• Tidak ada hasil yang ditemukan

View of การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมด้านความมีวินัยผ่านนิทานการ์ตูนแอนิเมชั่น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลลพบุรี

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "View of การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมด้านความมีวินัยผ่านนิทานการ์ตูนแอนิเมชั่น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลลพบุรี"

Copied!
8
0
0

Teks penuh

(1)

 

การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยผานนิทานการตูนแอนิเมชั่น สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอนุบาลลพบุรี

STUDY OF MORAL REASONING AND DISCIPLINE THROUGH CARTOON ANIMATION STORIES FOR ELEMENTARY STUDENTS GRADE 5 AT

ANUBANLOPBURI SCHOOL

ผูวิจัย พัชรศิริ ทัศนศรี1 Phatcharasiri Thatsanasri earthanny28@gmail.com กรรมการควบคุม ผศ.ดร. ฤทธิชัย ออนมิ่ง2

ดร. ขวัญหญิง ศรีประเสริฐภาพ3 Advisor Committee Asst.Prof.Dr. Rittichai Onming

Dr. Khwanying Sriprasertpap

บทคัดยอ

การศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรม ดานความมีวินัยผานนิทานการตูนแอนิเมชั่นสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที 5 โรงเรียนอนุบาลลพบุรี

ครั้งนี้ มีความมุงหมายของการวิจัย คือ 1. เพื่อพัฒนา นิทานการตูนแอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรม ดานความมีวินัยสําหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอนุบาลลพบุรีใหมีคุณภาพตามเกณฑ 2. เพื่อ ศึกษาพัฒนาการดานเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมี

วินัย กอนใช ระหวางใช และหลังใช การใชนิทานการตูน แอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมี

วินัยสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียน อนุบาลลพบุรีกลุมประชากร คือ นักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ 5/2 โรงเรียนอนุบาลลพบุรี ภาคเรียนที่

1 ปการศึกษา 2556 จํานวน 49 คน ซึ่งไดมาโดยวิธีการ สุมอยางงาย เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคือ แบบประเมิน

เหตุเชิงจริยธรรมดานความมีวินัย แบบวัดเหตุผลเชิง จริยธรรมดานความมีวินัย และนิทานการตูนแอนิเมชั่น ใชการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ สถิติที่ใช สถิติแบบ วัดซ้ํา (Repeated Measures)

ผลการวิจัย พบวา

นิทานการตูนแอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิง จริยธรรมดานความมีวินัย สําหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอนุบาลลพบุรีมีคุณภาพระดับ ดีมากและมีพัฒนาการดานเหตุผลเชิงจริยธรรมดาน ความมีวินัย อยูในระดับปานกลาง โดยมีคาเฉลี่ย เทากับ กอนใช 2.33 ระหวางใช 2.50 และหลังใช 2.50 และ นักเรียนมีเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยหลัง ใชนิทานการตูนแอนิเมชั่นเพิ่มขึ้น อยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ ระดับ .05

คําสําคัญ : เหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัย นิทานการตูนแอนิเมชั่น

1นักศึกษาระดับมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

2ผูอํานวยการสํานักสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา

3รองผูอํานวยการฝายบริหารสํานักสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา

(2)

ABSTRACT

The Educational research is to study of moral reasoning about a discipline by cartoon animation stories for elementary students grade 5, AnubanLopburi School. The purpose of this research was develop cartoon animation stories for supporting to moral reasoning about a discipline before, during and after use. The cartoon animation stories apply for supporting to moral reasoning about a discipline in elementary students grade 5, AnubanLopburi School. The samples in the research is elementary students grade 5/2, AnubanLopburiSchool,Semester 1 academic year 2556 which is acquired by simple random sampling. Material in the research is evaluation from of moral reasoning about a discipline, Measure form of moral reasoning about a discipline and cartoon animation stories.

