรื่องนี้ต้องการศึกษา การพัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัด สุราษฎร์ธานี โดยใช้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 1) กลยุทธ์ 2) โครงสร้าง 3) ระบบ 4) แบบของการ บริหาร 5) บุคลากร 6) ความสามารถ 7) ค่านิยมร่วม (สมยศ นาวีการ, 2549) และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 1) ด้านคุณภาพของงาน 2) ด้านปริมาณงาน 3) ด้านเวลา 4) ด้านค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน (Peterson & Plowman,1989) โดยใช้แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงาน แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงาน แนวคิดเกี่ยวข้องกับบริบทการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม และแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจในการ ท างาน

ขอบเขตด้านประชากร และกลุ่มตัวอย่าง

ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยก าหนดขอบเขตประชากรรวมทั้งสิ้น 60 คน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่

1) กลุ่มเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่ด าเนินงานในศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพินจ านวน 50 คน

2) กลุ่มประชาชนผู้รับบริการจากศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งแต่เริ่มจัดตั้งตาม ค าสั่ง คสช . 96/2557 (แต่ในส่วนของอ าเภอพุนพิน เริ่มมีการด าเนินการในปี 2562 จนถึงปัจจุบันรวมผู้ที่ถูกคัดเลือก 10 คน)

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ใช้สูตรในการค านวณกรณีทราบค่ากลุ่มจ านวนประชากร (Finite Population) โดยใช้การสุ่มแบบใช้สูตรของ Yamane โดยการก าหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ณ ระดับความเชื่อมั่น 95%

และค่าความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่าง 5% ของ Khazanie Ramakant รวมเป็นขนาดตัวอย่างทั้งหมด 44 ตัวอย่าง ขอบเขตด้านพื้นที่

อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เนื่องจากผู้วิจัยได้ท างานอยู่ภายในสังกัดศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัด สุราษฎร์ธานี จึงคัดเลือกพื้นที่ดังกล่าวเป็นขอบเขตในการศึกษา

ขอบเขตด้านเวลา

การวิจัยในครั้งนี้ใช้เวลาเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2564 -เมษายน พ.ศ.2565 เนื่องจากในช่วงเวลาดังกล่าว มีผู้ร้องเรียน เข้ามาเป็นจ านวนมากกว่าช่วงเวลาอื่นๆ ผู้วิจัยจึงใช้ช่วงเวลาดังกล่าวในการลงพื้นที่เก็บข้อมูล

วิธีด าเนินการวิจัย

การวิจัยนี้ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ น าการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยรูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ผ่านการวิจัยเชิงส ารวจ (Survey Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยกระบวนการวิธีวิจัยแบบ

(5)

ศึกษาเฉพาะกรณี (Case Study research) รวมทั้งการสัมภาษณ์เชิงลึก (In – depth interview) เข้ามาใช้สนับสนุนวิธีวิทยา ในการวิจัยครั้งนี้ ทั้งนี้ผู้วิจัยอาศัยกรอบแนวคิดโดยใช้แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงาน แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจในการท างาน แนวคิดทฤษฎี

เกี่ยวกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร และแนวคิดเกี่ยวข้องกับบริบทการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม เป็นกรอบ ในการศึกษา ผู้วิจัยได้ด าเนินการเก็บข้อมูลด้วยต้นเอง

เครื่องมือการวิจัย

แบบของเครื่องมือ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

1. แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งผู้วิจัยได้ท าการศึกษาจากแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แล้วท าการสร้างข้อค าถามให้เหมาะสมและสอดคล้องกัน โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ส่วนที่ 2 ค าถามเกี่ยวกับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารง ธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ส่วนที่ 3 ค าถามเกี่ยวกับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอ พุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

2. แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างหรือแบบชี้น า (Guided Interview)

ใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษา ผู้วิจัยก าหนดหัวข้อรายการต่าง ๆ ที่ต้องการจะศึกษาและรวบรวมแบบสัมภาษณ์

