• Tidak ada hasil yang ditemukan

การพัฒนาลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตด้วยการศึกษาทั่วไป

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "การพัฒนาลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตด้วยการศึกษาทั่วไป"

Copied!
76
0
0

Teks penuh

(1)

การพัฒนาลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิตด ้วยการศึกษาทั่วไป ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิตติภูมิ มีประดิษฐ์

ผู้อำานวยการสำานักวิชาการศึกษาท ั่วไป มหาวิทยาล ัยศรีปทุม

(2)

มาตรฐานการศึกษา ของชาติ

มาตรฐานที่ 1 : คุณลักษณะของคน ไทยที่

พึงประสงค์ทั้งใน ฐานะพลเมืองและ พลโลก คนไทยเป็น คนเก่ง คนดี และมี

ความสุข

มาตรฐานที่ 2 :

แนวการจัดการศึกษา จัดการเรียนรู ้ ที่มุ่งพัฒนา ผู ้เรียนเป็นสำาคัญ และ การบริหารโดยใช ้สถาน ศึกษา

เป็นฐาน

มาตรฐานที่ 3 :

แนวการสร ้างสังคมแห่ง การเรียนรู ้/สังคมแห่ง ความรู ้ การสร ้างวิถีการ เรียนรู ้และแหล่งการ เรียนรู ้ให ้เข ้มแข็ง

พระราชบ ัญญ ัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบ ับที่ 2) พ.ศ.2545

แผนภูมิแสดงความส ัมพ ันธ์ของพระราชบ ัญญ ัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.2542

และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบ ับที่ 2) พ.ศ.2545

มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษาและกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระด ับอุดมศึกษา

มาตรฐานการ อุดมศึกษา

สกอ.

ระ ด ับ น โย บ าย

มาตรฐาน

การศึกษาปฐมวัย สพฐ.

มาตรฐาน การศึกษาขั้น

พื้นฐาน สพฐ.

มาตรฐาน การอาชีวศึกษา

สอศ.

(3)
(4)
(5)
(6)
(7)
(8)
(9)
(10)

มาตรฐานการ อุดมศึกษา

มาตรฐานด้าน คุณภาพบ ัณฑิต

มาตรฐานด้านการ สร้างและพ ัฒนา ส ังคมฐานความรู้

และส ังคมแห่งการ เรียนรู้

มาตรฐานด้านการ บริหาร

จ ัดการการอุดมศึกษา

ระับโยายระับการนำาไู่การปิบัต

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระด ับอุดมศึกษา (NQF)

สาขาวิชาที่ 1NQF NQF

สาขาวิชาที่ 2 NQF

สาขาวิชาที่ 3

ข้อกำาหนดจำาเพาะของหล ักสูตร

แต่ละสาขาวิชา

(11)

ยุทธศาสตร์หล ัก ของเงื่อนไขสู่ความ สำาเร็จ

- จัดทำาข ้อกำาหนด จำาเพาะของ

หลักสูตรและ รายวิชา

- กำาหนด

ยุทธศาสตร์การ สอน

- วัดและประเมินผล นักศึกษา

- ประเมินหลักสูตร - รายงานผลการ

ดำาเนินการและ พัฒนา

ยุทธศาสตร์หล ัก ของเงื่อนไขสู่ความ สำาเร็จ

- จัดทำาข ้อกำาหนด จำาเพาะของ

หลักสูตรและ รายวิชา

- กำาหนด

ยุทธศาสตร์การ สอน

- วัดและประเมินผล นักศึกษา

- ประเมินหลักสูตร - รายงานผลการ

ดำาเนินการและ พัฒนา

ผลที่คาดว่าจะได้ร ับ

- ครู – อาจารย์ มีการเปลี่ยนแปลงและ พัฒนาวิธีการสอน นักศึกษามีการ พัฒนาวิธีการเรียนรู ้

- บัณฑิตได ้รับการสั่งสอน อบรม กล่อม เกลาให ้มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู ้ ความสามารถ ทักษะต่างๆ ตลอดจน คุณลักษณะอื่นๆ ตามที่กำาหนดไว ้ใน กลุ่มมาตรฐานผลการเรียนรู ้ เป็นที่พึง พอใจของผู ้จ ้างงานและสังคม

สามารถแข่งขันในระดับสากลได ้ - สถาบันอุดมศึกษามีกรอบในการ

พัฒนาหลักสูตรและ จัดการ เรียนการสอนให ้มีมาตรฐานเทียบ เคียงกันได ้

ผลที่คาดว่าจะได้ร ับ

- ครู – อาจารย์ มีการเปลี่ยนแปลงและ พัฒนาวิธีการสอน นักศึกษามีการ พัฒนาวิธีการเรียนรู ้