Analysis of quantitative data and the statistics is using a Repeated Measures

The findings of this study revealed that : The results of the research found that cartoon animation stories for supporting to moral reasoning about a discipline in elementary students grade 5, AnubanLopburi School have a quality along with criteria. And development of moral reasoning about a discipline were at a moderate level that the average is 2.33 before, 2.5 between and 2.50 after. And the student has the discipline of moral reasoning after used cartoon animation stories increased there were significant at a 0.5 level.

Keyword : Moral Reasoning And Discipline Cartoon Animation Stories

บทนํา

การที่จะแกปญหาสิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้นจะตองมี

การรวมมือรวมใจของคนทุกคนในหลายๆ ฝายจึงจะ สามารถชวยสังคมใหกลับมาอยูรวมกันอยางสงบและมี

ความสุขไดซึ่งสังคมที่พึงประสงคนั้นไดกลาวไวใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 พ.ศ.

2545–2549 ไดกําหนดวิสัยทัศนในการพัฒนาประเทศ ไทยโดยกําหนดสภาพสังคมที่พึงประสงคโดยมุงพัฒนา สู “สังคมที่เขมแข็งและมีดุลยภาพ” ใน 3 ดาน โดยเฉพาะ ดานสังคมคุณภาพมีคุณธรรมโดยเฉพาะการมีวินัยและ ไดใหความสําคัญเกี่ยวกับการพัฒนาคนใหมีคุณภาพ และรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงสอดคลองกับแนวคิดของ ทัศนียทองสวาง (2549:167–169) ที่ไดกลาวไววา การ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เนนการปองกันการเสริมสราง ความเขมแข็งของครอบครัวและชุมชนก็ไดเนนเกี่ยวกับ การมีระเบียบวินัยจากแนวคิดขางตนจะเห็นวาการ แกปญหาตางๆ นั้นจะตองใหความสําคัญเกี่ยวกับการ พัฒนาคน ซึ่งมีปจจัยที่เกี่ยวของก็คือครอบครัวและ ชุมชนจะตองรวมมือกันเพื่อสรางคนใหมีคุณภาพใหกับ สังคม

ปญหาที่สําคัญและมีการกลาวถึงกันมากก็คือ ปญหาการมีวินัยของคนในชาติเราก็จะพบวาปญหา ดานวินัยนั้นเกิดขึ้นเริ่มตั้งแตหนวยเล็กๆ ขึ้นมาตั้งแต

ครอบครัวโรงเรียนชุมชนซึ่งเมื่อรวมกันก็กลายเปน ปญหาระดับประเทศขึ้นมาการแกปญหาจึงควรเริ่ม ตั้งแตหนวยเล็กๆ คือ ตั้งแตครอบครัวและโรงเรียนสู

สังคมที่ใหญขึ้นไปเมื่อคนในชาติมีวินัยแลวก็จะทําให

คนเราอยูรวมกันอยางมีความสุข กมลแสงทองศรีกมล (2550: 52–53) ไดกลาวถึงขอมูลขององคกรเพื่อความ โปรงใสนานาชาติ (Transparency International) CPI

(3)

 

เบอรลิน เยอรมนีไดสํารวจความเห็นของนักธุรกิจ นักวิชาการนักบริหารของบริษัทใหญๆ สอบถามความ เห็นของบุคคลที่มีตอเจาหนาที่ของรัฐในประเทศตางๆ ที่แสวงหาผลประโยชนในทางมิชอบทั้งการรับสินบน หรือการใหสินบนหรือการเบียดบังผลประโยชนของรัฐ จาก 99 ประเทศเมื่อป พ.ศ. 2542 โดยใหผลการสํารวจ มีคะแนนเต็ม 10 ผลการสํารวจพบวาประเทศไทยอยูใน อันดับที่ 68 ได 3.2 คะแนนซึ่งจะเห็นไดวาประเทศที่มี

ความโปรงใสสวนใหญเปนประเทศที่พัฒนาแลวประเทศ ในเอเชียประเทศที่ไดที่ 1 และที่ 2 คือสิงคโปรและญี่ปุน ประเทศในกลุมอาเซียนที่ติด 1 ใน 10 มีเพียงสิงคโปร