(Interview form) เป็นเครื่องมือที่ใช้ประกอบการสัมภาษณ์ จะเป็นแบบบันทึกค าให้สัมภาษณ์ซึ่งผู้ สัมภาษณ์สร้างขึ้นมาเพื่อ อ านวยความสะดวกในการรวบรวมข้อมูล โดยใช้ ลักษณะของแบบสัมภาษณ์เป็นแบบสัมภาษณ์ที่ไม่มีแบบฟอร์มหรือไม่ต้อง เตรียมข้อค าถามเอาไว้ โดยในแบบการสัมภาษณ์เป็นลักษณะแบบค าถามปลายเปิดที่มีค าส าคัญที่ต้องการและสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ โดยการสัมภาษณ์จะเป็นการสัมภาษณ์แบบรายบุคคล และจัดสนทนากลุ่ม เพื่อให้ผู้ที่ถูกสัมภาษณ์สามารถตอบ ค าถามและแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ ซึ่งอยู่ภายใต้หัวข้อที่ผู้สัมภาษณ์เป็นผู้ก าหนด วิธีการสัมภาษณ์รูปแบบนี้ท าให้เกิด ความยืดหยุ่นในหัวข้อค าถาม ท าให้ผู้ถูกสัมภาษณ์รู้สึกไม่เป็นทางการมากนักจึงสามารถสอบถามข้อมูลในเชิงลึกได้ และ สะดวกต่อการรวบรวมข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูล

ในการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยน าหนังสือขออนุญาตเก็บรวบรวมข้อมูลจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุราษฎร์ธานี เพื่อขออนุญาตในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ด้วยตนเอง โดย การวิจัยเชิงปริมาณ เก็บแบบสอบถามจากประชากร คือ กลุ่มเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่ด าเนินงานในศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จ านวน 50 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง จ านวน 10 คน

การวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ

ในการศึกษาครั้งนี้ได้น าข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาวิเคราะห์ข้อมูลตามระเบียบวิธีการทางสถิติ และใช้โปรแกรม ส าเร็จรูป ผู้ท าวิจัยได้รวบรวมข้อมูลและตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามที่ได้มาทั้งหมดแล้ว ผู้วิจัยน าแบบสอบถาม มาวิเคราะห์แล้วน าไปประมวลผลทางสถิติโดยประมวลข้อมูลด้วยโปรแกรมส าเร็จรูป การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ จะ ใช้สถิติขั้นพื้นฐาน (Descriptive Statistics Analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยพิจารณาเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ประกอบด้วย

(6)

1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)

สถิติดังกล่าวเป็นสถิติที่ใช้ในการสรุปบรรยาย ซึ่งค่าสถิติที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ค่าแจกแจกความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพื่ออธิบายสภาพส่วนบุคคล ดังนี้

1.1 การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพส่วนบุคคลซึ่งประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพ อาชีพ และ รายได้ โดยการใช้การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics Analysis) อันได้แก่การหาความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) (กัลยา วานิชย์บัญชา และฐิตา วานิชย์บัญชา, 2558)

1.2 แบบสอบถามในส่วนที่เป็น ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการด าเนินงานของ ศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบด้วยความถี่

(Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Division) และเปรียบเทียบ กับเกณฑ์มาตรฐานที่ก าหนดไว้ (กัลยา วานิชย์บัญชา และฐิตา วานิชย์บัญชา, 2558)

1.3 แบบสอบถามในส่วนที่เป็น ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบด้วยความถี่ (Frequency) ร้อย ละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Division) และเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่

ก าหนดไว้ (กัลยา วานิชย์บัญชา และฐิตา วานิชย์บัญชา, 2558)

การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ

การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยมีขั้นตอนในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

1. อธิบายปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษา โดยน าข้อมูลที่ได้จากการบันทึกเทป มาถอดเทปค าให้สัมภาษณ์ค าต่อค า และพิมพ์ หลังจากนั้นผู้วิจัยอ่านท าความเข้าใจข้อมูลทั้งหมดในภาพรวม

2. รวบรวมข้อมูลรายละเอียดจากผู้ให้ข้อมูล โดยการจับกลุ่มค า ข้อความ หรือประโยคส าคัญที่เป็นข้อมูลเดียวกัน และเกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษาให้มากที่สุด รวมทั้งจะต้องรวบรวมข้อมูลที่นอกเหนือจากค าพูด

3. อ่านข้อมูลทั้งหมดของผู้ให้ข้อมูล ผู้วิจัยอ่านข้อมูลทั้งหมดของผู้ให้ข้อมูลเพื่อท าความเข้าใจภาพรวมของข้อมูลที่

