• Tidak ada hasil yang ditemukan

การศึกษาวิเคราะห์ความเชื่อเรื่องการแสดงผลของกรรม และการตกทอดกรรมสู่ทายาท

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "การศึกษาวิเคราะห์ความเชื่อเรื่องการแสดงผลของกรรม และการตกทอดกรรมสู่ทายาท"

Copied!
12
0
0

Teks penuh

(1)

การศึกษาวิเคราะหความเชื่อเรื่องการแสดงผลของกรรม และการตกทอดกรรมสูทายาท

An Analytical Study of the Belief on the Result of Kamma and Kamma Inheriting to Heiress

สมบูรณ บุญฤทธิ์ และ พีระพล สงสาป Somboon Bunyarith and Perapone Songsap

บทคัดยอ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ๑) เพื่อศึกษาความเชื่อเรื่องกรรมและการแสดงผลของ กรรมอันเกิดจากการกระทําของตน ๒) เพื่อศึกษาความเชื่อเรื่องกรรมและการแสดงผลของ กรรมอันเกิดจากการกระทําของบรรพบุรุษและตกทอดในการแสดงผลของกรรมสูทายาท และ ๓) เพื่อวิเคราะหความเชื่อเรื่องการแสดงผลของกรรมและการตกทอดในการแสดงผลของกรรม สูทายาท เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณผูที่มีความเชื่อวาไดรับ การแสดงผลของกรรมจากการกระทํากรรมของตนเอง และผูที่มีความเชื่อวาไดรับการแสดงผล ของกรรมจากการกระทําของบรรพบุรุษและแสดงผลของกรรมนั้นสูทายาท จํานวน ๑๓ รูป/คน ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดตรัง วิเคราะหความเชื่อเรื่องกรรมและการแสดงผล ของกรรม จากขอมูลที่ไดโดยใชแนวคิดเรื่องกรรมในพระพุทธศาสนา และนําเสนอขอมูลในเชิง วิเคราะหความเชื่อเรื่องกรรมในมิติทางสังคม

ผลการวิจัยพบวา

๑. กรรมเปนเรื่องที่สามารถรับรูและเขาใจไดวาเปนสิ่งที่มีอยูจริง เมื่อบุคคลไดกระทํา กรรมใดไวจะเปนกรรมดี (กุศลกรรม) หรือกรรมไมดี (อกุศลกรรม) ก็จะไดรับการแสดงผลของ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช

(2)

วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๐) กรรม ซึ่งอาจแสดงผลของกรรมตอผูกระทํากรรมและอาจตกทอดการแสดงผลของกรรมไปสู

ลูกหลานหรือทายาทของผูกระทํากรรม บุคคลที่เชื่อวาตนเองไดรับการแสดงผลของกรรมจาก การกระทําของบรรพบุรุษและไดแสดงผลของกรรมตกทอดมาที่ตนและครอบครัว ทั้งนี้ถือวา เปนความเชื่อเรื่องกรรมในเชิงปจเจกวิถีทางสังคมและการเรียนรูของบุคคลนั้น

๒. ความเชื่อเรื่องกรรม และการแสดงผลของกรรม เปนความเชื่อที่สําคัญของผูที่นับ ถือพระพุทธศาสนา ดังพุทธวัจนะที่วา “กมฺมุนา วตฺตตีโลโก : สัตวโลกยอมดําเนินไปตามกรรม”

ผูใหขอมูล ทั้งหมดมีความเชื่อวา ผูที่เกิดมาลวนไดรับกรรมและการแสดงผลของกรรมที่แตละ คนและบรรพบุรุษไดกระทําไว และสวนหนึ่งยอมรับวาเปนผลของกรรมที่สืบเนื่องมาจากบรรพ บุรุษ

กรรมที่ไดรับการแสดงผลในงานวิจัยนี้ เกิดจากวิบากกรรมอันเนื่องจากการกระทําทั้ง ของตนเองและบรรพบุรุษ มีประเภทของกรรมที่เกิดขึ้น ๖ ประเภทจากฐานกรรม ๑๒ ไดแก

ชนกกรรม, อุปตยกรรม, อาจิณณกรรม, กตัตตากรรม, ทิฎฐธรรมเวทนียกรรม และ อโหสิกรรม

คําสําคัญ:

กรรม, ทายาท, ผลของกรรม

(3)

Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 2 (July–December 2017)

Abstract

The objectives of this research were ๑) to study the beliefs of Kamma and the result of Kamma by starting from them, ๒) to study the beliefs of Kamma and the result of Kamma by starting from ancestors and Kamma Passed to the heir, and ๓) to analyze the beliefs of the result of Kamma and the result of Kamma by passing to the Heir. It was a qualitative research by collecting data from the interviews who had believed about receiving the result of Kamma by starting from them and who had believed that they received the result of Kamma by starting from ancestors and Kamma Passed to the heir about ๑๓ persons in the area of Nakornsrithammaraj and Trang. To analyze the belief of the result of Kamma and the result of Kamma from the data of the concept of Kamma in Buddhism and data presentations by using believe analysis of Kamma in the social dimension.

The result was showed that;

๑.The key informant of ๒ groups were believed the Kamma and the result of its and thought that Kamma could acknowledge and understand that this thing had been really. When anybody who had acted the Kaama both good action (Kusollamulla) and bad action (Akusollamul), they would had received the result of Kamma. These were showed the result Kamma by starting from them and may pass to the result of Kamma by starting from ancestors and Kamma Passed to the heir. There were ๕ persons who had believed that received the result of Kamma from them action, in this research and there were ๘ persons who had believed that received the result of Kamma by starting from ancestors and Kamma Passed to them and their family.

๒. The beliefs of the Kamma and the result of Kamma had believed important role to Buddhist respect. As the Load Buddha word said that

“Kammuna Vattati Loko : The world animal shall act along with Kamma. All key

(4)

วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๐) informants had believed that person who was born by receiving the Kamma and showed the result the Kamma of each other and ancestors acted its. The Kamma had received that showed in this research; it was the result of action from both themselves and ancestors. There were ๖ types of Kamma XII namely;

ana-kamma, Upatthambhaka-kamma, Ajinna-kamma, Katatta-kamma, Dittha dhamma-vedaniya-kamma, and Ahosi-kamma.

Kewords:

Kamma, Heiress, Vipakakamma

(5)

Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 2 (July–December 2017)

บทนํา

ความเชื่อเรื่องกรรมและการแสดงผลของกรรม เปนความเชื่อที่ยิ่งใหญและสําคัญอยาง ยิ่งของผูที่นับถือพระพุทธศาสนา พุทธศาสนิกชนสวนใหญมีความเชื่อวาผูที่เกิดมาลวนมีวิถีชีวิต

ที่ดําเนินไปกรรมที่แตละชีวิตไดกระทําไว ทั้งในสวนที่เปนกรรมในอดีตและกรรมในปจจุบัน ไมวาจะเปนกรรมฝายดีหรือกรรมฝายไมดี ดังที่พระพุทธองคทรงตรัสไววา“กมฺมุนา วตฺตตี โลโก

: สัตวโลกยอมดําเนินไปตามกรรม” ในทางพระพุทธศาสนาไดสอนใหชาวพุทธไดตระหนักถึง ความจริงที่วา วิถีชีวิตของสรรพสัตวลวนตกอยูภายใตเงื่อนไขของกรรม ทุกชีวิตในมุมมองของ พระพุทธศาสนานั้นถือวา กรรมหรือการกระทําของแตละคนเปนตัวกําหนดพฤติกรรมทุกอยาง ของมนุษย และมนุษยมีความอิสระเพียงพอที่สามารถเลือกกระทําอะไรก็ไดตามเจตนารมณของ ตน และเมื่อกระทําอะไรไปแลวตนเองเทานั้นที่จะตองเปนผูรับผลของการกระทําที่ไดกระทําลง ไป ผูอื่นไมสามารถรับผลของการกระทําแทนกันได

หลักคําสอนทางพระพุทธศาสนาไดจําแนกหลักความเชื่อพื้นฐาน คือ สัทธา ๔ ประการ ไว ดังนี้

