• Tidak ada hasil yang ditemukan

การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมในจังหวัดแพร่

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมในจังหวัดแพร่"

Copied!
20
0
0

Teks penuh

(1)

การมีสวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดแพร

Participation of Local Organizational Administration in Cultural Tourist Supporting in Phrae Province

พระครูภาวนาเจติยานุกิจ , ฉวีวรรณ สุวรรณาภา และ พัฒนนรี อัฐวงค Phrakrupawanajetiyanukit, Chaweewan Suwannapa And Patnaree Atthawong

บทคัดยอ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อ ๑. ศึกษาศักยภาพของวัดที่เปนแหลงทองเที่ยวเชิง

วัฒนธรรมและการมีสวนรวมของชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวของจังหวัดแพร

๒. เพื่อศึกษาบทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ของจังหวัดแพร ๓. เพื่อพัฒนาการมีสวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการสงเสริมการ ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาการทองเที่ยวของจังหวัดแพร

กลุมเปาหมายที่ใชในการสัมภาษณ คือกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ไดแก เจาอาวาส พระสงฆ หรือตัวแทนเจาหนาที่ภาครัฐและเอกชน ตลอดถึงเจาหนาที่ที่เกี่ยวของกับการ ทองเที่ยว จํานวน ๑๐ คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการวิเคราะหเอกสาร การสัมภาษณ การจัดกลุมสนทนา โดยผูมีสวนไดเสียในชุมชน วิเคราะหขอมูลโดยการพรรณนา และเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามสํารวจความพึงพอใจของนักทองเที่ยวที่มีตอการทองเที่ยว

วัดพระธาตุชอแฮ พระอารามหลวง จังหวัดแพร

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร

(2)

๔๔ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๐) เชิงวัฒนธรรม จํานวน ๑๕๐ รูป/คน วิเคราะหขอมูล คารอยละ คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบน มาตรฐาน

ผลการวิจัยพบวา ๑. ศักยภาพการเปนแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดแพร

พบวา มีคุณคาทางประวัติศาสตร และคงความเปนเอกลักษณของชุมชน มีวิถีชีวิตความเปนอยู

ที่เรียบงาย มีวัฒนธรรมที่สืบสานกันมาอยางยาวนาน เปนแหลงทองเที่ยวที่มีเสนทางการ คมนาคมที่ตั้งอยูบนเสนทางหลัก ถนนหนทางสะดวกสบาย ซึ่งเปนแรงจูงใจในการเขามา ทองเที่ยวของนักทองเที่ยว ดานการบริหารจัดการการทองเที่ยวจะทําในรูปแบบของ คณะกรรมการชุมชนในการบริหารจัดการเพื่อใหเกิดประโยชนกับชุมชน ความพรอมในการ รับรองนักทองเที่ยว มีสิ่งอํานวยความสะดวกขั้นพื้นฐาน เพื่อดึงดูดนักทองเที่ยว

๒. บทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ของจังหวัดแพร พบวา ภาครัฐและเอกชนเขามามีสวนรวมในการสนับสนุนงบประมาณ วางแผนกําหนดนโยบายการทองเที่ยว รวมปรึกษาหารือในการจัดกิจกรรมของวัดและชุมชน มี

สวนรวมในการตัดสินแกไขปญหาตางๆ รวมกัน กระตุนใหเห็นถึงความสําคัญและมีสวนรวมใน การพัฒนาสถานที่ใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมภายในชุมชนและจังหวัด และที่สําคัญยัง เปนการสงเสริมใหนักทองเที่ยวพึงพอใจและบอกตอๆ กันไป

๓. พัฒนาการมีสวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการสงเสริมการทองเที่ยว

เชิงวัฒนธรรมที่สอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาการทองเที่ยวของจังหวัดแพร

ใหความสําคัญกับการบูรณาการการทองเที่ยวรวมกับชุมชน การพัฒนาเชิงพื้นที่ อํานวยความ สะดวกใหกับนักทองเที่ยว พัฒนาการทองเที่ยวการสงเสริมวัฒนธรรม สรางกระบวน แลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อใหชุมชนและนักทองเที่ยวมีความตระหนักรูในคุณคาความงดงามของ วัฒนธรรม

คําสําคัญ:

การมีสวนรวม, การสงเสริม, การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

(3)

๔๕ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 2 (July–December 2017)

Abstract

The purposes of this research were : 1. to study the efficiency of temple, which are the cultural tourist attraction. 2. To study the role of subdistrict administrative organization to boost the cultural tourism of Phrae province.

3. to develop the cooperation of subdistrict administrative organization to boost the cultural tourism of Phrae province.

The 10 subjects were the abbots, monks ,representatives of private and government and tourist officers. The research instruments were content analysis, interview, focus group by community steakholders. The data were analyzed by describing, mean and standard. The data were collected by using satisfaction questionnaire towards cultural tourism.

The results showed that:

1. studying the efficiency of temple, which are the cultural tourist attraction found that there was historical value and had their own identity of

community. The tourist attraction had simple way of life as well.

The transportation was comfortable. That why the tourists came here very often. The tourist administration aspect had the community committees who

were ready to welcome the tourists.There were basic facilities for attract the tourists.

2. Studying the role of subdistrict administrative organization to boost the cultural tourism of Phrae province found that the private and government supported the budgets and planed the tourist policies.They also participated temple and community activities. They also solved the problems of community together.They developed this place to be the cultural tourist attraction.