ประเทศเดียวและไทยยังเปนรองประเทศเพื่อนบานทั้ง มาเลเซียและประเทศฟลิปปนสในเรื่องความโปรงใส จากการพิจารณาจะเห็นความสัมพันธของสิงคโปรและ ญี่ปุนวาเปนประเทศที่พัฒนาแลวในเอเชียและเปน ประเทศที่มีวินัยสูงกวาคนในประเทศอื่นอยางเห็นไดชัด ดังนั้นวินัยของเด็กในวันนี้ก็คือวินัยของคนในชาติใน อนาคตนั่นเอง

สาเหตุที่ทําใหนักเรียนกระทําผิดวินัยของ ชั้นเรียนมีหลายสาเหตุดวยกันไมวาจะเปนสาเหตุที่มา จากสภาพแวดลอมนั่นก็คือทางครอบครัวทางโรงเรียน เพื่อนหรือจากคุณลักษณะของตัวเด็กเองไมวาจะเปน ความฉลาดทางอารมณทัศนคติตอความมีวินัยซึ่ง กาญจนา ศรีกาฬสินธุ (2544: 10) ไดกลาวถึงสาเหตุที่

ทําใหนักเรียนกระทําผิดวินัยของชั้นเรียนไวหลาย สาเหตุดังนี้สาเหตุที่มาจากโรงเรียนเชนการสอนที่ขาด ประสิทธิภาพภาระงานที่มอบหมายหนักเกินไปกิจกรรม ตางๆ จัดไมเหมาะสมไมนาสนใจเด็กที่เรียนไมทันไมได

รับการดูแลชวยเหลือความขัดแยงระหวางครูกับนักเรียน เปนตนสาเหตุจากตัวนักเรียนเชนการไมเขาใจกฎระเบียบ ตางๆ รวมถึงการมีความสัมพันธกับเพื่อนๆ ไปในทาง เสื่อมการมีเรื่องกระทบกระเทือนจิตใจการมีความรูสึก

ขัดแยงกับครูกับเพื่อนๆ และกับทางโรงเรียนมีนิสัย การเรียนที่ไมดีมีปมดอยและสาเหตุจากทางบานและ ทางชุมชนเชนสภาพความขาดแคลนทางเศรษฐกิจและ สังคมตลอดจนขาดแคลนความรักและความสัมพันธที่ดี

ภายในครอบครัวสภาพการใชอํานาจภายในครอบครัว สภาพบานที่อยูในทําเลที่มีสิ่งยั่วยุและอาชญากรรม เปนตนกลาวโดยสรุปอาจแบงไดวามีสาเหตุมาจากทาง โรงเรียนจากตัวนักเรียนเองและจากทางบานและชุมชน ในปจจุบันมีนวัตกรรมทางดานสื่อการเรียน การสอนที่นาสนใจหลายอยาง เชน การใชการตูน แอนิเมชั่นประกอบการสอนภาพประกอบคําบรรยาย บทเรียนสําเร็จรูปการตูน เปนตน ซึ่งจะชวยใหนักเรียน เกิดความเพลิดเพลินสนุกสนานกับการเรียน และเมื่อ เด็กไดเรียนจากการตูนแอนิเมชั่นพบวาสวนใหญมี

ความสนใจและไมมีสิ่งอื่นใดที่เขามาดึงความสนใจ เพราะการตูนแอนิเมชั่นสรางความเราใจ และความ สนใจของเด็กๆ อยางเห็นไดชัด การตูนแอนิเมชั่นทําให

เกิดความกระตือรือรนไมเบื่อหนาย และทําความเขาใจ ไดงาย ดังนั้นหากใชการตูนแอนิเมชั่นเปนสื่อสําหรับ การเรียนการสอน จะชวยเพิ่มความเราใจ ดึงดูดความ สนใจ กระตุนใหผูเรียนเกิดความสนใจและตั้งใจเรียน นอกจากนี้อาจยังใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียน การสอนไดอีกดวย

จากเหตุผลดังกลาวผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะ ศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยผานนิทาน การตูนแอนิเมชั่นสําหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่