๑. กัมมสัทธา คือความเชื่อเรื่องกรรมและกฎแหงกรรม เชื่อวากรรมมีอยูจริง เชื่อวา

เมื่อทํากรรมอะไร โดยมีเจตนาคือจงใจทําทั้งที่รูยอมเปนกรรม ความดีความชั่วมีขึ้นในตน เปนเหตุเปนปจจัย กอใหเกิดผลดีผลรายเปนสันตติสืบชวงกันจึงไมตาย และตองเวียนวายตาย

เกิดร่ําไป

๒. วิปากสัทธา คือ ความเชื่อเรื่องวิบากหรือผลของกรรม เชื่อวาผลของกรรมมีจริง เชื่อวากรรมที่ทําแลวตองมีผล และตองมีผลดีเกิดจากกรรมดี และผลชั่วเกิดจากกรรมชั่ว

๓. กัมมัสสกตาสัทธา คือ ความเชื่อวาสัตวทั้งหลายมีกรรมเปนของตน เปนทายาทแหง กรรม กรรมยอมจําแนกสัตวใหเลวและประณีต จะตองเสวยวิบากกรรมที่ตนสรางเอาไว

๔. ตถาคตโพธิสัตตา คือ ความเชื่อวาการตรัสรูของพระพุทธเจาวามีจริง มั่นใจในองค

พระตถาคตวาเปนผูสิ้นทุกขสิ้นกิเลสเปนพระอรหันต และยังตรัสรูปญญาดานตาง ๆ ดวยพระองคเอง แลวทรงสั่งสอนอบรมใหผูอื่นบรรลุธรรมตามพระองคได

พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท , พิมพครั้งที่ ๙, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หนา ๓๒๓.

(6)

วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๐) พระพุทธศาสนามีหลักคําสอนวาดวยเรื่องกรรม และใหความสําคัญหลักกรรมวาเปน หลักใหญ ทั้งนี้เพราะกรรมไดมีความสัมพันธกับการดําเนินชีวิตของมนุษยมีอิทธิพลตอการ ดําเนินชีวิตประจําวันของคนในสังคม ความเจริญในอาชีพการงานหรือความเสื่อมลง มีสุขมีทุกข

นั้น มีผลมาจากกรรมของตนทั้งสิ้น ในการกระทําทุกอยางยอมมีผล เรียกวา วิปากกรรมที่บุคคล ผูกระทําเปนผูรับ

การแสดงผลของกรรมนั้น ก็เปนไปตามหลักคําสอนเรื่องกรรมหรือเรียกวา กฎแหง กรรม พระพุทธองคทรงตรัสยืนยันถึงการใหผลของกรรมวา “เรามีกรรมเปนของตน เปนผูรับ ผลของกรรม มีกรรมเปนกําเนิด มีกรรมเปนเผาพันธุ มีกรรมเปนที่พึ่งอาศัย เราทํากรรมใดไว

จะเปนกรรมดี หรือกรรมชั่วก็ตาม ยอมเปนผูรับผลของกรรมนั้น” การรับผลแหงกรรมมีหลาย รูปแบบ ทั้งการแสดงผลทันทีในชาตินี้ และการแสดงผลของกรรมในชาติหนา ผลของกรรมที่ทํา

ใหมนุษยเกิดมามีรางกายแตกตางกัน เชน อายุสั้น อายุยืน มีโรคภัยไขเจ็บเบียดเบียนมาก มีโรคภัยไขเจ็บเบียดเบียนนอย มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม หรือมีรางกายพิการไม

สมประกอบ เปนตน ทั้งหมดก็เพราะกรรมหรือการกระทําของตนในอดีตชาติ สงผลหรือ แสดงผลในชาตินี้ ซึ่งพระพุทธองคทรงตรัสไวปรากฏในจูฬกัมมวิภังคสูตร ดังนี้

“สัตวทั้งหลายมีกรรมเปนของตน มีกรรมเปนทายาท มีกรรมเปนกําเนิด มีกรรมเปน เผาพันธุ มีกรรมเปนที่พึ่งอาศัย กรรมจําแนกสัตวทั้งหลายใหทรามและดี” และ

“หญิง ชาย คฤหัสถ บรรพชิต ควรพิจารณาเนือง ๆ วา เรามีกรรมเปนของตน เปนผูรับผลของกรรม มีกรรมเปนกําเนิด มีกรรมเปนเผาพันธุ มีกรรมเปนที่อาศัย เราทํากรรม