3. Developing the cooperation of subdistrict administrative organization

to boost the cultural tourism of Phrae province found that the integration of tourism and community ,the basic facilities were important. Cultural

(4)

๔๖ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๐) exchanging in community is also important for making the tourists realize the value of culture.

Keywords

: participation, promotion, cultural tourism

(5)

๔๗ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 2 (July–December 2017)

บทนํา

ประเทศไทยนับเปนหนึ่งในประเทศที่มีความอุดมสมบูรณทางวัฒนธรรม เห็นไดจาก

ประวัติศาสตรความเปนมาที่ยาวนานของประเทศ การเปดกวางในการนับถือศาสนา ความหลากหลายทางชาติพันธุ ศิลปวัฒนธรรมประจําชาติที่เปนเอกลักษณเฉพาะในแตละ พื้นถิ่น เกิดการเปลี่ยนแปลง ผสมผสาน หลอหลอม พัฒนาตามกาลเวลา กระทั่งประยุกต

รวมกับวัฒนธรรมทั้งขางถิ่นและขามถิ่น ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงความรุงเรืองทางดานวัฒนธรรมใน แผนดินไทยที่มีการสืบสานผานกาลเวลามาอยางยาวนาน ประเทศไทยจึงนับไดวาเปนประเทศ

หนึ่งที่เต็มไปดวยตนทุนทางวัฒนธรรม (Cultural Capital) ไมนอยกวาประเทศใดในโลก สามพร มณีไมตรีจิต (๒๕๓๙:๑๔) วัฒนธรรมที่นํามาใชประโยชนในการทองเที่ยวเปน

วัฒนธรรมที่เปนวัตถุหรือมีลักษณะที่เปนรูปธรรมที่จะนํามาพัฒนาใหเปนจุดสนใจแก

นักทองเที่ยว ไดแก แหลงทองเที่ยวโบราณวัตถุ แหลงประวัติศาสตร ศาสนสถาน งานศิลปกรรม สถาปตยกรรม นาฎศิลปและการละเลนพื้นบาน เทศกาลงานประเพณีงาน

ศิลปหัตถกรรมและสินคาทองถิ่น ตลอดจนวิถีชีวิตความเปนอยูและอัธยาศัยของคนไทย นอกจากนี้ วรรณา วงษวานิช (๒๕๔๖ : ๑๔๖) ใหแนวคิดเกี่ยวกับการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม วาการทองเที่ยวที่จัดขึ้นเพื่อใหนักทองเที่ยวไดชมความงามเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี

และวัฒนธรรมทองถิ่น เนื่องในเทศกาลตางๆ เปนการสืบทอดและรักษามรดกทางวัฒนธรรม ของแตละทองถิ่น โดยประชาชนมีสวนรวมในการจัดการทองเที่ยวเพื่อใหประโยชนทองถิ่น เพื่อสรางความเขมแข็งของวัฒนธรรมและการจัดการวัฒนธรรม เปนสิ่งบงชี้ที่สําคัญถึงความ ยั่งยืนของการพัฒนา เมื่อกระแสการพัฒนาประเทศดวยนโยบายเศรษฐกิจสรางสรรค

(Creative Economy) ไดถูกนํามากําหนดเปนวิสัยทัศนของการพัฒนาประเทศ จึงถือเปน จังหวะดีที่อุตสาหกรรมทองเที่ยวเชิงสรางสรรคในทองถิ่นจะนําตนทุนวัฒนธรรมที่มีมาเผยแพร

ใหกวางขวางออกไปในรูปแบบของการทองเที่ยววัฒนธรรมเชิงสรางสรรค (Creative Cultural Tourism) การจัดการการทองเที่ยวในรูปแบบนี้ ตองอาศัยความรวมมือจากหลายภาคสวน ทั้งในสวนขององคความรูตามหลักฐานที่ปรากฏ การสืบทอดใหคงอยูและการดําเนินตอไป โดยชุมชนจะเปนผูแสดงใหเห็นวาชุมชนสามารถอนุรักษและสืบสานวัฒนธรรมตอไปได

นอกจากนี้แนวคิดทุนวัฒนธรรมของบูดิเยอร (๑๙๘๓) กลาววาทุนวัฒนธรรมที่ปรากฏมีอยู

๓ รูปแบบ คือ ๑) ใน Embodies state เปนสิ่งที่ฝงอยูในตัวคนและกลุมคนอยางยาวนาน

(6)

๔๘ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๐) ไดแก ความคิด จินตนาการ ความคิดริเริ่มและความเชื่อ ๒) ใน Objectified state เปนสิ่งที่

เปนรูปธรรม ในรูปแบบของสินคาวัฒนธรรม เชน รูปภาพ หนังสือ สิ่งกอสราง สถานที่ที่เปน มรดกโลก ๓) Institutionalization state หรือความเปนสถาบันซึ่งสามารถทําใหเกิดความเปน รูปธรรม