5 โรงเรียนอนุบาลลพบุรี เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนา ความมีวินัยของนักเรียนในดานความรับผิดชอบ การตรงตอเวลา และความซื่อสัตยตอไป

(4)

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อพัฒนานิทานการตูนแอนิเมชั่นเพื่อ สงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอนุบาลลพบุรี

ใหมีคุณภาพตามเกณฑ

2. เพื่อศึกษาพัฒนาการดานเหตุผลเชิง จริยธรรมดานความมีวินัย กอนใช ระหวางใชและหลัง ใชการใชนิทานการตูนแอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิง จริยธรรมดานความมีวินัยสําหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอนุบาลลพบุรี

วิธีดําเนินงานวิจัย

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากร คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา

ปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2556 จํานวน 6 หองเรียน โรงเรียนอนุบาลลพบุรี สํานักงานเขตพื้นที่

การศึกษาลพบุรี เขต 1 รวมนักเรียนทั้งหมด 266 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดแก

นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5/2 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนอนุบาลลพบุรี สํานักงานเขต พื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1 จํานวน 49 คน ซึ่งไดมาโดย วิธีการสุมอยางงาย (Simple random sampling)

2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาในครั้งนี้ประกอบดวย 1. นิทานการตูนแอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผล เชิงจริยธรรมดานความมีวินัย

2. แบบประเมินเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความ มีวินัยแบงเปน 3 ดาน

3. แบบวัดเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมี

วินัย สําหรับนักเรียนระดับใชประถมศึกษาปที่ 5 4. แบบประเมินคุณภาพของนิทานการตูน แอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดาน

3. วิธีการดําเนินการทดลอง

การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมี

วินัยจุดมุงหมายเพื่อศึกษาผลการเรียนรูทางการเรียน วิธีดําเนินการดังนี้

1. ชี้แจงใหกลุมทดลองทราบถึงวัตถุประสงค

ของการทดลอง

2. ใหนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียน อนุบาลลพบุรี ทําแบบวัดเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความ มีวินัยสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กอนเรียน นิทานการตูนแอนิเมชั่น

3. ใหนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียน อนุบาลลพบุรี 1 หองเรียน คือหองเรียนที่ 5/2 จํานวน 49 คน เรียน กับนิทานการตูนแอนิเมชั่นเพื่อสงเสริม เหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัย

4. หลังจากนักเรียนเรียนนิทานการตูน แอนิเมชั่นเสร็จในแตละเรื่องใหนักเรียนทําแบบประเมิน เหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยระหวางเรียนจบ นิทานการตูนแอนิเมชั่น

5. หลังจากเรียนกับนิทานการตูนแอนิเมชั่น เสร็จแลวใหนักเรียนทําแบบวัดเหตุผลเชิงจริยธรรมดาน ความมีวินัย สําหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ปที่ 5 หลังเรียน

6. นําผลจากการทําแบบประเมินเหตุผลเชิง จริยธรรมดานความมีวินัยของนักเรียนและแบบวัด เหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยสําหรับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียนไปวิเคราะหผลเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน

4. การเก็บรวบรวมขอมูล

ผูวิจัยไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลดังนี้

1. ผูวิจัยขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒไปยังผูอํานวยการโรงเรียน อนุบาลลพบุรี เพื่อขออนุญาต และความอนุเคราะหให

การเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยาง

(5)

 

2. ผูวิจัยนํานิทานการตูนแอนิเมชั่นเพื่อ สงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ไปทดลองใชกับกลุม ตัวอยาง

3. ผูวิจัยทําการเก็บรวบรวมขอมูลโดยผูวิจัย ไดเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเองซึ่งประกอบดวย แบบสอบถามจํานวน 2 ฉบับ ไดแก แบบประเมินเหตุผล เชิงจริยธรรมดานความมีวินัยและแบบวัดเหตุผลเชิง จริยธรรมดานความมีวินัย สําหรับนักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ 5

4. ทําการเก็บรวบรวมขอมูลระหวางเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ถึงเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2556