- บัณฑิตได ้รับการสั่งสอน อบรม กล่อม เกลาให ้มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู ้ ความสามารถ ทักษะต่างๆ ตลอดจน คุณลักษณะอื่นๆ ตามที่กำาหนดไว ้ใน กลุ่มมาตรฐานผลการเรียนรู ้ เป็นที่พึง พอใจของผู ้จ ้างงานและสังคม

สามารถแข่งขันในระดับสากลได ้ - สถาบันอุดมศึกษามีกรอบในการ

พัฒนาหลักสูตรและ จัดการ เรียนการสอนให ้มีมาตรฐานเทียบ เคียงกันได ้

กรอบมาตรฐานฯ ตามระด ับ คุณวุฒิและสาขาวิชา กรอบมาตรฐานฯ ตามระด ับ

คุณวุฒิและสาขาวิชา

ผลผลิตทางการศึกษาที่ได้

คุณภาพและมาตรฐาน ผลผลิตทางการศึกษาที่ได้

คุณภาพและมาตรฐาน

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (NQF )

ระับการนำาไู่การปิบัต

(12)
(13)
(14)

โครงสร ้างและระดับขั้นการศึกษาในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษา

(15)

1. ระด ับของคุณวุฒิและเส้นทางการศึกษา ที่เชื่อมโยงก ัน ท ั้งในล ักษณะ

วิชาการและวิชาชีพ

2. กลุ่มมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบ ัณฑิต ที่คาดหว ัง (Domains of

Learning) ซึ่งอย่างน้อยต้องมี 5 ด้าน ได้แก่

- การพ ัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม - ความรู้

- ท ักษะทางเชาวน์ปัญญา

- ท ักษะความส ัมพ ันธ์ระหว่างบุคคลและ ความร ับผิดชอบ

- ท ักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร

องค์ประกอบของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ

(16)

สำาหร ับสาขาวิชาที่ต้องมีการฝึกฝนและพ ัฒนา ทางกายภาพ อาทิ ด้านศิลปะ ดนตรี

พลศึกษา หรือวิทยาศาสตร์สุขภาพ/การแพทย์ ต้อง เพิ่มกลุ่มมาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านท ักษะพิส ัย

(Psychomotor Skill) ซึ่งเป็นการฝึกฝนให้เกิด ความชำานาญเฉพาะด้านเพิ่มเติมไว้ด้วย

3. ปริมาณการเรียนรู้และระยะเวลาที่คาดหว ัง ให้บ ัณฑิตบรรลุผล การเรียนรู้ตามรายละเอียดที่

กำาหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหล ักสูตร

4. การกำาหนดชื่อปริญญา เป็นไปตามหล ัก เกณฑ์การกำาหนดชื่อปริญญา

5. การร ับรองผลการเรียนรู้และประสบการณ์ที่

มีมาก่อนท ั้งการศึกษาตามอ ัธยาศ ัยและในระบบ มี

รายละเอียดตามหล ักเกณฑ์การเทียบโอน ผล การเรียนระด ับปริญญาเข้าสู่การศึกษาในระบบของ กระทรวงศึกษาธิการ

องค์ประกอบของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (ต่อ)

(17)

6. เงื่อนไขสู่ความสำาเร็จ เป็นการกำาหนดแนวทางที่

จำาเป็นต้องดำาเนินการเพื่อให้บรรลุถึงมาตรฐานผลการเรียน รู้ทุกด้าน ได้แก่ การพ ัฒนาข้อกำาหนดจำาเพาะของหล ักสูตร และรายวิชา (Program Specifications and Course Specifications)

- มีการจ ัดทำาแผนการเรียนการสอนที่ผู้สอนในทุก รายวิชาจะต้องร่วมก ันกำาหนดกลยุทธ์การสอนให้ส่งเสริม และสอดคล้องก ับกลุ่มมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำาหนด

- มีการกำาหนดวิธีการว ัดผลและประเมินผลการเรียน รู้ของน ักศึกษาเพื่อให้ม ั่นใจว่าน ักศึกษาบรรลุมาตรฐานผล การเรียนรู้ตามที่คาดหว ังจริง

- มีการประเมินหล ักสูตรและพ ัฒนาต่อไป

หมายเหตุ โครงการคู่ขนานก ับโครงการ NQF ได้แก่

โครงการส่งเสริมเครือข่าย การพ ัฒนาวิชาชีพอาจารย์

และองค์กรระด ับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (Professional and Organizational

Development Network Thailand : POD

Network Thailand) เพื่อเป็นการพ ัฒนายุทธศาสตร์

การสอนและการวิจ ัยให้แก่คณาจารย์

องค์ประกอบของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (ต่อ)

(18)
(19)