การสรางสรรคการทองเที่ยวโดยวางอยูบนพื้นฐานของคุณคาทางวัฒนธรรมของทองถิ่น หรือทุนทางวัฒนธรรมสามารถทําไดโดยหยิบยกเรื่องราวจากประวัติศาสตร ศิลปะทองถิ่น ดนตรีพื้นบาน วิถีความเปนชุมชน วรรณกรรม สถาปตยกรรม หัตถกรรม ความงดงามของฝมือ ชางและอื่นๆ มาจัดการใหเกิดความนาสนใจสอดคลองตามคุณคาของชุมชนหรือเมือง ซึ่งเปน การเปดโอกาสใหนักทองเที่ยวไดรับประสบการณตรงผานการเรียนรูผานทางการทองเที่ยว เปนตนวาการไดใชชีวิตรวมกับชาวบานอยางแทจริง ไมใชเปนการแสดงหรือเปนสรางขึ้นมา เชน นักทองเที่ยวมาทองเที่ยวและมาสัมผัสกับวิถีชีวิตของการเปนชาวนา ไดมีโอกาสรวมทํานา กับชาวบานที่ยังคงรักษาชีวิตความเปนอยูที่เรียบงายหรือการที่นักทองเที่ยวไดมีโอกาสมาพัก โฮมสเตยในชุมชน พรอมกับไดเรียนรูวิธีการประกอบอาหารทองถิ่น เรียนรูวิธีการทําขนมของ ทองถิ่น เปนตน การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมนี้ ไดรับการนิยมมากขึ้นในหมูนักทองเที่ยวที่ชื่น

ชอบความเปนการศึกษาเรียนรูดานวัฒนธรรมและประเพณีในสังคมที่มีความแตกตาง ในประเทศไทยไดมีการพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมหลายแหงที่เปนที่รูจัก ไมวาจะเปน

การทองเที่ยวตามแหลงธรรมชาติตางๆ ตลาดน้ํา เกาะ แกง ชุมชนชาติพันธุที่มีความโดดเดน และมีอัตลักษณเปนของตนเอง รูปแบบการทองเที่ยวดังกลาวนี้ สงผลตอเศรษฐกิจของชุมชนที่

เกิดจากการทองเที่ยวอยางเสมอภาคเทาเทียมกัน ซึ่งการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมนั้นหากมีการ จัดการการทองเที่ยวที่เนนการเขามามีสวนรวมของคนในชุมชนที่มีสวนเกี่ยวของกับวงจรการ ทองเที่ยวยอมสงผลตอความยั่งยืนของการทองเที่ยวดวย การพัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน

กอใหเกิดรูปแบบการทองเที่ยวใหม คือ การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (cultural tourism) เปนการทองเที่ยววัฒนธรรมหรือชมงานประเพณีตางๆ ที่ชุมชนในทองถิ่นจัดขึ้น เพื่อใหไดรับ

ความสนุกสนานเพลิดเพลิน พรอมทั้งไดศึกษาความเชื่อ ความเขาใจตอสภาพสังคมและ วัฒนธรรม รวมถึงการมีสวนรวมของชุมชนในทองถิ่น โดยมุงเนนใหมีจิตสํานึกตอการรักษา สภาพแวดลอมและวัฒนธรรมอยางยั่งยืน (บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา, ๒๕๔๘: ก๑๕-๑๖) นอกจากนี้

การทองเที่ยวในรูปแบบที่ผานมาถึงแมจะนํารายไดมหาศาลมาสูอุตสาหกรรมการทองเที่ยวใน

(7)

๔๙ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 2 (July–December 2017) ประเทศไทย แตก็ไดสงผลกระทบดานลบตอคนและชุมชนในแหลงทองเที่ยวอยางมาก โดยเฉพาะมลพิษทางอากาศ ขยะ ความสูญเสียและทรุดโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและพื้นที่

ทองเที่ยว และความปลอดภัยในพื้นที่ทองเที่ยว ดังนั้น ทามกลางการเปลี่ยนแปลงของการกาวสู

การเปนเมืองหนาดานที่เปนประตูสูประเทศเพื่อนบาน กลายเปนพื้นที่ทองเที่ยวที่มีนักทองเที่ยว จากทั้งในและตางประเทศหลั่งไหลเขาไปจํานวนมาก หากมีการสงเสริมการทองเที่ยวในรูปแบบ เหมือนที่ผานมาแลว ยอมนําไปสูผลกระทบดานลบตอพื้นที่อยางหลีกเลี่ยงไดยาก เพราะผูที่

ไดรับประโยชนจากการทองเที่ยวสวนใหญไมใชคนในพื้นที่แตเปนนายทุนที่เคลื่อนยายการ ลงทุนจากพื้นที่ทองเที่ยวอื่นๆ มาลงทุนดานการทองเที่ยวที่คนในชุมชนจึงกลายเปนผูถูกกระทํา ที่ไดรับผลประโยชนจากการทองเที่ยวนอยมาก

โครงการวิจัยครั้งนี้ จึงใหความสําคัญกับบทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่อยู

ในพื้นที่ เพื่อใหมีบทบาทในการสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองคกรดานการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมใหมีความ

พรอมเพื่อรองรับนักทองเที่ยว โดยมีคําถามหลักในการวิจัยวา ศักยภาพดานการทองเที่ยวของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นในการพัฒนาการทองเที่ยวเปนอยางไรและจะพัฒนาศักยภาพของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นดานการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดแพร ไดอยางไร เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ที่มีเสนทางเชื่อมโยงไปยังประเทศเพื่อนบาน และเพื่อ รองรับจํานวนนักทองเที่ยวที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตอันใกล เพื่อเพิ่มศักยภาพดานการทองเที่ยว สรางกระบวนการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการจัดการแหลงทองเที่ยวเพื่อสรางรายไดและ สงเสริมใหมีการจัดการ การทองเที่ยวอยางยั่งยืน

วัตถุประสงคการวิจัย

๑. เพื่อศึกษาศักยภาพของวัดที่เปนแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและการมีสวนรวม ของชุมชนในการสงเสริมการทองเที่ยวของจังหวัดแพร