5. นําแบบประเมินเหตุเชิงจริยธรรมดาน ความมีวินัย และแบบวัดเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความ มีวินัย สําหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่ได

จากกลุมตัวอยางมาตรวจใหคะแนนตามเกณฑที่

กําหนดไวเพื่อทําการวิเคราะหคาทางสถิติและทดสอบ สมมุติฐาน

5. การวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยนําขอมูลที่เก็บรวบรวมไดจากกลุม ตัวอยางมาทําการวิเคราะหขอมูลดวยระเบียบวิธีการ ทางสถิติมีขั้นตอน ดังนี้

1. วิเคราะหขอมูลพื้นฐานโดยการหาคารอยละ คาเฉลี่ย และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2. ใชวิธีการทางสถิติแบบ Repeated Mea- sures

3. การหาคาอํานาจจําแนกโดยใชสูตร Item–

Total Correlation

4. การหาคาความเชื่อมั่น โดยใชสูตรสัมประสิทธิ์

แอลฟา (α- Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach)

สรุปผลการวิจัย

จากการดําเนินการวิจัยและพัฒนานิทานการตูน เพื่อสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 สรุปผลการวิจัยไดดังนี้

1. ไดนิทานการตูนเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิง จริยธรรมดานความมีวินัยสําหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 5 จํานวน 3 เรื่อง คือ

เรื่องที่ 1 ดานความซื่อสัตยเรื่อง องอาจและ วินัยกับกระเปาเงินที่หายไป

เรื่องที่ 2 ดานความรับผิดชอบเรื่อง ผลของการ ขาดความรับผิดชอบของจี๊ด

เรื่องที่ 3 ดานความตรงตอเวลาเรื่อง นาฬิกา ของนองแกว

2. ผลการหาคุณภาพของนิทานการตูนเพื่อ สงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5

2.1 ผลการประเมินคุณภาพนิทานการตูน เพื่อสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ดานเนื้อหา จากผู

เชี่ยวชาญพบวา คุณภาพของนิทานการตูนโดยรวมอยู

ในระดับดีมาก โดยมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.89 คาเบี่ยงเบน มาตรฐาน เทากับ 0.27

2.2 ผลการประเมินคุณภาพนิทานการตูน เพื่อสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ดานเทคโนโลยีการศึกษา จากผูเชี่ยวชาญพบวา คุณภาพของนิทานการตูนโดย รวมอยูในระดับดีมาก โดยมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.57 คา เบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.27

3. ผลการศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมดาน ความมีวินัยกอนใช ระหวางใช และหลังการใชนิทาน การตูนแอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดาน ความมีวินัยสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 พบวา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่เรียนโดยนิทาน

(6)

การตูนแอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดาน ความมีวินัยมีผลคะแนนโดยรวมแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงใหเห็นวานักเรียน มีพัฒนาการดานเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัย หลังใชนิทานการตูนแอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิง จริยธรรมดานความมีวินัยเพิ่มขึ้น เปนไปตามสมมติฐาน ที่ตั้งไว

อภิปรายผล

จากการพัฒนานิทานการตูนแอนิเมชั่นเพื่อ สงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอนุบาลลพบุรี

พบวานิทานการตูนแอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิง จริยธรรมดานความมีวินัยสําหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 5 มีคุณภาพตามเกณฑ โดยสามารถอภิปราย ผลไดดังนี้

1. การหาคุณภาพภาพของนิทานการตูน แอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมี

วินัยสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 พบวานิทาน การตูนแอนิเมชั่นที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น โดยผานการประเมิน จากผูชี่ยวชาญดานเนื้อหา จํานวน 3 ทาน พบวา คุณภาพ ของนิทานการตูนแอนิเมชั่นโดยรวมอยูในระดับดีมาก โดยมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.89 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.27 โดยคุณภาพของนิทานการตูนแอนิเมชั่น โดยรวมอยูในระดับดีมาก เมื่อพิจารณารายการประเมิน ในแตละดานพบวาดานเนื้อหาโดยรวมอยูในระดับดี