ระดับการศึกษา หน่วยกิตขั้นต่่า

Domains of Learning Outcomes การพัฒนา

คุณธรรม

จริยธรรม ความรู้

ทักษะ

เชาวน์ปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิด

ชอบ

การวิเคราะห์

และการสื่อสาร

1. อนุปริญญา (3 ปี) 90 xx xx xx xx xx

2. ปริญญาตรี 120

150 180

xxxx

xxx xxx xxx xxx

3. ประกาศนียบัตร

บัณฑิต 24 หลัง

ป.ตรี

xxxx xxxx xxxx xxxx

4. ปริญญาโท 36 หลัง

ป.ตรี

xxxxxxx

xxxxx xxxxx xxxxx xxxxx

5. ประกาศนียบัตร

บัณฑิตชั ้นสูง 24 หลัง

ป.โท xxxxxx xxxxxx xxxxxx xxxxxx

5. ปริญญาเอก 48 หลัง

ป.โท หรือ 72 หลัง

ป.ตรี

xxxxxxx xxxxxxx xxxxxxx xxxxxxx

ความส ัมพ ันธ์ระหว่างการศึกษา ระด ับต่าง ๆ

จำานวนหน่วยกิตและกลุ่มมาตรฐาน

ผลการเรียนรู้

(20)

โครงสร้างหล ักสูตร (ป.ตรี 4 ปี) หน่วยกิต

120

1. หมวดวิชาศึกษาท ั่วไป หน่วยกิต

30 1. กลุ่มวิชาส ังคมศาสตร์

2. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

3. กลุ่มวิชาภาษา ในส ัดส่วนที่

เหมาะสม

4. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์

ก ับคณิตศาสตร์

2. หมวดวิชาเฉพาะ

84 หน่วยกิต

3. หมวดวิชาเลือกเสรี

6 หน่วยกิต

เกณฑ์มาตรฐานหล ักสูตรระด ับปริญญาตรี พ.ศ.2548

(21)
(22)

1. หมวดวิชาศึกษาท ั่วไป หมายถึง

วิชาที่มุ่งพ ัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้อย่างกว้าง ขวาง มีโลกท ัศน์

ที่กว้างไกล มีความเข้าใจธรรมชาติ ตนเอง ผู้อื่น และส ังคม เป็นผู้ใฝ่รู้

สามารถคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้ภาษาในการ ติดต่อสื่อสารความหมาย

ได้ดี มีคุณธรรม ตระหน ักในคุณค่าของศิลปะและ ว ัฒนธรรมท ั้งของไทย

และของประชาคมนานาชาติ สามารถนำาความรู้ไปใช้

ในการดำาเนินชีวิต

และดำารงตนอยู่ในส ังคมได้เป็นอย่างดี

สถาบ ันอุดมศึกษาอาจจ ัดวิชาศึกษาท ั่วไปใน ล ักษณะจำาแนกเป็น

รายวิชา หรือล ักษณะบูรณาการใด ๆ ก็ได้ โดยผสม ผสานเนื้อหาวิชาที่

ครอบคลุมสาระของกลุ่มวิชาส ังคมศาสตร์

มนุษยศาสตร์ ภาษา และ

กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ก ับคณิตศาสตร์ ในส ัดส่วนที่

เหมาะสม เพื่อให้บรรลุ

ว ัตถุประสงค์ของวิชาศึกษาท ั่วไป โดยให้มีจำานวน หน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า

30 หน่วยกิต

(23)

2. หมวดวิชาเฉพาะ หมายถึง

วิชาแกน วิชาเฉพาะด้าน วิชาพื้นฐาน วิชาชีพและวิชาชีพ

ที่มุ่งหมายให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และ ปฏิบ ัติงานได้

3. หมวดวิชาเลือกเสรี หมายถึง

วิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามที่ตนเองถน ัด

หรือสนใจ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียน รายวิชาใด ๆ ใน

หล ักสูตรระด ับปริญญาตรีโดยให้มีจำานวน หน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า

6 หน่วยกิต

(24)

บ ัณฑิตในอุดมคติ

1

เข้าใจพื้นฐานทางธุรกิจ

2

เชี่ยวชาญในวิชาเอก

3

สามารถคิดและวิเคราะห์ปัญหาได้

4

สามารถใช้ภาษาสากลสื่อสารได้

5

ใช้เทคโนโลยีที่ท ันสม ัยและใส่ใจสิ่งแวดล้อม

(25)

6

มีจริยธรรมและคุณธรรมต่อส ังคม

7

ร ักและภูมิใจในสถาบ ัน

8

ร ักและภูมิใจในความเป็นไทย

9

มีความเป็นผู้นำา

10

มีสุขภาพจิตและกายดี

บ ัณฑิตในอุดมคติ

(26)

บ ัณฑิตในอุดมคติ

อาจารย์

อาจารย์

กิจกรรมเสริมวิชาการกิจกรรมเสริมวิชาการ

หล ักสูตร หล ักสูตร

(27)

กิจกรรมเสริมวิชาการ

อนุร ักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม1 บำาเพ็ญประโยชน์

2 3 4

อนุร ักษ์และส่งเสริมศิลปว ัฒนธรรม ส่งเสริมสุขภาพการและสุขภาพจิต

ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม5

(28)