๒. เพื่อศึกษาบทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิง วัฒนธรรมของจังหวัดแพร

๓. เพื่อพัฒนาการมีสวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการสงเสริมการ ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาการทองเที่ยวของจังหวัดแพร

(8)

๕๐ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๐)

ขอบเขตการวิจัย

ขอบเขตดานพื้นที่

วัดที่เปนสถานที่ทองเที่ยวหลักในจังหวัดแพร ๓ แหง ไดแก วัดพระบาทมิ่งเมือง วรวิหาร อําเภอเมือง จังหวัดแพร วัดพระธาตุชอแฮ อําเภอเมือง จังหวัดแพร และวัดสะแลง อําเภอลอง จังหวัดแพร และสถานที่ทองเที่ยวชุมชน ๑ แหง ไดแก บานทุงโฮง อําเภอเมือง จังหวัดแพร

ขอบเขตดานเนื้อหา

ศึกษาสถานการณการทองเที่ยวทางวัฒนธรรมในชุมชน ศักยภาพและแหลงทองเที่ยวที่

มีอยูในชุมชน และการมีสวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ในพัฒนาแหลงทองเที่ยวที่มี

อยูใหเปนที่รูจักของนักทองเที่ยวทางวัฒนธรรม วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ พฤติกรรมและ ความสนใจของนักทองเที่ยวที่มีตอวัด/ ชุมชนที่เปนกรณีศึกษา

ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรและกลุมตัวอยาง ประกอบดวย

๑) เจาอาวาส พระสงฆ หรือตัวแทนวัด จากการศึกษาในเบื้องตนพบวา แตละวัดจะมี

พระสงฆและบุคคลผูที่เกี่ยวของกับกิจกรรมการสงเสริมการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต และการประกอบอาชีพตางๆ วัดละ ๓ - ๕ รูป/คน ดังนั้น คณะผูศึกษาจะใชเปนกลุมเปาหมาย ในการศึกษาทั้งหมด

๒) เจาหนาที่ภาครัฐและเอกชน ไดแก ผูบริหารหรือเจาหนาที่ขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น นักวิชาการดานการทองเที่ยว เจาหนาที่สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดแพร เจาหนาที่

สํานักงานการทองเที่ยวและการกีฬา ตลอดถึงผูมีสวนเกี่ยวของกับการจัดการทองเที่ยวใน จังหวัดแพรจํานวน ๗-๑๐ คน

๓) นักทองเที่ยวและผูประกอบการทองเที่ยว เปนการศึกษาจากกลุมตัวอยางจาก นักทองเที่ยวผูที่เดินทางทองเที่ยวทางวัฒนธรรมวิถีชีวิตและอาชีพในชุมชน จํานวน ๑๕๐ คน

(9)

๕๑ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 2 (July–December 2017)

ระยะเวลาที่ใชในการเก็บขอมูล

คณะผูวิจัยใชวิธีการเก็บเชิงเอกสาร ระยะแรกของการศึกษาโดยการศึกษาขอมูล เบื้องตนจากแหลงขอมูลจากเอกสาร หนังสือ วารสารและสื่อสิ่งพิมพ ตางๆ ที่เกี่ยวของ เปน หลักในการคนควาขอมูล เริ่มตั้งแตเดือนมกราคม ๒๕๕๙ – มีนาคม ๒๕๕๙

ระยะที่สองเปนการเก็บขอมูลภาคสนาม โดยศึกษาการมีสวนรวมของวัด ชุมชน และ หนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตั้งแตเดือนเมษายน ๒๕๕๙ – กันยายน ๒๕๕๙

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) โดยใช

ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ที่เก็บรวบรวมขอมูลโดยการ ศึกษาวิจัย ในเชิงเอกสาร (Documentary Research) การสัมภาษณเชิงลึก (In–depth Interviews) การจัดกลุมสนทนา (Focus Groups Discussion) และการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ที่รวบรวมขอมูลโดยวิธีการสุมแบบบังเอิญ (Accidental Sampling)

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาวิจัยประกอบดวย ๑. การวิจัยเชิงเอกสาร (documentary research)

๒. การสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview ) สําหรับเก็บขอมูลจากผูที่ใหขอมูลที่

สําคัญ (key Informants) จากเจาอาวาส เจาหนาที่ภาครัฐและเอกชน เกี่ยวกับการมีสวนรวม ในการพัฒนาการจัดการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนในจังหวัดแพร

ผลการวิจัย

๑. ผลจากการศึกษาศักยภาพการเปนแหลงทองเที่ยว เชิงวัฒนธรรมของจังหวัดแพร

วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร

ดานแรงจูงใจในการทองเที่ยว วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหารมีคุณคาทางประวัติศาสตร

ศิลปวัฒนธรรม ความเปนเอกลักษณ ความงดงามทางดานศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิต ภูมิปญญา

(10)

๕๒ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๐) และองคความรู ความตอเนื่องของการสืบสายวัฒนธรรมประเพณี การจัดกิจกรรมประจําเดือน ประจําปเพื่อสืบทอดภูมิปญญาและองคความรูอยางตอเนื่องเพื่อใหเกิดความเขมแข็งในการ รักษาเอกลักษณ

ดานการบริหารจัดการดานการทองเที่ยว สภาพปญหาโดยทั่วไปของวัดพระบาทมิ่ง

เมืองวรวิหารเปนวัดอยูในเขตชุมชนเมืองมีเสียงรถรบกวน มีตึกอาคารพาณิชยจํานวนมาก แตทางวัดเนนในเรื่องการจัดระเบียบพื้นที่รอบสถานที่สําคัญภายในวัด เนื่องจากเปนแหลง