มาก โดยในเรื่องของเนื้อหาครอบคลุมวัตถุประสงค

การแบงยอยเนื้อหามีความเหมาะสม การจัดลําดับ ขั้นตอนการ นําเสนอเนื้อหา ความถูกตองของเนื้อหา ความชัดเจนในการอธิบายเนื้อหา ความเหมาะสมของ เนื้อหาปฏิบัติการ ความละเอียดของเนื้อหา ความ ทันสมัยของเนื้อหา และความเหมาะสมของระยะเวลา ที่ใช มีคุณภาพระดับดีดานการใชภาษาโดยรวมอยูใน

ระดับดีมาก โดยในเรื่องของภาษาที่ใชถูกตองตาม หลักเกณฑการใชภาษา ภาษาสื่อความหมายถูกตอง กับเนื้อหา ภาษาเหมาะสมกับวัยของนักเรียนสํานวน ภาษาที่ใชเขาใจงาย และการใชภาษาถูกตองสื่อ ความหมายชัดเจนดานการนําไปใชโดยรวมอยูในระดับ ดีมาก โดยในเรื่องของ การสงเสริมใหเกิดความคิดริเริ่ม สรางสรรค การสงเสริมใหเกิดความกระตือรือรน ความ นาสนใจและทําใหเกิดแรงจูงใจตอการเรียน ความสะดวก รวดเร็ว และความเหมาะสมในการนําไปใชสอนแทนครู

นิทานการตูนแอนิเมชั่นที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น โดย ผานการประเมินจากผูชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีการ ศึกษา จํานวน 3 ทาน พบวาคุณภาพของนิทานการตูน แอนิเมชั่นโดยรวมอยูในระดับดีมาก โดยมีคาเฉลี่ย เทากับ 4.57 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.27 โดย คุณภาพของนิทานการตูนแอนิเมชั่นโดยรวมอยูใน ระดับดีมาก เมื่อพิจารณารายการประเมินในแตละดาน พบวาดานภาพและเสียงมีคุณภาพโดยรวมอยูในระดับ ดีมาก โดยในเรื่องของ ภาพที่ใชสอดคลองเหมาะสมกับ เนื้อหา ภาพเคลื่อนไหวชวยใหเกิดความเขาใจเนื้อหา ความเหมาะสมของขนาดภาพที่ใช ความสวยงามของ ตัวการตูนแอนิเมชั่นและฉาก การใชสีในการออกแบบ ไดเหมาะสม ภาพชวยใหเกิดความอยากรูและสนใจ มากขึ้น ความชัดเจนของเสียงบรรยาย และความ สัมพันธระหวางภาพกับเสียงบรรยาย การกระตุนความ สนใจของเสียงประกอบ มีคุณภาพระดับดีดานตัวอักษร มีคุณภาพโดยรวมอยูในระดับดี โดยในเรื่องของ ขนาด ของตัวอักษร รูปแบบของตัวอักษร ความถูกตองของ ตัวอักษร และสีของตัวอักษร สวยงาม ชัดเจน มีคุณภาพ ระดับดีมาก การนําไปใชมีคุณภาพโดยรวมอยูในระดับ ดีมาก โดยในเรื่องของ ความเหมาะสมของเวลาในการ นําเสนอ ความนาสนใจและทําใหเกิดแรงจูงใจตอ การเรียน ความเหมาะสมของการนํานิทานการตูนไปใช

(7)

 

ในการสอน และความสะดวกรวดเร็ว มีคุณภาพระดับดี

ซึ่งในการประเมินของผูเชี่ยวชาญไดใหขอเสนอแนะ เพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงแกไข และผูวิจัยไดปรับปรุงแกไข นิทานการตูนใหดีขึ้น ดังนี้ ควรเพิ่มเสียงดนตรีเพื่อ กระตุนความนาสนใจและเพิ่มภาพในชวงการสนทนา เพื่อใหเกิดการเห็นจริง สอดคลองกับ ไพโรจน ตีรณธนากุล (2546:119) ไดกลาววา ในการตรวจสอบคุณภาพของ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ควรตรวจสอบทั้งดาน เนื้อหา และดานเทคโนโลยีการศึกษา ในการตรวจสอบ ดานเนื้อหา จะตองตรวจสอบถึงความถูกตองของการ นําเสนอเนื้อหารวมถึงแบบฝกหัดและแบบทดสอบดวย นอกจากนี้ ในการตรวจสอบดานเทคโนโลยีการศึกษา มีเกณฑในการพิจราณา คือ องคประกอบของหนาจอ พื้นหลัง ตัวอักษร ปุมตางๆ เสียง ภาพประกอบ รวมถึง การปฏิสัมพันธในบทเรียนดวย นอกจากนี้ บุปผชาติ