ได้และให้เลขล าดับบรรทัดข้อมูลด้วยเพื่อความสะดวกในการน าข้อมูลไปใช้อ้างอิงข้อสรุปในภายหลัง

4. ทบทวนข้อมูล และแยกประโยคส าคัญออกมา ผู้วิจัยอ่านข้อมูลอีกครั้ง และดึงข้อมูล ทุกค า กลุ่มค า ประโยคหรือ แนวคิดส าคัญที่เกี่ยวข้องกับประสบการณ์ของผู้ให้ข้อมูล

5. ท าความเข้าใจความหมายของแต่ละประโยค โดยอ่านแต่ละกลุ่มค าที่ค้นพบทุกค าที่มีความส าคัญค าต่อค า บรรทัดต่อบรรทัด แล้วให้ความหมายหรือให้รหัส (Coding)

6. จัดกลุ่มข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ ผู้วิจัยน าความหมายที่บันทึกไว้มาจัดให้เป็นหมวดหมู่ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์

การวิจัยโดยสรุปเป็นความคิดรวบยอดทั้งประเด็นหลัก และประเด็นย่อย ที่อยู่ภายใต้ความหมายเดียวกันกับประเด็นหลัก 7. เขียนค าบรรยายโดยละเอียด ผู้วิจัยเขียนค าอธิบายของแต่ละข้อสรุปอย่างละเอียดตามวัตถุประสงค์การวิจัย และ อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลประสบการณ์จริงของผู้ให้ข้อมูล

8. น าข้อมูลไปให้ผู้ให้ข้อมูลตรวจสอบ ผู้วิจัยน าข้อมูลที่จัดเป็นหมวดหมู่ และเขียนบรรยายเรียบเรียงแล้วไปให้ผู้ให้

ข้อมูลตรวจสอบ และสัมภาษณ์เพิ่มเติมในประเด็นที่ยังไม่ชัดเจน ซึ่งอาจจะได้ประเด็นใหม่ที่ยังไม่ได้รับในการสัมภาษณ์ครั้ง แรก ในกรณีที่ผู้ให้ข้อมูลไม่มีอะไรจะบอกเล่าอีก ผู้วิจัยจึงท าการยุติการสัมภาษณ

สรุปผลการวิจัย

1.ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคล

(7)

จากการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 52.3 มีอายุระหว่าง 36-45 ปี คิด เป็นร้อยละ 34.1 มีการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 47.7 มีต าแหน่งเป็นเจ้าหน้าที่ปกครอง คิดเป็นร้อยละ 43.2 และ มีรายได้ระหว่าง 20,001-25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 38.6

2.ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัด สุราษฎร์ธานี

ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัด สุราษฎร์ธานี ทั้ง 7 ด้าน ได้แก่ 1) กลยุทธ์ 2) โครงสร้าง 3) ระบบ 4) แบบของการบริหาร 5) บุคลากร 6) ความสามารถ และ 7) ค่านิยมร่วม สามารถน าเสนอสรุปผลวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ ด้านบุคลากร มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 4.27 รองลงมาคือ ด้าน ค่านิยมร่วม อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.21 ด้านกลยุทธ์ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ4.20 ด้านโครงสร้าง และด้านระบบ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 ด้านแบบของการบริหาร อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.09 และ ด้านความสามารถ (บุคลากร) อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.71 ตามล าดับ

3.ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผลการวิเคราะห์ แบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณภาพของงาน 2) ด้านปริมาณงาน 3) ด้านเวลา 4) ด้านค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน สามารถสรุปผลได้ดังนี้

ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ในภาพรวมทุกด้าน ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.23 (S.D.=.253) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านเวลา มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 4.29 (S.D.=.584) รองลงมาคือ ด้านคุณภาพของงาน มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 4.28 (S.D.=.391) ด้านค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 4.28 (S.D.=.384) และด้านปริมาณงาน อยู่ใน ระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.07 (S.D.=.277) ตามล าดับ

อภิปรายผล

การพัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผู้วิจัยอภิปรายผลได้

ดังนี้

จะเห็นได้ว่าความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ในภาพรวมทุกด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.23 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านเวลา มีค่าเฉลี่ย มากที่สุดเท่ากับ 4.28 รองลงมาคือ ด้านคุณภาพของงาน และด้านปริมาณงาน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.07 ตามล าดับ สอดคล้องกับ อมรศักดิ์ กิจธนานันท์ (2560) ได้ศึกษาวิจัย เรื่อง การประเมินศูนย์ด ารงธรรมมิติใหม่