ส่งเสริมระบบอบประชาธิปไตย8

บุคลิกภาพ ภาวะผู้นำาและการทำางานเป็นทีม9

ส่งเสริมศ ักยภาพน ักศึกษา

6

ส่งเสริมความร ักและความภูมใจในสถาบ ัน7

(29)

หมวดวิชาศึกษาท ั่วไป หมวดวิชาเอก

หมวดวิชาโท หมวดวิชาเลือกเสรี

ต ัวอย่างโครงสร้างหล ักสูตรท ั้งมหาวิทยาล ัย

30 หน่วยกิต 84 หน่วยกิต

15 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต

รวม 135 หน่วยกิต

(30)

การศึกษาท ั่วไป

เป็นกระบวนการที่สำาค ัญในการพ ัฒนา น ักศึกษา

แบบองค์รวม ครอบคลุมการพ ัฒนา 4 ด้าน

การศึกษาท ั่วไปก ับการพ ัฒนานักศึกษาแบบองค์

รวม

ปัญญา

(Intelligence)

ปัญญา

(Intelligence)

กาย

(Physical)

กาย

(Physical)

ศีลธรรม

(Moral)

ศีลธรรม

(Moral)

จิตวิญญาณ

(Spiritual)

จิตวิญญาณ

(Spiritual)

(31)

ว ัตถุประสงค์ของการศึกษาท ั่วไป

พ ัฒนาผู้เรียนให้มีผู้มีคุณธรรม จริยธรรมใน การดำารงชีวิตและการทำางาน เข้าใจและ ซาบซึ้งในศิลปะ ว ัฒนธรรมของท้องถิ่นและ ประเทศของตนตลอดจนการศึกษาความแตก ต่างของว ัฒนธรรมข้ามชาติที่มีอิทธิพลต่อ การทำาธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

พ ัฒนาผู้เรียนให้เป็นประชากรโลก (global citizen) มีความพร้อมที่จะร ับการเปลี่ยนแปลง ของส ังคมโลก (ท ั้งด้านส ังคม เศรษฐกิจ

การเมือง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) อย่าง มีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์

(32)

พ ัฒนาท ักษะที่สำาค ัญ/จำาเป็นในการดำารง ชีวิต เช่น ท ักษะการสื่อสาร (โดยใช้

ภาษาและ ICT) ท ักษะการแก้ปัญหาและ การใช้เหตุผล รวมท ั้งท ักษะการทำางาน เป็นทีม

พ ัฒนาเพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำาความรู้

และท ักษะที่ได้จากการเรียนไปใช้ใน ชีวิตประจำาว ัน และสามารถดำารงชีวิตได้

อย่างมีสมดุลและความสุข

ว ัตถุประสงค์ของการศึกษาท ั่วไป

(33)

1. โครงสร้างของหมวดวิชาศึกษาท ั่วไป 2. รายวิชาที่เปิดสอน

3. แผนการสอน

4. เทคนิควิธีการสอน

5. สื่อการสอน/คู่มือ/เอกสารประกอบการสอน

6. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมก ับการเรียนการสอน 7. การว ัดและประเมินผล

8. สร้างความเข้าใจเกี่ยวก ับความสำาค ัญของ หมวดวิชาศึกษาท ั่วไป

ท ั้งในระด ับบริหาร อาจารย์ และนักศึกษา

9. พ ัฒนาอาจารย์ผู้สอนในด้านเทคนิควิธีการสอน การพ ัฒนาสื่อการสอน/

คู่มือ/เอกสารประกอบการสอน ให้สามารถนำามาใช้ได้

อย่างเหมาะสม

และได้ร ับการพ ัฒนาอย่างต่อเนื่อง 10. การบริหารจ ัดการ

การจ ัดการหมวดวิชาศึกษาท ั่วไป ควรพิจารณา

(34)

บทบาทของสำานักวิชา ศึกษาทั่วไปกับการ

พัฒนาคุณภาพนักศึกษา

(35)

ตัวอย่าง … .คุณสมบัติของบัณฑิตที่

พึงประสงค์

ของมหาวิทยาลัย

มีความรู้ ความสามารถทางวิชาการและ วิชาชีพ

มีท ักษะในการเรียนรู้ การคิด วิเคราะห์

ส ังเคราะห์ และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ

มีท ักษะทางภาษา สามารถในการติดต่อ สื่อสาร และถ่ายทอดความรู้ภาษาไทย

และภาษาต่างประเทศอย่างน้อย 1 ภาษา

มีท ักษะในการสืบค้นข้อมูล และใช้

เทคโนโลยีสม ัยใหม่

(36)

คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์

ของมหาวิทยาลัย (ต่อ)

ใฝ่รู้ ศึกษาอย่างต่อเนื่อง และสามารถใน การเรียนรู้ตลอดชีวิต

รู้จ ักตนเอง มีมนุษยส ัมพ ันธ์ ปร ับตนเอง เข้าก ับสิ่งแวดล้อมได้

มีภาวะผู้นำา

มีคุณธรรม จริยธรรม

มีความร ับผิดชอบต่อส ังคม

(37)