ทัฬหิกรณ (2544: 157) ไดกลาวถึง การประเมินคุณภาพ ตัวสื่อมัลติมีเดียโดยมีหัวขอการประเมินจะตอง พิจารณาถึง การออกแบบการสอน การออกแบบหนาจอ มีการประเมินในดานขอความ ภาพ และกราฟก เสียง และการควบคุมหนาจอ รวมถึงการประเมินการใชงาน ของบทเรียนคอมพิวเตอรดวยโดยเกณฑที่ยอมรับควรมี

คาเฉลี่ยมากกวา 4.00 ขึ้นไป ซึ่งสอดคลองกับ พิสณุ

ฟองศรี (2549: 287) ไดกลาววา ขอคําถามหรือขอสอบ ควรมีคาเฉลี่ยแตละขอมากกวาหรือเทากับ 4.00 ขึ้นไป จึงจะนําไปใชได นอกจากนี้ขอคําถามที่ใชในการ ประเมินหาคุณภาพสื่อการเรียนการสอนควรมีความ เหมาะสมและมีรายละเอียดที่ชัดเจนใหมีคุณภาพเพียง พอที่จะนําไปใชในการหาคุณภาพสื่อไดจริง

2. ผลการศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมดาน ความมีวินัยกอนใช ระหวางใช และหลังการใชนิทาน การตูนแอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดาน ความมีวินัยสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5

พบวา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่เรียนโดยนิทาน การตูนแอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดาน ความมีวินัยมีผลคะแนนโดยรวมแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงใหเห็นวานักเรียนมี

พัฒนาการดานเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัย หลังใชนิทานการตูนแอนิเมชั่นเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิง จริยธรรมดานความมีวินัยเพิ่มขึ้น เปนไปตามสมมติฐาน ที่ตั้งไวซึ่งสอดคลองกับ งานวิจัยของ ศศินันท นิลจันทร

(2547: บทคัดยอ) ไดศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเลา นิทานที่มีตอความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัยใน ชุมชนแออัดคลองเตยพบวาเด็กปฐมวัยในชุมชนแออัด คลองเตยหลังจากไดรับการจัดกิจกรรมเลานิทานมี

พฤติกรรมความมีวินัยในการเปลี่ยนแปลงของ พฤติกรรมความมีวินัยในตัวเองดานความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย การตรงตอเวลา และการควบคุมตนเอง สูงขึ้น ทั้งนี้อาจเปนเพราะนิทานการตูนเพื่อสงเสริม เหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยที่ผูวิจัยสรางขึ้น ไดรับการตรวจสอบและประเมินคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญ ดานเนื้อหาและผูเชี่ยวชาญดานสื่อเทคโนโลยีเพื่อ ตรวจสอบความถูกตองทางดานรูปแบบเนื้อหามีความ เหมาะสม ซึ่งในชุดพัฒนานิทานการตูนแอนิเมชั่นเพื่อ สงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัยนั้น ผูวิจัย ไดกําหนดกิจกรรมใหนักเรียนเกิดการอยากเรียนรู ทํา ใหนักเรียนรูสึกสนุกสนานไปกับการเรียน เมื่อนํานิทาน การตูนเพื่อสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดานความมีวินัย ไปใช จึงทําใหนักเรียนทุกคนเรียนไดตามความสนใจที่