ทองเที่ยวและเปนศาสนสถานที่สําคัญและใกลกันหนวยราชการตาง ๆ ทําใหจังหวัดใชเปน สถานที่สําหรับประกอบพิธีสําคัญๆ จึงตองมีการปรับเปลี่ยนสถานที่โดยรอบเพื่อรองรับพิธีการ ระดับจังหวัดอยูเสมอ รวมถึงการเขาถึงแหลงทองเที่ยว การเดินทางคอนขางงาย เนื่องจากถนน หนทางคอนขางสะดวกมีความหลากหลายของกิจกรรมงานประเพณี งานประจําปการจัดการ ดานการรักษาสภาพและฟนฟูสถานที่ทองเที่ยวภายในวัด การจัดการการใชประโยชนภายในวัด ดานความพรอมในการรับรองการทองเที่ยวมีศักยภาพในการพัฒนาสิ่งอํานวยความ สะดวกขั้นพื้นฐานภายในวัด เชน ถนน น้ํา ไฟฟา สาธารณูปโภคตางๆ เพื่อเปนแหลงทองเที่ยว ภายใน มีปายบอกขอมูลเกี่ยวกับวัดและเสนทางการเขาถึงสถานที่สําคัญตางๆ ที่เห็นไดชัดเจน และตั้งในจุดที่เหมาะสม มีเกาอี้หรือสถานที่รองรับนักทองเที่ยวที่สูงอายุที่ไมสามารถนั่งกับพื้น ได มีหองน้ํา หองสุขาที่พอเพียงและเหมาะสมกับผูสูงอายุและคนพิการ มีนโยบายในการจัดทํา เปนแหลงทองเที่ยวเปนศูนยรวมจิตใจของคนในจังหวัด มีนโยบาย/แผน การลดผลกระทบทาง ลบตอวัฒนธรรม/สิ่งแวดลอม ที่เกิดจากกิจกรรมการทองเที่ยว เชน มีนโยบายในการแยกขยะ สิ่งปฏิกูลและยังเปนวัดที่มีความสําคัญตอชุมชน สังคม เปนศูนยรวมจิตใจของชาวแพร ในวัดมี

เจดียมิ่งเมืองและเปนที่ประดิษฐานพระพุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนีอันเปนพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์คูบานคูเมือง นอกจากนี้ยังเปนที่เก็บรักษาพระคัมภีรปกดวยไหม พระคัมภีรที่ตัว อักขระ ประดิษฐขึ้นจากการปกดวยไหมทีละตัว นับเปนศิลปวัตถุชิ้นเอกชิ้นหนึ่งของจังหวัดแพร

วัดพระธาตุชอแฮ พระอารามหลวง

ดานแรงจูงใจในการทองเที่ยว เปนวัดที่มีความสําคัญเปนสถานที่ที่นับวาเปนแรงจูงใจ สําหรับนักทองเที่ยวที่จะมาเที่ยวในจังหวัดแพรไดเปนอยางดี เนื่องจากเปนวัดพระอารามหลวง และนักทองเที่ยวเขามาเที่ยวในชวงเทศกาลเปนจํานวนมาก เปนสถานที่ทองเที่ยวที่เขาถึงงาย และเปนที่รูจักของนักทองเที่ยวสวนใหญเปนอยางดี เหมาะสมและเอื้อประโยชนในการใช

(11)

๕๓ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 2 (July–December 2017) สถานที่เอื้ออํานวยใหกับผูพิการและผูสูงอายุ และมีระบบการจัดการ รวมถึงการบริหารจัดการ วัดใหเปนแหลงการคาที่ทําประโยชนใหกับชุมชน นักทองเที่ยวสามารถเลือกซื้อสินคาจากและ ผลิตภัณฑพื้นบานเพื่อเปนของใชและของฝาก ซึ่งแตละปมักจะมีนักทองเที่ยวทั้งไทยและ ชาวตางชาติมาทองเที่ยวเปนจํานวนมาก

ดานการบริหารจัดการดานการทองเที่ยว สภาพปญหาโดยทั่วไปของวัดพระธาตุชอแฮ พระอารามหลวง มีถนนตัดผานทั้งสองดานของแนวโบราณสถาน ทําใหสามารถจัดความเปน ระเบียบในพื้นที่โดยรอบได และเปนศาสนสถานที่มีระบบและการบริหารจัดการที่สูง ทําให

จังหวัดใชเปนสถานที่สําหรับประกอบพิธีสําคัญ ๆ จึงตองมีการปรับเปลี่ยนสถานที่โดยรอบเพื่อ

รองรับพิธีการระดับจังหวัดอยูเสมอ การจัดระเบียบภายในพื้นที่โดยรอบ เชน สวนรุกขชาติ

ชอแฮเหมาะสําหรับการพักผอนหยอนใจและศึกษาพันธุไม มีตนไมนานาพันธุ จึงถือวาเปนวัดที่

มีศักยภาพในการบริหารจัดการรวมกับชุมชนและหนวยงานภายในชุมชนไดเปนอยางดี

ดานความพรอมในการรับรองการทองเที่ยว มีศักยภาพในการพัฒนาสิ่งอํานวยความ สะดวกขั้นพื้นฐานภายในวัด เชน ถนน น้ํา ไฟฟา สาธารณูปโภคตางๆ เพื่อเปนแหลงทองเที่ยว ภายใน มีปายบอกขอมูลเกี่ยวกับวัดและเสนทางการเขาถึงสถานที่สําคัญตางๆ ที่เห็นไดชัดเจน และตั้งในจุดที่เหมาะสม มีลิฟ บริการผูสูงอายุและคนพิการในกรณีที่เดินไมสะดวก มีเกาอี้หรือ สถานที่รองรับนักทองเที่ยวที่สูงอายุที่ไมสามารถนั่งกับพื้นได มีหองน้ํา หองสุขาที่พอเพียงและ เหมาะสมกับผูสูงอายุและคนพิการ วัดมีนโยบายในการจัดทําเปนแหลงทองเที่ยวภายในวัดโดย เปนศูนยรวมจิตใจของคนในจังหวัด มีนโยบาย/แผน การลดผลกระทบทางลบตอวัฒนธรรม/