ตามทัศนะเจ้าหน้าที่ศูนย์ด ารงธรรมจังหวัด ศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอ และประชาชนผู้มารับบริการรายงานการวิจัย เรื่อง “การ ประเมินศูนย์ด ารงธรรมมิติใหม่ ตามทัศนะของเจ้าหน้าที่ศูนย์ด ารงธรรมจังหวัด ศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอ และประชาชน ผู้รับบริการ (สถาบันด ารงราชานุภาพ,2558) เป็นการศึกษาเพื่อประเมินผลการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรมโดยภาพรวม ผ่านการศึกษาด้วยวิธีวิจัยเชิงปริมาณ โดยการเสนอข้อมูลผ่านแบบสอบถาม จ านวน 2 ชุด คือ ชุดแบบส ารวจความคิดเห็นของ เจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานศูนย์ด ารงธรรมจังหวัด/อ าเภอ และชุดส ารวจความพึงพอใจของประชาชนผู้ใช้บริการ ศูนย์ด ารงธรรม จังหวัด/อ าเภอ และการศึกษาด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ในประเด็นการระบุปัญหา และอุปสรรคในการยุติปัญหา เรื่อง ร้องเรียนร้องทุกข์ โครงสร้างของศูนย์ด ารงธรรม บุคลากร ระบบการท างาน งบประมาณ และทรัพยากร รวมทั้งข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาพบว่า ในส่วนของการตอบแบบสอบถาม ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ดีของผู้ปฏิบัติงานมีระดับความคิดเห็น/ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงาน ทั้งในระดับศูนย์ด ารงธรรมจังหวัดและศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอ อยู่ในระดับ “มาก” ทั้งหมด และในส่วนของระดับความพึงพอใจ ของประชาชนผู้ใช้บริการ ทั่งต่อเจ้าหน้าที่ ผู้ให้บริการ ส านักงาน สถานที่ และการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรมตาม 5

(8)

ธรรมประสบปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายในการด าเนินงานของศูนย์ ปัญหาเชิงโครงสร้างของศูนย์ที่ไม่มีโครงสร้างชัดเจน ปัญหา การขาดแคลนบุคลากร และปัญหา อุปสรรคของบุคลากรในการท างาน ปัญหาระบบการท างาน ปัญหางบประมาณ และ ทรัพยากรที่ได้รับการจัดสรรที่ไม่เพียงพอ เป็นต้น ซึ่งในรายงานการวิจัยได้มีการเสนอข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางในการ จัดการกับปัญหาที่ประสบไว้ระดับหนึ่งคณะกรรมาธิการการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด าเนินการบริหารราชการแผ่นดิน

โดยสรุป จากแนวคิดของ 7’s McKinsey เรื่อง 7s framework model สามารถน าไปใช้เป็นองค์ประกอบของ ทีมงานหรือโครงการได้เป็นอย่างดี เป็นตัวส่งเสริมซึ่งกันและกัน ส่งผลให้องค์กรมี ประสิทธิภาพและน าไปสู่ความส าเร็จตาม เป้าหมายที่องค์กรได้ตั้งไว้ และเป็นปัจจัยหลักในการสร้างองค์กรสู่ความเป็นเลิศ การบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว จ าเป็นต้องมีเกณฑ์การประเมินกระบวนการท างานและผลการปฏิบัติงานที่ยอมรับกันทั่วไป ดังนั้นจึงได้ด าเนินโครงการ ศึกษา เพื่อยกระดับมาตรฐานการพัฒนาระบบราชการโดยมีเป้าหมาย เพื่อศึกษาและพัฒนาคุณภาพของระบบการบริหารจัดการ ภาครัฐตามวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ซึ่งหน่วยงานของภาครัฐต้องมีการด าเนินการ โดยมุ่งให้บริการที่ตอบสนองความ ต้องการของประชาชนและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานภายในท้องถิ่นให้สอดรับกับความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ บริการ เหล่านั้นจะต้องมีประสิทธิภาพ โดยน าแนวคิด 7’s framework model เป็นหนึ่งวิธีการที่น ามาปรับใช้เป็นตัวเสริมให้องค์กรมี