บทบาทของสถานศึกษา ในการสร ้างบัณฑิตอุดมคติ

ส่งเสริมกิจกรรมการพ ัฒนาน ักศึกษาให้

มีคุณล ักษณะที่พึงประสงค์

ปร ับปรุงระบบบริหารจ ัดการให้เอื้อต่อ การพ ัฒนาน ักศึกษา

สร้างสรรค์องค์ความรู้ในด้านการพ ัฒนา น ักศึกษาหรือเอื้อต่อการพ ัฒนา

น ักศึกษา

(38)

สถาบ ันการ

ศึกษา บ ัณ

ฑิต

เก่

ดี

มีสุข

(39)

บทบาทของภาควิชาในสำานักวิชา ศึกษาทั่วไป

กับการพัฒนาคุณภาพนักศึกษา

ด้านทร ัพยากรบุคคล

ด้านการส่งเสริมและพ ัฒนา

ด้านการมีส่วนร่วม

ด้านการดูแล/ควบคุม

ด้านนโยบาย

(40)

การสนับสนุนด ้านทรัพยากรบุคคล

อาจารย์ที่ปรึกษาประจำาต ัวน ักศึกษา

คณะกรรมการต่างๆ

ที่ปรึกษาฝ่ายกิจการน ักศึกษา/

ส ัมภาษณ์ทุน

ส่งเสริมการพ ัฒนาคุณธรรม จริยธรรมน ักศึกษา

ติดตามผลการเรียนและให้คำา ปรึกษา

อาจารย์ที่ปรึกษาชมรม/กิจกรรม

(41)

ด ้านการส่งเสริมและพัฒนา คุณธรรมจริยธรรมแก่นักศึกษา

การเรียนการสอน

กระบวนวิชาศึกษาท ั่วไปมีการสอนโดย สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการ

เรียนการสอน

การจ ัดกิจกรรมพ ัฒนาคุณภาพน ักศึกษาพ ัฒนาตนเอง

ปลูกจิตสำานึกเพื่อแก้ไขปัญหาของ

ชาติ

(42)

ด ้านการมีส่วนร่วม

การเข้าร่วมกิจกรรมพ ัฒนาคุณภาพ น ักศึกษา

ห ัวหน้าภาค

อาจารย์ที่ปรึกษา

คณาจารย์ของภาควิชา

(43)

ด ้านการดูแล/ควบคุม

ข้อบ ังค ับ/ระเบียบ/วิน ัย น ักศึกษา

การแต่งกายการสอบ

การจ ัดกิจกรรม

(44)

ด ้านนโยบายของภาควิชา

การกำาหนดภาระงานของอาจารย์

การให้นำ้าหน ัก ( ( คุณค่า คุณค่า )ของงาน )เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบ ัติ

งาน

(45)

ปร ัชญาของสำาน ักวิชาศึกษาท ั่วไป มหาวิทยาล ัย ศรีปทุม

การศึกษาสร้างคน คนสร้างชาติ

ปณิธานของสำาน ักวิชาศึกษาท ั่วไป มหาวิทยาล ัย ศรีปทุม

ร ับผิดชอบ รอบรู้ มุ่งสู่คุณธรรม

ตามท ันสถานการณ์ เบิกบานแจ่มใส

ปร ัชญาและปณิธานสำาน ักวิชาศึกษา ท ั่วไป

มหาวิทยาล ัยศรีปทุม

(46)

วิส ัยท ัศน์

สำาหร ับวิส ัยท ัศน์ คือ เป็นสำาน ักฯที่บุคลากร มุ่งม ั่นสร้างสรรค์ และพ ัฒนาคุณภาพการ ศึกษา การวิจ ัย และการบริการส ังคมเพื่อ พ ัฒนาทร ัพยากรมนุษย์

สิ่งแวดล้อม และ

เทคโนโลยีอย่างย ั่งยืน

โดยใช้เทคโนโลยี

ที่มีมาตรฐานสูง

ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้

เพาะบ่มคุณธรรมจริยธรรมและ สร้างความฉลาดทางอารมณ์

เพื่อให้เหมาะ สมต่อการเป็นคนรุ่นใหม่ในส ังคมแห่งการ

เรียนรู้

ด้วยนโยบาย

5 E

คือ

(47)

1. Education การให้การศึกษา อ ันได้แก่เนื้อหาความรู้

ในศาสตร์นั้น ตามหล ักสูตรและรายละเอียดวิชา

2. Ethics จริยศาสตร์ ซึ่งได้แก่ความเป็นผู้มีคุณธรรมและ จริยธรรม เป็นคนดี มีศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ สามารถดำารงตนในส ังคมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงได้