อันใดไว ดีก็ตาม ชั่วก็ตาม เราจะไดรับผลของกรรมนั้น”

สรุปไดวาในทางพระพุทธศาสนานั้น ไดใหความสําคัญเกี่ยวกับความเชื่อเรื่องกรรมและ การแสดงผลของกรรมไวอยางชัดเจนวาบุคคลใดทํากรรมเชนไรไวจะไดรับผลของกรรมเชนนั้น การแสดงผลของกรรมอยางหนึ่งคือความแตกตางของรางกายมนุษยที่เกิดมามีความแตกตางกัน ดังปรากฏในจูฬกัมมวิภังคสูตรที่ไดกลาวแลว

องฺ.ปฺจก. (ไทย) ๒๒/๕๗/๑๐๑.

ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๒๘๙-๒๙๖/๓๔๙-๓๕๕.

ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๕๘๑/๒๘๗.

(7)

Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 2 (July–December 2017)

มนุษยที่เกิดมาในโลกนี้ยอมมีความแตกตางกันทั้งดานรางกายและจิตใจ บางคนเกิดมา มีรางกายพิการ มีอวัยวะไมครบถวนสมบูรณ มีความบกพรองทางรางกายและมีโรคภัยไขเจ็บ เบียดเบียนมากนอยตามสภาพของแตละคน สภาพความแตกตางเหลานี้อาจมีมาตั้งแตกําเนิด หรือมีความบกพรองหลังกําเนิด ผูวิจัยเคยไดสอบถามเกี่ยวกับความเชื่อที่ทําใหพวกเขามีสภาพ รางกายที่แตกตางไปจากสภาพปกติ หลายคนบอกวาเปนเพราะกรรมของตนที่ไดกระทําไวทั้งใน ชาตินี้และชาติกอน มีบางคนบอกวาเปนเพราะกรรมที่ตนเองไมไดกระทําแตเปนการตกทอด กรรมที่บรรพบุรุษกระทําไว และกรรมนั้นไดมาแสดงผลของกรรมมาสูตน ยิ่งทําใหผูวิจัยเกิด ความสงสัยและตองการศึกษาวิเคราะหถึงความเชื่อเรื่องกรรม การแสดงผลของกรรมตอ ผูกระทําและการตกทอดผลกรรมสูทายาทวา การแสดงผลของกรรมนั้นมีสาเหตุและการ แสดงผลของกรรมอยางไร ผูที่ไดรับการแสดงผลของกรรมนั้นมีความเชื่ออยางไร ขัดแยงหรือ สอดคลองกับหลักความเชื่อเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาหรือไมอยางไร ผลของการวิจัยนี้

จะเปนองคความรูดานความเชื่อเรื่องกรรม มีผลตอพฤติกรรมและการปฏิบัติตนของคนในสังคม ชวยทําใหสังคมเกิดความเชื่อที่ถูกตอง และมีความมั่นใจในเรื่องกฎแหงกรรมมากขึ้น เมื่อทุกคน มีความเชื่อเรื่องกรรมและการแสดงผลของกรรมอยางถูกตองก็จะเปนพื้นฐานนําไปสูการ แกปญหาตางๆ ที่เกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติที่เกี่ยวของกับศีลธรรมและจริยธรรมของสังคม ตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย

๑. เพื่อศึกษาความเชื่อเรื่องกรรมและการแสดงผลกรรมอันเกิดจากการกระทําของตน ๒. เพื่อศึกษาความเชื่อเรื่องกรรมและการแสดงผลของกรรมอันเกิดจากการกระทําของ บรรพบุรุษและตกทอดผลของกรรมสูทายาท

๓. เพื่อวิเคราะหความเชื่อเรื่องการแสดงผลของกรรมและการตกทอดกรรมสูทายาท

(8)

วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๐)