ประสิทธิภาพและน าไปสู่ความส าเร็จตามเป้าหมายตามที่องค์กรตั้งเป้าหมายไว้ ซึ่งส่งผลให้ภาพลักษณ์ขององค์กรมีความเป็น เลิศ ซึ่งขึ้นอยู่กับผู้บริหารและปฏิบัติ ในการที่จะบูรณาการให้เหมาะสมกับองค์กรหรือหน่วยงานของตนเอง ที่ควรน าไปปฏิบัติ

เพื่อสู่การเป็นเลิศและผลการปฏิบัติงานขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิผล รวมถึงมีศักยภาพในการพัฒนาประเทศและให้บริการ ประชาชนได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ

จากการศึกษา พบว่า ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัด สุราษฎร์ธานี ด้านคุณภาพของงาน ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.28 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผลงานตรงตามความคาดหวังและความถูกต้อง อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.39 รองลงมาคือ ผลงานมี

คุณภาพ ก่อเกิดประโยชน์ต่อองค์กรและสร้างความพึงพอใจต่อผู้มารับบริการ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.27 และผลงานมีคุณภาพ สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 ตามล าดับ สอดคล้องกับ นลพรรณ บุญฤทธิ์ (2558) ศึกษา ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี ด้านคุณภาพของงาน พบว่า มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.77 อยู่ในระดับมาก โดยที่ผลของงานที่

ท่านปฏิบัติมีความถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้ อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ท่านมีการวางแผนในการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า เสมอ ในขณะที่ ท่านมีการศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมอยู่เสมอ เพื่อน ามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติให้มีคุณภาพมากขึ้น อยู่ในระดับ น้อยที่สุด

ในขณะที่ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ด้านปริมาณงาน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.07 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า งานที่เกิดขึ้น จะต้องเป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน โดยผลงานที่ปฏิบัติได้นั้นจะต้องมีปริมาณงานที่เหมาะสมตามแผนงานที่ได้ก าหนด มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 4.16 รองลงมาคือ ปริมาณงานที่ออกมาสมดุลกับอัตราก าลังคนในหน่วยงาน มีการส ารวจวัสดุ

อุปกรณ์ก่อนใช้ทุกครั้ง อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.11 และมีการก าหนดระยะเวลาหรือวางแผนบริหารเวลาเพื่อให้ได้

ปริมาณงานตามเป้าหมายที่มีการก าหนดไว้ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.95 ตามล าดับ สอดคล้องกับ นลพรรณ บุญฤทธิ์ (2558) ศึกษา ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี ด้าน ปริมาณงาน พบว่า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.74 อยู่ในระดับมาก โดยที่ท่านมีการวางแผนบริหารจัดการปริมาณงาน เพื่อความส าเร็จ ในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ท่านมีการจัดล าดับความส าคัญของปริมาณงาน เพื่อความส าเร็จในการ ปฏิบัติงาน ในขณะที่ท่านปฏิบัติงานด้วยความส าเร็จได้ตามปริมาณงานเมื่อเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ก าหนดไว้ อยู่ในระดับ น้อยที่สุด

ทั้งนี้ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ด้าน เวลา ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีการพัฒนาเทคนิคการ

(9)

ท างานให้มีความสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 4.36 รองลงมาคือ มีการส่งมอบตรงตามก าหนด และ พนักงานท างานถูกต้องรวดเร็ว อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.34 และมีการก าหนดเวลาที่ต้องใช้ในการด าเนินงาน อย่างเหมาะสมตามลักษณะของงาน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 ตามล าดับ สอดคล้องกับ นลพรรณ บุญฤทธิ์

(2558) ศึกษา ปัจจัย ที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี ด้านเวลา พบว่า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.82 อยู่ในระดับมาก โดยที่ ท่านตรงต่อเวลาและรักษาเวลาในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา การปฏิบัติงานของท่านมีการแบ่งเวลาอย่างชัดเจน