3. E.Q. (Emotional Quotient) ความฉลาดทางอารมณ์

ได้แก่ การรู้จ ักควบคุมอารมณ์ การรู้จ ักย ับย ั้งช ั่งใจและ ไตร่ตรอง

4. e-Learning การใช้เทคโนโลยีที่ท ันสม ัยต่าง ได้แก่

คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต โปรแกรมสำาเร็จรูปที่ท ันสม ัย มาใช้

ในการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายและผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ต่าง

5. Environment สิ่งแวดล้อม ได้แก่ การมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม รู้จ ักประหย ัดพล ังงานและการร ักษา สิ่งแวดล้อม ตลอดจนสามารถปร ับต ัวให้เข้าก ับสภาพส ังคมและ สิ่งแวดล้อมในยุคโลกาภิว ัตน์ได้

(48)

พ ันธกิจ

พ ันธกิจของสำาน ักวิชาศึกษาท ั่วไปคือมุ่งสร้าง

น ักศึกษาให้เป็นบ ัณฑิตที่กอปรด้วยปัญญา ความ เชี่ยวชาญ ความเบิกบาน และคุณธรรม ด้วยระบบ การศึกษาที่ให้น ักศึกษารู้หล ักวิทยาการ รู้คิด

สร้างสรรค์ รู้ท ันเทคโนโลยี รู้นำาการแก้ปัญหา ร่วมพ ัฒนาส ังคม และดำารงตนอย่างมีคุณค่า

(49)

หน้าที่

1. พ ัฒนาหล ักสูตรของหมวดวิชาศึกษาท ั่วไป ที่จะ สามารถสร้างให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการปร ับต ัวเพื่อให้สอดคล้อง ก ับสภาพส ังคมเศรษฐกิจ การเมือง และ ว ัฒนธรรมของประเทศที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว 2. พ ัฒนาคณาจารย์อย่างมีแบบแผนและเป็นรูป

ธรรม เพื่อมุ่งเน้นที่จะสร้างให้คณาจารย์ของสำาน ัก วิชาการศึกษาท ั่วไป เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ และมีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาการของตนเอง โดยส่งเสริมให้มีการเข้าร่วมประชุม ส ัมมนา

อบรม ทางด้านวิชาการและพ ัฒนางานวิจ ัย

(50)

หน้าที่

3. ส่งเสริมให้มีการพ ัฒนาสื่อการสอนและจ ัดการ ฝึกอบรมเทคนิคการถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างต่อ เนื่อง

4. ส่งเสริมและสน ับสนุนให้มีการจ ัดโครงการ

กิจกรรมเสริมวิชาการ เพื่อพัฒนานักศึกษา ให ้มี

ความพร ้อมในการพัฒนาตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งมุ่งเน ้นให ้นักศึกษาตระหนักในคุณค่าของศิลปะ และวัฒนธรรมไทย

5. ส่งเสริมให้น ักศึกษามีศ ักยภาพในการแสวงหา ความรู้ได้ด้วยตนเองตามแนวคิดการยึดผู ้เรียนเป็น ศูนย์กลาง

(51)

หน้าที่

6.

จ ัดให้มีระบบและกลไกการประก ัน

คุณภาพการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อ สร้างความม ั่นใจแก่น ักศึกษาและผู้ปกครอง

7.

สน ับสนุนให้มีการสร้างเครือข่ายวิชาการ

ศึกษาท ั่วไปร่วมก ับมหาวิทยาล ัยต่าง ๆ พร้อม ท ั้งจ ัดทำาโครงการเผยแพร่ความรู้ต่างๆ ให้

แก่ประชาชนและบุคคลท ั่วไปเพื่อเป็นการ

บริการทางด้านวิชาการสู่ส ังคม

(52)

การพ ัฒนางานตามพ ันธกิจ

1. ร่วมในการผลิตบ ัณฑิต

1.1 การพ ัฒนาศ ักยภาพด้านวิชาการ เพื่อให้

ท ันสม ัย หลากหลาย และสอดคล้องก ับ แนวทางการจ ัดการเรียนการสอนในรายวิชา

ศึกษาท ั่วไป

1.2 มีระบบ กลไกการพ ัฒนาและประก ัน คุณภาพเกี่ยวก ับหล ักสูตรที่เป็นที่ยอมร ับ

1.3 การเปิดหล ักสูตร/รายวิชาศึกษาท ั่วไปใหม่ๆ ผ่านการร ับรองและตรวจสอบโดยคณะ

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภามหาวิทยาล ัย และสกอ.