อยากเรียนรูได อีกทั้งเปนการเปดโอกาสใหนักเรียน แสดงความคิด ฝกตัดสินใจ แสวงหาความรูดวยตนเอง ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ พัชรี วาศวิท (2537) ที่ได

กลาวถึงนิทานไววาเปนเรื่องราวที่มีผูแตงขึ้นเพื่อความ สนุกสนาน ตื่นเตน ทําใหชวนติดตาม และเต็มไปดวย จินตนาการและชีวิตชีวาใหกับเด็กไดเปนอยางดี

(8)

นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของ สมปอง นิธิ

สกุลกาญจน (2538) ที่ไดทําการวิจัยเกี่ยวกับการ พัฒนาหนังสือการตูนชุดนิทานพื้นบานภาคใตเพื่อใช

ประกอบการเรียน กลุมทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 พบวา การเรียนโดยมีหนังสือการตูน เปนสื่อการ เรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงกวาการเรียนปกติ

ขอเสนอแนะ

1. ควรศึกษารูปแบบการตูนประเภทอื่น เพื่อ พัฒนาใหนักเรียนมีการพัฒนาดานการเรียนใหมากขึ้น เนื่องจากการตูนแอนิเมชั่นเปนสื่อดิจิตอลที่เขาถึง

นักเรียนงาย จึงจะทําใหนักเรียนมีพัฒนาการเรียน การสอนที่งายขึ้นดวย

2. ควรมีการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบผล สัมฤทธิ์ของผูเรียนระหวางการเรียนดวยนิทานการตูน แอนนิเมชั่น กับการเรียนรูของผูเรียนโดยใชกับสื่อประเภท อื่น เชน เปรียบเทียบกับการเรียนผานเครือขายอินเทอร

เน็ตหรือเปรียบเทียบกับการเรียนการสอนจากครูใน หองเรียนปกติ เปนตน

3. ควรศึกษาปจจัยที่สงเสริมการใหเหตุผลเชิง จริยธรรมในดานอื่นๆ เชน การสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรม ดานความเสียสละ การสงเสริมเหตุผลเชิงจริยธรรมดาน ความสามัคคี เปนตน

บรรณานุกรม

กมล แสงทองศรีกมล. (2550). จัดจิตใหมีวินัยจัดใจใหอัจฉริยะ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ฐานบุคส.

กาญจนา ศรีกาฬสินธุ. (2544). วินัยนักเรียน. สารานุกรมศึกษาศาสตร. ฉบับที่ 22. คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ทัศนีย ทองสวาง. (2549). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพโอเอสพริ๊นสเฮาส.

บุปผชาติ ทัฬหิกรณ. (2544). ความรูเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว.

พัชรี วาศวิท. (2537, มกราคม- เมษายน). นิทานกับเด็ก.วารสารคหเศรษฐศาสตร. 37(1): 59-65.

พิสณุ ฟองศรี. (2549). การประเมินทางการศึกษาแนวคิดสูการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

ไพโรจน ตีรณธนากุล, ไพบูลย เกียรติโกมล, และเสกสรร แยมพินิจ. (2546). การออกแบบและผลิตบทเรียน คอมพิวเตอรการสอนสําหรับ e-learning. กรุงเทพฯ: ศูนยสื่อเสริม.

ศศินันท นิลจันทร.(2547). ผลของการจัดกิจกรรมเลานิทานที่มีตอความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัยใน ชุมชนแออัดคลองเตย. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ถายเอกสาร.

สมปอง นิธิสกุลกาญจน. ( 2538 ). การพัฒนาหนังสือการตูนชุดนิทานพื้นบานภาคใตเพื่อใชประกอบ การเรียนกลุมทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 3. ปริญญานิพนธ ค.ม. (ศึกษาศาสตร). กรุงเทพฯ:

บัญฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. จากฐานขอมูลปริญญานิพนธ 77 มหาวิทยาลัย.

Referensi

Dokumen terkait

Adapun gambaran sikap orang tua dalam menyikapi hal ini adalah terlihat bahwa orang tua mulai mengajarkan pada anak teknik-teknik sederhana dalam berinteraksi dimulai dengan mengajak