วิธีดําเนินการวิจัย

เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณกลุมตัวอยางที่เชื่อวาตน เปนผูไดรับการแสดงผลของกรรมอันเกิดจากการกระทําของตนเอง และผูที่เชื่อวาตนเปนผูไดรับ การแสดงผลของกรรมที่เกิดจากการกระทําของบรรพบุรุษ หรือบุคคลอื่นในครอบครัวและกรรม นั้นตกทอดมาถึงตน ในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดใกลเคียง จํานวน ๑๓ ตัวอยาง โดยใชแบบสัมภาษณที่มีโครงสรางเปนเครื่องมือในการวิจัย ใชระยะเวลาในการเก็บรวบรวม ขอมูลจํานวน ๓๐ วัน ขอมูลที่ไดนํามาวิเคราะหโดยใชแนวคิดความเชื่อเรื่องกรรมทาง พระพุทธศาสนาและนําเสนอผลการวิจัยความเชื่อเรื่องกรรมและการแสดงผลของกรรมในมิติ

ทางสังคม

สรุปผลการวิจัย

๑. ผูใหขอมูลเกี่ยวกับความเชื่อเรื่องการแสดงผลของกรรมและการตกทอดกรรมสู

ทายาท เปนเพศชาย จํานวน ๙ คน เปนเพศหญิงจํานวน ๔ คน ในจํานวนนี้เปนพระภิกษุ

จํานวน ๑ รูป มีอายุระหวาง ๕๕ – ๘๖ ป ใหขอมูลเกี่ยวกับความเชื่อเรื่องการแสดงผลของ กรรมและการตกทอดกรรมสูทายาท จํานวน ๑๒ กรณี เมื่อจําแนกเปนรายกรณีพบวา เปนกรณี

ของผูที่เชื่อวาตนไดรับการแสดงผลของกรรมจากการกระทําของตนโดยแสดงผลที่ตนเอง จํานวน ๕ กรณี และเปนกรณีของผูที่เชื่อวาไดรับการแสดงผลของกรรมจากการกระทําของตน หรือของบรรพบุรุษและแสดงผลของกรรมตกทอดสูทายาท จํานวน ๗ กรณี ในจํานวนนี้เปน กรณีการแสดงผลของกรรมที่เกิดจากกรรมไมดี (อกุศลกรรม) จํานวน ๑๑ กรณี และเปนกรณี

การแสดงผลของกรรมที่เกิดจากกรรมดี (กุศลกรรม) จํานวน ๑ กรณี ผูใหขอมูลทั้งหมดยินดี

เปดเผยชื่อนามสกุลและที่อยูจริงเพื่อประโยชนในการศึกษาเรื่องนี้

๒. กรณีที่เชื่อวาเปนการการแสดงผลของกรรมที่เกิดจากการกระทําของตนเอง ไดแก

๑) กรณีพระภิกษุรูปหนึ่ง เชื่อวาตนไดรับการแสดงผลของกรรมจากการกระทํา ตอพี่ชายในสมัยที่เปนวัยรุน โดยทุบตีพี่ชายที่บริเวณตนคอ กรรมไดแสดงผลกับตนโดยมีอาการ ปวดที่ตนคอไมสามารถรักษาใหหายขาดได ตนกระทั่งตนไดบวชและขออโหสิกรรมตอพี่ชาย อาการที่แสดงผลของกรรมตอตนเองจึงสิ้นสุด

(9)

Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 2 (July–December 2017)

๒) กรณีชาวบาน ที่เชื่อวาตนไดรับการแสดงผลของกรรมจากการประกอบ อาชีพ ฆาหมู โดยการใชมีดแทงที่บริเวณคอของหมู กรรมไดแสดงผลกับตนโดยทําใหตนมี

อาการบวมและปวดที่บริเวณลําคอ เมื่อแผลบวมแตกปรากฏมีเลือดผสมน้ําหนองไหลออกมา เหมือนกับเลือดที่ไหลจากลําคอของหมูที่ตนแทง เมื่อกรรมที่แสดงกับตนไดสิ้นสุด ตนเชื่อวา เปนเพราะตนไดหยุดจากอาชีพฆาหมูและบวชอุทิศสวนกุศลใหกับหมูที่ตนเองฆา

๓) กรณีชาวบาน ที่เชื่อวาการที่ตนตกจากตนไมทําใหขอมือขางซายหักพับ มีกระดูกขอมือหักโผลออกมา และทําใหตนตองเปนผูพิการนั้น เปนเพราะตนไดรับการแสดงผล ของกรรมจากการหักเทากระจงที่จับได