สิ่งแวดลอม ที่เกิดจากกิจกรรมการทองเที่ยว เชน มีนโยบายในการแยกขยะสิ่งปฏิกูล และยัง เปนวัดที่มีความสําคัญตอชุมชน สังคม เปนศูนยรวมจิตใจของชาวแพร

วัดสะแลง

ดานแรงจูงใจในการทองเที่ยว วัดสะแลง เปนวัดที่เกาแกในชุมชน สันนิษฐานวาสราง ขึ้นตั้งแต สมัยทวารวดีเชื่อวา สมัยกอนพระสัมมาสัมพุทธเจาไดเคยเสด็จมาถึง ตอมามีการบูร ปฏิสังขรณใหมเปนที่ ประดิษฐานของพระพุทธรูปโบราณ และเปนแหลงวัฒนธรรม ในวัดเปน แหลงเรียนรูฝกอบรม คุณธรรม จริยธรรมสําหรับเยาวชนและบุคคลทั่วไป ในปจจุบันจึงถือวาวัด สะแลงเปนแหลงเรียนรูที่สําคัญ เกี่ยวกับประวัติศาสตร วัฒนธรรม สําหรับนักเรียนและเปน สถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาในวันสําคัญ

(12)

๕๔ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๐) ดานการบริหารจัดการดานการทองเที่ยว สภาพปญหาโดยทั่วไปของ วัดสะแลง เปนวัด อยูในเขตชุมชนชนบทมีถนนหนทางโดยรอย มีความสะดวกในการเดินทาง มีพื้นที่กวางขวางทํา ใหสามารถจัดความเปนระเบียบในพื้นที่โดยรอบได ทางวัดเนนในเรื่องการจัดระเบียบพื้นที่รอบ สถานที่สําคัญภายในวัดไดอยางเปนสัดสวน สําหรับการจัดระเบียบภายในพื้นที่แหลงมรดก พิพิธภัณฑ นั้นมีระบบและการบริหารจัดการที่ดี เนื่องจากเปนแหลงทองเที่ยวและเปนศาสน สถานที่สําคัญ และใกลกับชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น ทําใหทองถิ่นใชเปนสถานที่

สําหรับประกอบพิธี วัฒนธรรมประเพณีที่สําคัญๆ โดยการมีสวนรวมขององคกรปกครองสวน ทองถิ่นอยูเสมอ การเขาถึงแหลงทองเที่ยว พบวา การเดินทางคอนขางงาย เนื่องจากถนน หนทางคอนขางสะดวก เขาถึงไดงายมีการบริหารจัดการวัดในรูปแบบของคณะกรรมการวัด ความหลากหลายของกิจกรรมงานประเพณี งานประจําป การจัดการดานการรักษาสภาพและ ฟนฟูสถานที่ทองเที่ยวภายในวัดมีการบริหารการจัดการการใชประโยชนภายในวัดโดยเจา อาวาสวัดรวมกับชุมชนในการสืบสานประเพณีและวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาภายในชุมชน ดานความพรอมในการรับรองการทองเที่ยว วัดสะแลง มีศักยภาพในการพัฒนาสิ่ง อํานวยความสะดวกขั้นพื้นฐานภายในวัดสะแลง เชน ถนน น้ํา ไฟฟา สาธารณูปโภคตางๆ เพื่อ เปนแหลงทองเที่ยวภายในวัด มีปายบอกขอมูลเกี่ยวกับวัดและเสนทางการเขาถึงสถานที่สําคัญ ตางๆ ที่เห็นไดชัดเจน และตั้งในจุดที่เหมาะสม มีสถานที่รมรื่นวัดมีนโยบายในการจัดทําเปน แหลงทองเที่ยวภายในวัดโดยเปนศูนยรวมจิตใจของคนในอําเภอและคนในทองถิ่นใกลเคียง และยังเปนวัดที่มีความสําคัญตอชุมชน สังคม เปนศูนยรวมจิตใจของชุมชนและเปนที่

ประดิษฐานพระพุทธรูปเกาแก เชน พระพุทธรูปไมแกนจันทร นับเปนศิลปวัตถุอีกชิ้นหนึ่งของ จังหวัดแพร

ชุมชนบานทุงโฮง

ดานแรงจูงใจในการทองเที่ยว ชุมชนบานทุงโฮง เปนหมูบานเชิงหัตถกรรมที่

นักทองเที่ยวสามารถชมกระบวนการผลิตผาหมอหอมไดทุกขั้นตอน เปนแหลงเรียนรูใหกับ เยาวชนที่ตองการเขามาสืบสานวัฒนธรรมการทอผา ใหนักทองเที่ยวเขามาเรียนรูวิถีชีวิตชาวไท พวน และสามารถเลือกซื้อไดโดยตรงจากชาวบาน นักทองเที่ยวสามารถพักแรมที่หมูบานได