สอดคล้องกับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรม อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ด้านค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.28 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความร่วมมือในการประหยัดพลังงาน ที่ถือเป็นค่าใช้จ่ายขององค์กร มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 4.41 รองลงมาคือ ค่าใช้จ่าย ในการด าเนินงานทั้งหมดจะต้องมีความเหมาะสมกับงาน อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32 และมีการค านวณ ค่าใช้จ่ายในการด าเนินงานที่เหมาะสม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.14 ตามล าดับ นลพรรณ บุญฤทธิ์ (2558) ศึกษา ปัจจัย ที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี ด้านค่าใช้จ่ายในการด าเนินงาน พบว่า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.79 อยู่ในระดับมาก โดยที่ ท่านมีการน าทรัพยากรที่ใช้แล้วมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อการ ปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาท่านตระหนักและกระตุ้นให้ผู้อื่นใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า ในขณะที่ ท่าน ปฏิบัติงานส าเร็จด้วยความคุ้มค่าและประหยัดทรัพยากร อยู่ในระดับน้อยที่สุด

ข้อเสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะด้านโครงสร้างและอ านาจหน้าที่

1.1 ควรก าหนดโครงสร้างศูนย์ด ารงธรรมจังหวัด ศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอ และศูนย์ด ารงธรรมองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเชิงประชารัฐ นั่นคือ ให้ทุกระดับต้องมีภาคราชการ ภาคธุรกิจเอกชน ภาคประชาสังคม ผู้น ากลุ่มส าคัญ ๆ เช่น กลุ่ม อสม. กลุ่มสตรี เข้ามาเป็นกรรมการในศูนย์ด ารงธรรมในระดับต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ตามความส าคัญ เพื่อเข้ามาร่วม ประชุม ก าหนดทิศทาง ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์และร่วมไกล่เกลี่ยแก้ปัญหาข้อร้องเรียนในระดับสาธารณะที่กระทบใน ภาพรวมด้วยจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพได้มาก

1.2 เสริมสร้างความเข้มแข็งของกลไก การแก้ไขปัญหาในทุกระดับจนถึงระดับต าบล หมู่บ้าน ทั้งกลไกตามอ านาจ หน้าที่ เช่น ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน และกลไกธรรมชาติ เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้น าศาสนา เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายการท างานซึ่งกัน และกัน

1.3 ให้มีผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย หรือด้านอื่น ๆ เข้ามาบูรณาการความร่วมมือในการท างาน

1.4 ควรยกระดับโครงสร้างในส่วนกลางจาก “ศูนย์” เป็นกองหรือส านัก แยกจากส านักตรวจราชการและเรื่องราว ร้องทุกข์ เพื่อให้การขับเคลื่อนการด าเนินงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และในส่วนภูมิภาคควรก าหนดโครงสร้างของ ศูนย์ด ารงธรรมจังหวัดและศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอให้มีความเชื่อมโยงกัน เพื่อให้การบริหารงานเป็นไปอย่างมีเอกภาพมากยิงขึ้น ทั้งนี้ เนื่องจากปัจจุบันโครงสร้างของศูนย์ด ารงธรรมจังหวัดเป็นกลุ่มงานหนึ่งในส านักงานจังหวัด สังกัดส านักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย ในขณะที่ศูนย์ด ารงธรรมอ าเภอเป็นเพียงงานหนึ่งของที่ท าการปกครองอ าเภอ แม้ในเชิงโครงสร้างจะ มีค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจากส่วนราชการต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วมทั้งในระดับจังหวัด อ าเภอ และองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น แต่ในทางปฏิบัติกลับพบว่ายังไม่มีความเชื่อมต่อในการด าเนินงานของศูนย์ด ารงธรรมแต่ละระดับเท่าที่ควร

1.5 ควรจัดให้มีโครงสร้างของศูนย์ด ารงธรรมในรูปแบบส่วนราชการปกติ เพื่อให้มีบุคลากร งบประมาณ วัสดุ

อุปกรณ์ และระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ

1.6 ควรก าหนดให้มีกรรมการบริหารงานศูนย์ด ารงธรรมในทุกระดับเพื่อให้เป็นองค์กร แก้ไขปัญหาในทุกปัญหา 2. ข้อเสนอแนะด้านการบริหารจัดการ

Referensi

Dokumen terkait

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1.1 วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกําลัง ของชาติ

"IS/IT strategy does matter: An empirical evidence from hospitality industry", 2016 11th International Conference on Knowledge, Information and Creativity Support Systems KICSS, 2016