๔. ผลการวิเคราะหความเชื่อเรื่องการแสดงผลของกรรมและการตกทอดกรรมสูทายาท ตามแนวคิดเรื่องกรรมตามหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา จากกรณีเรื่องราวความเชื่อเรื่อง กรรมและการแสดงผลของกรรม

อภิปรายผลการวิจัย

ความเชื่อเรื่องกรรมและการแสดงผลของกรรมจากกรณีตางๆ ดังกลาวนั้น เปนการ แสดงถึงความเชื่อเรื่องการแสดงผลของกรรมและการตกทอดการแสดงผลของกรรมสูทายาท ในมิติทางสังคมซึ่งสะทอนใหเห็นถึงความเชื่อกรรมและการแสดงผลของกรรมของคนไทย ที่ไดรับการถายทอด และปลูกฝงมาจากหลักคําสอนที่ผสมผสานกันระหวางหลักคําสอนทาง

พระพุทธศาสนากับความเชื่อทางศาสนาพราหมณตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ซึ่งสุพรรณ ณ บางชาง ไดอธิบายเกี่ยวกับเรื่องนี้สรุปความไดดังตอไปนี้

“...กรรมเปนหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ที่มีความสําคัญตอการดําเนินชีวิตของคน ไทยมาตั้งแตสมัยสุโขทัยจนถึงปจจุบัน พระมหาธรรมราชาลิไทย ทรงพระราชนิพนธ ไตรภูมิ

กถา หรือไตรภูมิพระรวง เพื่อปลูกฝงศรัทธาในพระพุทธศาสนาโดยใชอบรมและปลูกฝง จิตสํานึกของประชาชนในการทํากรรมดีละเวนกรรมชั่ว และมีความเกรงกลัวละอายตอบาป เกิดเปนเอกลักษณของไทยในเรื่องการทําบุญ ใหทาน รักษาศีล ไดปลูกฝงหลักธรรมเรื่องกรรม

สุภาพรรณ ณ บางชาง, พุทธธรรมที่เปนรากฐานสังคมไทย กอนสมัยสุโขทัยถึงกอนการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง, (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๖), หนา ๔๕,๕๐,๙๔,๑๐๖.

(10)

๑๐ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๐) อยางเปนระบบ เพื่อใหนํามาใชในชีวิตประจําวัน หลักธรรมดังกลาวไดรับการถายทอดมาสู

สังคมสมัยอยุธยา และมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตประจําวัน ใหผูที่ทํากรรมดีมีเปาหมายของ ชีวิตที่ดีในชาติตอๆ ไป มีอิทธิพลตอความรูสึกของคนไทยในเรื่องบาป บุญ นรก สวรรค....

ตอมาสังคมไทยไดรับความเชื่อจากศาสนาพราหมณ และไสยศาสตรเขามาผสมผสานกับ หลักธรรมความเชื่อเดิมในพระพุทธศาสนาเพื่อสนองความตองการของสังคม ไดมีการผสมผสาน อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริยเขาไปในหลักธรรม เกิดการยอมรับ วาเปนสิ่งที่ถูกตองตามหลัก พระพุทธศาสนา ความเชื่อเรื่องกรรม จึงมีลักษณะ “ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว” ....ในสมัยธนบุรีและ รัตนโกสินทร วรรณคดี เรื่องไตรภูมิพระรวง ไดถูกนํามาเปนแนวทางในการสอนหลักธรรมเรื่อง กรรม เพื่อใหเกิดความละอายชั่วกลัวบาป เปนการควบคุมประพฤติกรรมของประชาชนใหอยูใน ศีลธรรม “กรรม” จึงไดนํามาใชในความหมายถึง ผลของการกระทําที่เปนการกระทําที่ไมดี

และทําไวในอดีตชาติ เชน “ตามกรรมที่ทําไว” “กรรมสิ่งใดเลยชัดมาให” และ “ชะรอยกรรม เวรตามมาทัน” เปนตน...ในสมัยรัชกาลที่ ๔ และ ๕ หลักกรรมไดถูกนํามาเปนมาพื้นฐานการ ดํารงชีวิต โดยถูกนํามาสอนในลักษณะผลของกรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับความสุข และความทุกขของ บุคคลและสังคมในชาติปจจุบัน ยอมรับกรรมที่เปนกระแสการเวียนวายตายเกิดอันเปนความ เชื่อพื้นฐานของสังคมไทย หลักธรรมเรื่องกรรม ไดถูกนํามาสอนเพื่อใหเกิดสํานึกในฐานะและ หนาที่ของตนที่จะตองปฏิบัติตอสังคม และในความหมายที่บุคคลจะเจริญขึ้นหรือเสื่อมลงได

เพราะการกระทําของตน หลักธรรมเรื่องกรรม จึงไดถูกนํามาสอนใหปฏิบัติเพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนาสังคม ดังนั้น “ทําดี ไดดี” จึงหมายถึง ผลของกรรมในชาตินี้ที่ใหผลความสําเร็จดาน วัตถุ และสามารถมองเห็น สัมผัสไดจากความสําเร็จของชีวิต เชน หนาที่การงาน ความมีฐานะดี

เปนตน

พระไพศาล วิสาโล ไดอธิบายถึงความเชื่อเรื่องกรรมของสังคมไทยวา มีความแตกตาง ในบางประเด็นกับหลักพุทธศาสนาดั้งเดิม การยอมรับพุทธศาสนาของคนไทยไมไดเปนเพราะ เหตุผลในเชิงวิทยาศาสตร เพราะวิทยาศาสตรจัดการกับความไมแนนอนของชีวิตไดนอยมาก คนไทยสวนใหญจึงยังคงยึดแนวคิดตามคติผีและพุทธเปนหลักในการดํารงชีวิตและการอยู

พระไพศาล วิสาโล, พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโนมและทางออกจากวิกฤติ , (กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี – สฤษดิ์วงศ, ๒๕๔๖), ไมปรากฏหนา.

(11)

๑๑ Journal of Graduate Studies Review MCU Phrae Vol. 3 No. 2 (July–December 2017) รวมกับธรรมชาติ ความเชื่อเรื่องกรรมของคนไทยจึงมีทางออกในการประสมประสานคติพุทธ เขากับคติผีดวยการทํากรรมที่ดีละเวนความชั่ว และมีอิทธิพลโดยตรงตอพฤติกรรมการเผชิญ ปญหาและการดําเนินชีวิต แทรกตัวอยูในปรากฏการณทั้งในสภาพชีวิตปกติและในดานของพลัง อํานาจพิเศษ เปนเหตุผลที่อยูเบื้องหลังพฤติกรรมตางๆ เมื่อคนไทยเชื่อวากรรมเปนตนเหตุของ ความเปนไปตางๆ ในชีวิต จึงเชื่อตามมาวาการเปลี่ยนแปลงชีวิตคือการกระทํากรรมใหมที่ดี

คิดดี พูดดี และทําดี

ความเชื่อเรื่องกรรมจึงเปนความเชื่อที่มีคุณคาและสอดคลองกับหลักความเชื่อสําคัญ แหงพุทธศาสนา อันสงผลตอพฤติกรรมและการปฏิบัติตนของคนในสังคม ชวยทําใหสังคมเกิด ความเชื่อที่ถูกตอง และมีความมั่นใจในเรื่องกฎแหงกรรมมากขึ้น เมื่อทุกคนมีความเชื่อเรื่อง

กรรมและการแสดงผลของกรรมอยางถูกตองก็จะเปนพื้นฐานนําไปสูการแกปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติที่เกี่ยวของกับศีลธรรมและจริยธรรมของสังคม

(12)

๑๒ วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน มจร วิทยาเขตแพร ปที่ ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–ธันวาคม ๒๕๖๐)

เอกสารอางอิง

พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลศัพท . พิมพครั้งที่ ๙.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙.

พระไพศาล วิสาโล. พุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโนมและทางออกจากวิกฤติ . กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี – สฤษดิ์วงศ, ๒๕๔๖.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลัย ฉบับเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.

สุภาพรรณ ณ บางชาง. พุทธธรรมที่เปนรากฐานสังคมไทย กอนสมัยสุโขทัยถึงกอนการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๖.

Referensi

Dokumen terkait

The primary data is the result of interviews between the researcher and students, while the secondary data is from literature study is carried out by collecting various data