เพราะมี Home Stay ไวสําหรับรองรับนักทองเที่ยวอีกดวย

(13)

๕๕ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 2 (July–December 2017)

ดานการบริหารจัดการดานการทองเที่ยว บานทุงโฮง มีศูนยบริการนักทองเที่ยวสําหรับ บริการใหขอมูลและเอกสารแกนักทองเที่ยวพรอมทั้งยังเปนแหลงจําหนายสินคา OTOP ภายใน หมูบาน มีรานคาหมอฮอม มีการปรับภูมิทัศนใหมีความสวยงาม ใหเปนพื้นที่จุดเดน เปน ศูนยกลางการขายและการทองเที่ยว และไดดําเนินการกับหนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของเพื่อสราง โรงงานตนแบบในจังหวัดแพรเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจการคาผาหมอฮอม เพื่อเปนศูนยกลางการคา และการทองเที่ยว

ดานความพรอมในการรับรองการทองเที่ยว ชุมชนบานทุงโฮง มีศักยภาพในการพัฒนา สิ่งอํานวยความสะดวกขั้นพื้นฐานในชุมชน เชน ถนน น้ํา ไฟฟา สาธารณูปโภคตาง ๆ เพื่อเปน แหลงทองเที่ยวภายในชุมชนมีการจัดงาน “ประเพณีกําฟา” ประจําปทุกๆ ป โดยการทองเที่ยว แหงประเทศไทย สํานักงานแพร รวมกับเทศบาลทุงโฮง มีภูมิปญญาทองถิ่นของชาวไทยพวนที่

มีอัตลักษณเฉพาะ เพื่อเปนการสักการบูชาและรําลึกถึงบรรพบุรุษของชาวไทยพวน มีสินคา คุณภาพที่ไมมีวางจําหนายตามทองตลาด เพื่อดึงดูดนักทองเที่ยวใหมาชมสินคาที่มีคุณภาพ ซึ่ง ไดรับความสนใจจากนักทองเที่ยวที่ผานมาแวะชมทําใหจะมีการพัฒนาในเรื่องของที่จอดรถ รองรับนักทองเที่ยวและไดมีการจัดการฝกอบรมอาชีพ เพื่อพัฒนาผาหมอฮอมและผลิตของ ชํารวย มีการรวมกลุมของผูประกอบการผาหมอฮอม เพื่อสรางความสามัคคีในกลุมใหมี

มาตรฐาน

๒. บทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ของจังหวัดแพร

องคกรปกครองสวนทองถิ่นไดรับการถายโอนภารกิจ “การสงเสริมการทองเที่ยว”

ในระดับทองถิ่น โดยใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นวางแผนการทองเที่ยวการปรับปรุงดูแล บํารุงรักษาสถานที่ทองเที่ยว จัดทําสื่อประชาสัมพันธ ตามมาตรา๑๖ (๘) มาตรา ๑๖ (๑๓) มาตรา ๑๗ (๑๔) มาตรา ๒๓ (๑๙) และมาตรา ๒๔ (๑๒) พระราชบัญญัติการทองเที่ยวแหง ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒ กําหนดใหมีผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่นเขารวมเปน คณะกรรมการในทุกระดับ อีกทั้งพระราชบัญญัตินโยบายการทองเที่ยวแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดกําหนดใหตัวแทนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นรวมเปนคณะกรรมการนโยบายการ ทองเที่ยวแหงชาติ (ท.ท.ช.) ดังนั้น องคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงเปนกลไกสําคัญในการ

(14)

๕๖ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๐) ประสานงานกับองคกรหรือหนวยงานอื่น ๆ ในระดับตาง ๆ เพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเนื่องจาก เปนผูดูแลฐานทรัพยากรการทองเที่ยวและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับการทองเที่ยว การศึกษาการมีสวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิง วัฒนธรรมในจังหวัดแพร ดังนี้

การมีสวนรวมในการคิด วิเคราะหสถานการณปญหาวัดเสนอแนวคิดในการกําหนด นโยบายกับวัด ในการดําเนินกิจกรรมการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม เสนอแนะที่ประชุมในการ เสนอโครงการ กิจกรรม/โครงการของวัด ซึ่งผูบริหารขององคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความรู

เกี่ยวกับวัฒนธรรมสามารถใหคําปรึกษาในการจัดกิจกรรมตางๆ ที่ทําใหเกิดความรัก หวงแหน ในวัฒนธรรมของตนและเห็นดวยที่ทองถิ่นรวมมือกับโรงเรียนหรือหนวยงานอื่นๆ เพื่อนําความรู

ทางภูมิปญญา และวัฒนธรรมทองถิ่นมาสอนนักเรียน ผูสูงอายุและจัดนิทรรศการ ใหขอมูลและ ถายทอดความรูใหผูที่มาทองเที่ยว