(53)

การพ ัฒนางานตามพ ันธกิจ

1.4 มีการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรหมวดวิชา ศึกษาทั่วไปให ้ทัน สมัยและเป็นที่ยอมรับของสังคม 1.5 สร ้างกระบวนการเรียนรู ้ที่เน ้นผู ้เรียนเป็นสำาคัญ

โดย การออกแบบลักษณะการเรียนการสอนให ้มี

ความยืดหยุ่นและหลากหลายเหมาะสมกับผู ้เรียน

1.6 การใช ้สื่อและเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมในการ สอนที่ทันสมัยเพื่อ ให ้เกิดการเรียนรู ้ที่ต่อเนื่องและ คงทน

1.7 สร ้างกระบวนการวัดและการประเมินผลการ เรียนรู ้ในรายวิชาศึกษาทั่วไปที่ชัดเจน โปร่งใส และ มีประสิทธิภาพ

(54)

2. การบริการวิชาการส ังคม

2.1 สำาน ักฯ ดำาเนินการสน ับสนุนอาจารย์ประจำา เข้าร่วมในการให้บริการทางวิชาการแก่

ส ังคม(บรรยายพิเศษ เป็นที่ปรึกษา เป็น

กรรมการวิทยานิพนธ์ เป็นกรรมการวิชาการ เป็นกรรมการวิชาชีพ)

2.2 สำาน ักฯ ดำาเนินการสน ับสนุนอาจารย์ประจำา ให้บริการทางด้านวิชาการก ับ หน่วยงานต่าง ๆ โดยเลือกเน้นวิชาการในส่วนของศาสตร์ต่าง ๆ ที่มีความเข้มแข็ง

(55)

3 การวิจ ัย

3.1 ส่งเสริมให้คณาจารย์และบุคลากรทำาการ วิจ ัย และสน ับสนุนการนำาผลงานวิจ ัยไปใช้ในการ จ ัดการเรียนการสอนและการพ ัฒนางาน สน ับสนุน ให้มีการเผยแพร่ผลงานวิจ ัย เป็นศูนย์กลางการ วิจ ัยทางด้านวิชาศึกษาท ั่วไป โดยมีข ั้นตอนการ ดำาเนินการด้านการวิจ ัยและงานสร้างสรรค์อย่าง เป็นระบบ(ต ั้งแต่การนำาเสนอ การให้ความช่วย เหลือจนถึงการติดตามผลงาน) โดยมีคณะ

กรรมการงานวิจ ัยพิจารณาและตรวจสอบในเบื้อง ต้น(ก่อนที่จะนำาเสนอตามลำาด ับต่อไป)

(56)

4. การทำานุบำารุงศิลปและว ัฒนธรรม

4.1 สน ับสนุนกิจกรรมที่ส่งเสริมให้น ักศึกษา อาจารย์ และ บุคลากรในสำาน ักวิชา การศึกษาท ั่วไป มีความเข้าใจและ เห็นคุณค่าของศิลปว ัฒนธรรมประเพณีและการพ ัฒนา สิ่ง แวดล้อม

4.2  สน ับสนุนการจ ัดกิจกรรมและหรือร่วมกิจกรรมในว ัน สำาค ัญทางศาสนา

4.3  จ ัดโครงการแลกเปลี่ยนว ัฒนธรรมระหว่างท้องถิ่น และระหว่างประเทศ

4.4  ส่งเสริมและสร้างสรรค์การสร้างว ัฒนธรรมองค์กร 4.5 ส่งเสริมการใช้ภาษาไทยในการดำาเนินชีวิตประจำา

ว ันอย่างถูกต้อง

(57)

การพ ัฒนาองค์กร

1. ระบบการบริหารจ ัดการ

1.1 พ ัฒนา และปร ับเปลี่ยนโครงสร้างเพื่อ ให้ระบบการบริหารจ ัดการเอื้อต่อพ ันธกิจ ของสำาน ักฯ

1.2 ติดตามและประเมินผลการบริหาร จ ัดการอย่างต่อเนื่อง

1.3 จ ัดระบบการบริหารจ ัดการโดยนำา

เทคโนโลยีเข้าช่วยเพื่อให้สามารถตรวจ

สอบได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง

(58)

2. การจ ัดการทร ัพยากรมนุษย์

2.2   สร้างแผนอ ัตรากำาล ัง

2.3   จ ัดส ัดส่วนอ ัตรากำาล ังบุคลากรที่เหมาะสม 2.4   เติมเต็มความรู้แก่บุคลากร

2.5   ส่งเสริมและสน ับสนุนให้มีการศึกษาต่อท ั้ง ภายในและภายนอก ประเทศ

2.6  สายสน ับสนุนที่ได้ร ับการพ ัฒนาความรู้

และท ักษะ สน ับสนุนให้มีความก้าวหน้าทาง ด้านวิชาการและวิชาชีพ

(59)

3.

ภาพล ักษณ์และเอกล ักษณ์ขององค์กร

3.1   มุ่งม ั่นทำางานเพื่อให้เกิดความสำาเร็จของ

พ ันธกิจและภาระงานที่ได้ ร ับมอบหมา

3.2    สร้างความร่วมแรงร่วมใจก ันเป็นทีม

3.3 ปร ับเปลี่ยนให้มีความท ันสม ัย ท ันต่อการ

เปลี่ยนแปลง

(60)

4. การบริหารจ ัดการทร ัพยากรอาคารและ เทคโนโลยี

4.1      การพ ัฒนาความรู้ด้าน ICT

4.2      การใช้บริการเกี่ยวก ับทร ัพยากรอาคาร และเทคโนโลยี

4.3      การจ ัดระบบเพื่อให้เกิดการพ ัฒนาและ การเปลี่ยนแปลงข้อมูลสารสนเทศบนเว๊ปไซค์

ของสำาน ักฯ

4.4 ความท ันสม ัยและเป็นปัจจุบ ันของข้อมูล สารสนเทศบนเว๊ปไซค์ของสำาน ักฯ

(61)

5. พันธมิตรทางวิชาการ

5.1 สร ้างเครือข่ายความร่วมมือทางด ้านวิชาการศึกษา ทั่วไป

5.2 สนับสนุนให ้อาจารย์เข ้าศึกษาต่อในสถาบันต่างๆ ที่

หลากหลาย

(62)

HUM 100 ท ักษะการเรียนรู้

รายวิชาศึกษาท ั่วไป ที่

นักศึกษาทุกคนต้อง เรียน

(1)การสอนที่เน้นการจ ัด กิจกรรมเพื่อสร้างการ เรียนรู้ให้เกิดแก่ผู้เรียน จากประสบการณ์จริง (2)การเรียนรู้เกิดจากการ

ร่วมก ันออกแบบการจ ัด กิจกรรมระหว่างผู้เรียน ก ับผู้สอน

(3)พ ัฒนาน ักศึกษาให้

บรรลุปณิธานของ

มหาวิทยาล ัยศรีปทุมคือ ปัญญา เชี่ยวชาญ เบิก บาน คุณธรรม

(4)คุณค่าของความเป็น มนุษย์ต้องถูกเติมเต็ม โดยสมบูรณ์

(63)

กิจกรรมที่จัดขึ้น

(1)เรื่องของความรักกับ คุณโจ มณทาณี

(2) ผู ้หญิงทางซ ้าย ผู ้ชายทาง ขวา กับ ครูเป็ด มนชีพ (3) บุคลิกภาพกับความสำาเร็จ

โดยทีมงานจากภายนอก

(64)

(4) ทัศนศึกษาเพื่อสร ้าง

ประสบการณ์ ตามสถานที่

ต่างๆ เช่น

พิพิทธภัณฑ์วิทยาศาสตร์

แห่งชาติ

(5) ละลายพฤติกรรมกับ กิจกรรม Walk rally ที่

โรงเรียนนายร ้อยพระ จุลจอมเกล ้า นครนายก

(65)
(66)

(6) กิจกรรมเรียนรู ้วิถีชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง โดยศึกษาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำาริ

แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทฤษฎีใหม่ช่วยเกษตรกรไทย

การทำานา อาชีพที่ควรค่าต่อความเป็นไทย โดยจัดทัศนศึกษา ที่พิพิธภัณฑ์เกษตร

ปทุมธานี

(67)
(68)

(7) กิจกรรม พ่อรวยสอนลูก MINI GET RICH QUICK ทั้งสนุกทั้งรู ้จักออม

(69)

(8) สมาธิเพื่อเสริมสร ้างคุณภาพชีวิต

(70)
(71)

(9) MY MAP การวางแผนชีวิต ลดความเสี่ยง เลี่ยงการเสีย เวลา

(72)

(10) บำาเพ็ญประโยชน์ โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนรู ้เองว่าจะทำา อะไร แล ้วนำาผลที่ได ้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู ้

(73)

(11) กิจกรรมการเรียนรู ้วิธีการหาข ้อมูลจาก แหล่งข ้อมูลต่างๆ เช่น สำานักหอสมุด จาก SEARCH ENGINE ต่างๆ จากฐานข ้อมูล ต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยเป็นสมาชิก

(12) กิจกรรมชีวิตหนุ่มสาวชาวไอที เรียนรู ้การ

สร ้าง BLOG การใช ้ไอทีอย่างถูกกฎหมาย

(74)

เรื่อง เรียนรู้จากพระบรมราโชวาท

โดย ฯพณฯ องคมนตรี ศาสตราจารย์ นาย แพทย์ เกษม ว ัฒนช ัย

แนวทางปฏิบ ัติพระราชทาน

1. ลดข ั้นตอน 2. เร็ว ๆ เข้า

3. ช่วยเขาช่วยตนเอง

4. ปิดทองหล ังพระ

(75)
(76)

Referensi

Dokumen terkait

นางสาววลัยพร อุนนะนันทน์ รหัส 46040071 อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์พรสวรรค์ ประสิทธิเขตร ระบบรับสมัครนักศึกษาผ่านทามือถือ MobileAdmission ทำามาเพื่อเป็นอีกแนวทางในการรับสมัคร นักศึกษา