รวมวางแผน กําหนดทิศทาง แผนงาน กิจกรรม มีการกําหนดเปาหมายในการ ดําเนินการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สงเสริมใหเกิดความเขาใจและเปดโอกาสใหมีสวนรวมในการ ดําเนินงานมีการกําหนดผูรับผิดชอบงานทองเที่ยว เขารวมประชุมที่เกี่ยวของการการจัดงาน วัฒนธรรมประเพณี มีสวนรวมในการเลือกกิจกรรม/งานวัฒนธรรม เพื่อนํามาวางแผนรวมกัน เพราะเห็นวาศาสนา ประเพณีวัฒนธรรมเปนมรดกทางวัฒนธรรมของทองถิ่นที่ควรคาแกการ อนุรักษ สืบทอดกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตางๆ ที่จัดขึ้น เชน งานประจําปหลวงพอพุทธโกศัย งานพระธาตุชอแฮแหตุงหลวง ประเพณีกําฟา เปนกิจกรรมที่ประชาชนมีความตองการใหจัดขึ้น และยังทําใหความรักและหวงแหนในวัฒนธรรมทองถิ่น การรวมกลุมเกี่ยวกับอาชีพ กิจกรรม ที่พัก โฮมสเตย ที่มีการจัดตั้งในรูปกลุม

การมีสวนรวมในการลงทุนและปฏิบัติการในการเสนองบประมาณยังมีนอย แตมีการ สนับสนุนดานแรงงานและวัสดุตางๆ ในการดําเนินงานดานการทองเที่ยว การลงมติในการ จัดทํากิจกรรม /โครงการของวัด การปฏิบัติตามกฎ มาตรการในการดูแลรักษาวัดซึ่งการจัดสรร งบประมาณ มีการขอรับการสนับสนุนงบประมาณหรือประสานความรวมมือกับหนวยงานอื่นๆ ทั้งหนวยงานของรัฐ เอกชน หรือมูลนิธิตางๆ และประชาชนทั่วไป

การมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผลองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการดูแล กิจกรรม/โครงการของวัด ติดตามความกาวหนา ติดตามตรวจสอบการดําเนินกิจกรรม/

(15)

๕๗ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 2 (July–December 2017) โครงการของวัด ชุมชนติดตามกิจกรรม โครงการ และหาแนวทางแกไขปรับปรุง ซึ่งพบวาการ ประชาสัมพันธ ดานวัฒนธรรมที่ทําอยูในปจจุบันสามารถเขาถึงประชาชนทั้งในพื้นที่และนอก พื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ คือ การใชเสียงตามสาย รถประกาศ ติดประกาศ ใบปลิว หรือทาง อินเทอรเน็ต การติดปายประกาศตามสถานที่ตางๆ ทําใหมีประชาชนและผูที่ไดรับทราบขอมูล มาทองเที่ยวและผูที่มาทองเที่ยวมีความพึงพอใจ

๓. พัฒนาการมีสวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการสงเสริมการทองเที่ยว เชิงวัฒนธรรมที่สอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาการทองเที่ยวของจังหวัดแพร

จังหวัดแพร เปนประตูสูลานนา เปนจังหวัดทางผานที่นักทองเที่ยวที่เดินทางทองเที่ยว ในภาคเหนือนักทองเที่ยวสวนใหญจะเดินทางมาทองเที่ยวในในชวงเทศกาลจึงไดผลักดันและ สงเสริมพัฒนาศักยภาพดานการทองเที่ยวของจังหวัดไดเริ่มจัดใหมีปฏิทินกิจกรรมการทองเที่ยว ของจังหวัดเพื่อใหเกิดความตอเนื่องในการพัฒนาดานการทองเที่ยวของจังหวัดโดยมีเปาหมาย คือ ใหมีจํานวนนักทองเที่ยวเขามาเที่ยวในจังหวัดแพรเพิ่มขึ้น โดยมีแผนที่จะดําเนินการจัด กิจกรรมลักษณะ events งานตางๆ การจัดทํา Road Show เพื่อการทองเที่ยว จัดใหมี trips สั้น ๆ เพื่อหาฐานลูกคาที่ใหเขามาเที่ยว วิสัยทัศนของจังหวัดแพร คือ “เมืองเฟอรนิเจอรไมสัก อนุรักษปาเศรษฐกิจ ผลิตเกษตรคุณภาพสูง ศูนยกลาง ระบบราง เสริมสรางคุณภาพชีวิตพัฒนา เศรษฐกิจใหมั่นคง สูประชาคมอาเซียน” ดังนั้นองคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงควรมีบทบาทใน การกําหนดจึงประเด็นยุทธศาสตรเพื่อสงเสริมพัฒนาศักยภาพดานการทองเที่ยว และมีกลยุทธ

การพัฒนาดังนี้

๑. การบริหารจัดการแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยการบูรณาการการทํางาน รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของตั้งแตระดับนโยบายจนถึงระดับชุมชน

๒. การพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยกําหนดขอบเขตพื้นที่แหลงทองเที่ยวที่เปนสิ่งแวดลอมทาง กายภาพ และสิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรม และเทคนิควิธีการที่เกี่ยวของกับการอนุรักษวัฒนธรรม

๓. พัฒนาการอํานวยความสะดวกในการมาเยือนของนักทองเที่ยว

๔. พัฒนาการทองเที่ยวการสงเสริมวัฒนธรรม ดําเนินการตามกลไกบริหารจัดการ โดยควบคุมแตละกลุมกิจกรรมทองเที่ยวใหเกิดความตอเนื่อง

Referensi

Dokumen terkait

วารสารบริหารการศึกษา มศว ปีที่ 15 ฉบับที่ 29 กรกฎาคม – ธันวาคม 2561 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารงานกับการบริหารงานวิชาการของ ผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดส

วารสารบริหารการศึกษา มศว ปีที่ 15 ฉบับที่ 29 กรกฎาคม – ธันวาคม 2561 ภาวะผู้น าเชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อการบริหารองค์การแห่งการเรียนรู้ของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดส