• Tidak ada hasil yang ditemukan

การใช้ลวดลายไทยและการใช้สีในงานประดิษฐ์

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "การใช้ลวดลายไทยและการใช้สีในงานประดิษฐ์"

Copied!
278
0
0

Teks penuh

(1)
(2)

¼ÙŒª‹ÇÂÈÒʵÃÒ¨ÒÏ¡ÁÅÇÃó ÊÕãÊ

ÀÒ¤ÇÔªÒà·¤â¹âÅÂդˡÃÃÁÈÒʵÊáÅÐÍ͡Ẻ§Ò¹»ÃдÔÉ°

ÊÒ¢ÒÇԪҤˡÃÃÁÈÒʵÊÈÖ¡ÉÒ ¤³Ðà·¤â¹âÅÂդˡÃÃÁÈÒʵÊ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà·¤â¹âÅÂÕÃÒªÁ§¤Å¡Ãا෾

การใช้ลวดลายไทย

และการใช้สีในงานประดิษฐ์

(3)

สารบัญ

หนา คํานํา

สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ ๑ บทนํา

๑.๑ คหกรรมศาสตร

๑.๒ งานประดิษฐ

๑.๓ งานประดิษฐที่เปนเอกลักษณไทย ๑.๔ ลวดลายไทยในงานประดิษฐ

๑.๕ ลวดลายในงานศิลปกรรมในประเทศไทย ๑.๖ ลายไทยที่สําคัญในปจจุบัน

๑.๗ ลักษณะของการนําลวดลายไทยไปใช

๑.๘ บทสรุป

บทที่ ๒ องคประกอบในการออกแบบลวดลาย ๒.๑ จุด

๒.๒ เสน ๒.๓ รูปราง ๒.๔ รูปทรง ๒.๕ พื้นผิว

๒.๖ ขนาดและสัดสวน ๒.๗ จังหวะ

๒.๘ บริเวณวาง ๒.๙ ระนาบ

๒.๑๐ จุดเดนของภาพ ๒.๑๑ ดุลยภาพ ๒.๑๒ ทิศทาง ๒.๑๓ ความกลมกลืน ๒.๑๔ ความขัดแยง ๒.๑๕ การเปลี่ยนแปร ๒.๑๖ เอกภาพ

ข ก ข ฅ ฆ ๑ ๑ ๖ ๑๐ ๑๙ ๒๔ ๒๙ ๔๐ ๔๓ ๔๔ ๔๔ ๔๗ ๔๙ ๕๑ ๕๓ ๕๔ ๕๖ ๕๘ ๖๑ ๖๒ ๖๔ ๖๖ ๖๗ ๗๐ ๗๒ ๗๔

(4)

สารบัญ (ตอ)

หนา ๒.๑๗ แสงและเงา

๒.๑๘ คาน้ําหนัก ๒.๑๙ มิติ

๒.๒๐ การซ้ํา

๒.๒๑ การเคลื่อนไหว ๒.๒๒ การตัดทอน

๒.๒๓ บทสรุป บทที่ ๓ เสนและวิธีการเขียนเสนในการออกแบบลวดลาย

๓.๑ ความหมาย และลักษณะของเสน

๓.๒ อุปกรณที่ใชเขียนเสน และเทคนิคการเขียนเสน ๓.๓ รูปแบบการเขียนเสน และการเขียนเสนลวดลาย ๓.๔ การเขียนลายไทย

๓.๕ บทสรุป

บทที่ ๔ ทฤษฏีสีในการออกแบบลวดลาย ๔.๑ ความหมาย และหนาที่ของสี

๔.๒ วัสดุสี

๔.๓ แมสี และวงลอสี

๔.๔ สกุลสี และวรรณะสี

๔.๕ การใชสีในแตละรูปแบบ ๔.๖ สีในชีวิตประจําวัน ๔.๗ การผสมสี

๔.๘ บทสรุป

บทที่ ๕ หลักเกณฑการออกแบบ

๕.๑ ความหมาย และปจจัยที่มีผลตอการออกแบบ ๕.๒ แนวทางการออกแบบ

๕.๓ การสรางลายตนแบบ ๕.๔ การจัดวางลาย

๕.๕ วิธีการออกแบบลวดลาย ๕.๖ บทสรุป

ฃ ๗๕ ๗๘ ๗๙ ๘๒ ๘๓ ๘๕ ๘๗ ๘๘ ๘๘ ๙๑ ๙๗ ๑๐๐ ๑๐๙ ๑๑๑ ๑๑๑ ๑๑๗ ๑๒๖ ๑๒๙ ๑๓๒ ๑๔๖ ๑๔๘ ๑๕๐ ๑๕๑ ๑๕๑ ๑๕๕ ๑๕๙ ๑๗๐ ๑๗๓ ๑๙๐

(5)

สารบัญ (ตอ)

หนา บทที่ ๖ การออกแบบลวดลายภาชนะ

๖.๑ การใชสี และการใชโครงสีกับภาชนะ ๖.๒ การออกแบบลวดลายภาชนะ

๖.๓ ขั้นตอนการสรางงานออกแบบลวดลายภาชนะ ๖.๔ การออกแบบภาชนะ และการตกแตงภาชนะดินเผา ๖.๕ บทสรุป

บทที่ ๗ การใชลวดลายไทย และการใชสีในงานประดิษฐ

๗.๑ กระบวนการออกแบบงานประดิษฐ

๗.๒ ผลการออกแบบงานประดิษฐ

๗.๓ บทสรุป บรรณานุกรม ดัชนี

ค ๑๙๑ ๑๙๑ ๑๙๘ ๒๐๕ ๒๐๗ ๒๑๘ ๒๑๙ ๒๑๙ ๒๒๖ ๒๔๐ ๒๔๑ ๒๔๘

(6)

สารบัญตาราง

หนา ตารางที่ ๑.๑ รูปราง ระนาบที่ใช ลักษณะเสน และการใชในงานประดิษฐ ของแตละลาย

ตารางที่ ๗.๑ กระบวนการออกแบบงานประดิษฐพานพุม ตารางที่ ๗.๒ กระบวนการออกแบบงานประดิษฐมาลัย

ตารางที่ ๗.๓ กระบวนการออกแบบงานประดิษฐเครื่องแขวน ตารางที่ ๗.๔ กระบวนการออกแบบงานประดิษฐใบตอง

ตารางที่ ๗.๕ กระบวนการออกแบบงานประดิษฐงานแกะสลักผักและผลไม

ตารางที่ ๗.๖ กระบวนการออกแบบงานประดิษฐเครื่องปนดินเผา ตารางที่ ๗.๗ กระบวนการออกแบบงานประดิษฐกลองไม

ตารางที่ ๗.๘ กระบวนการออกแบบงานประดิษฐลวดลายบนผา

ฅ ๔๑-๔๒ ๒๑๙-๒๒๐ ๒๒๐-๒๒๑ ๒๒๑-๒๒๒ ๒๒๒ ๒๒๓ ๒๒๓-๒๒๔ ๒๒๔-๒๒๕ ๒๒๕-๒๒๖

(7)

สารบัญภาพ

หนา ภาพที่ ๑.๑ งานพานดอกไม

ภาพที่ ๑.๒ งานมาลัยลูกโซกุหลาบสามหวง ภาพที่ ๑.๓ งานเครื่องแขวนขนาดใหญ

ภาพที่ ๑.๔ งานใบตองรูปพานมีฝา ภาพที่ ๑.๕ งานแกะสลักผักตางๆ

ภาพที่ ๑.๖ เทียนพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี ประเภทแกะสลัก ภาพที่ ๑.๗ งานแกะสลักไมเนื้อออน

ภาพที่ ๑.๘ งานจักสานกระดงและกระจาดจากไมไผและหวาย

ภาพที่ ๑.๙ งานเครื่องปนดินเผาที่ตกแตงดวยวิธีการขีดหรือสลักใหเกิดลาย ภาพที่ ๑.๑๐ ลวดลายแบบแถบ เสนแนวนอน-ตรง

ภาพที่ ๑.๑๑ ลวดลายแบบพื้นที่วงกลม

ภาพที่ ๑.๑๒ ลวดลายตามลักษณะรูปแบบแนวความคิดจากสิ่งของเครื่องใช

ภาพที่ ๑.๑๓ ลวดลายแบบงานที่นําไปใชทอ-จักสาน ลายสอง ภาพที่ ๑.๑๔ หมอบานเชียงเขียนดวยดินแดงเปนลายเสนโคง ภาพที่ ๑.๑๕ ลายปูนปนศิลปะหริภุญไชย

ภาพที่ ๑.๑๖ ดอกบัวหลวง ดอกบัวสัตตบงกช และดอกบัวสัตตบุษย

ภาพที่ ๑.๑๗ ลายบัวคว่ํา บัวหงาย ภาพที่ ๑.๑๘ ลายชอหางโต ภาพที่ ๑.๑๙ ลายชอหางโตใบเทศ ภาพที่ ๑.๒๐ ลายกนกสามตัว

ภาพที่ ๑.๒๑ ลายกนกสามตัวหางไหล ภาพที่ ๑.๒๒ ลายกระจังตาออย ภาพที่ ๑.๒๓ ลายกระจังเจิม

ภาพที่ ๑.๒๔ ลายกระจังปฏิญาณหรือกระจังหู (ซายมือ) และลายกระจังรวน (ขวามือ) ภาพที่ ๑.๒๕ ลายดอกลอยเดี่ยวๆ

ภาพที่ ๑.๒๖ ลายดอกลอยกานแยง ภาพที่ ๑.๒๗ ลายพุมขาวบิณฑ

ภาพที่ ๑.๒๘ ลายพุมขาวบิณฑใบเทศ ภาพที่ ๑.๒๙ ลายรักรอย

ภาพที่ ๑.๓๐ ลายรักรอยใบเทศ

ฆ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๕ ๑๖ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๑ ๒๒ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๖ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๑ ๓๒ ๓๒ ๓๓ ๓๓ ๓๔ ๓๔ ๓๕ ๓๕ ๓๖ ๓๖ ๓๖

(8)

สารบัญภาพ (ตอ)

หนา ภาพที่ ๑.๓๑ ลายกานขดลักษณะลายกนหอยตอเนื่องกันไป

ภาพที่ ๑.๓๒ ลายกานขดลักษณะลายกนหอยตอเนื่องกันไป ตอดวยยอดกนก ภาพที่ ๑.๓๓ ลายเครือเถาที่มีลักษณะพันเกี่ยวของเถาวัลย

ภาพที่ ๑.๓๔ ลายเครือเถาใบเทศ ภาพที่ ๑.๓๕ ลายกรวยเชิง ภาพที่ ๑.๓๖ ลายประจํายาม

ภาพที่ ๑.๓๗ ลายประจํายามสี่กลีบใบซอน ภาพที่ ๑.๓๘ ลายประจํายามกามปู

ภาพที่ ๑.๓๙ ลายลูกฟกประจํายาม ภาพที่ ๑.๔๐ ลายราชวัติดอกสี่กลีบ

ภาพที่ ๒.๑ การนําจุดมาเรียงกันในแนวนอน แนวเฉียง และเสนหยัก ภาพที่ ๒.๒ การนําจุดมาเรียงเปนวงรีมาเรียงตอกันใหมีชวงจังหวะซ้ํา ภาพที่ ๒.๓ การนําจุดมาทําใหสมดุลกันเหมือนกันทั้งสองขาง

ภาพที่ ๒.๔ การนําจุดมาทําใหสมดุลกันแตไมเหมือนกันทั้งสองขาง ภาพที่ ๒.๕ การนําจุดมาใชในขนาดแตกตางกัน

ภาพที่ ๒.๖ การใชจุดมาทําใหเกิดภาพ

ภาพที่ ๒.๗ การใชเสนลักษณะตางๆ มาทําใหเกิดภาพ ภาพที่ ๒.๘ รูปรางเรขาคณิต

ภาพที่ ๒.๙ รูปรางอิสระ ภาพที่ ๒.๑๐ รูปรางธรรมชาติ

ภาพที่ ๒.๑๑ รูปรางสิ่งของเครื่องใช

ภาพที่ ๒.๑๒ รูปทรงเรขาคณิตของรูปทรงสี่เหลี่ยม รูปทรงปรามิด และรูปทรงสามเหลี่ยม ภาพที่ ๒.๑๓ รูปทรงอิสระของรูปทรงหยดน้ํา และกอนเมฆ

ภาพที่ ๒.๑๔ รูปทรงธรรมชาติของรูปทรงทอนไม

ภาพที่ ๒.๑๕ รูปทรงสิ่งของเครื่องใชของถวม ชาม และแกวน้ํา ภาพที่ ๒.๑๖ พื้นผิวกระเบื้องตามจินตนาการ

ภาพที่ ๒.๑๗ พื้นผิวหยาบสะบัดปูน

ภาพที่ ๒.๑๘ ภาพที่ใชหลักการกฏ ๓ สวน คือ ทองฟา พื้นดิน และพื้นน้ํา ภาพที่ ๒.๑๙ ภาพที่ใชหลักการกฏของจุดตัด ๙ ชอง

ภาพที่ ๒.๒๐ จังหวะแบบเหมือนกันหรือซ้ํากันที่มีลักษณะเทากัน และไมเทากัน

ง ๓๗ ๓๗ ๓๗ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๓๙ ๓๙ ๔๐ ๔๐ ๔๕ ๔๕ ๔๕ ๔๖ ๔๖ ๔๖ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๒ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗

(9)

สารบัญภาพ (ตอ)

หนา ภาพที่ ๒.๒๑ จังหวะแบบไหลลื่นของเสนโคง

ภาพที่ ๒.๒๒ จังหวะแบบลดหลั่นของวงกลมจากเล็กไปใหญ และสวางมากขึ้นๆ ภาพที่ ๒.๒๓ บริเวณวางที่เปน ๓ มิติ

ภาพที่ ๒.๒๔ บริเวณวางลวงตา

ภาพที่ ๒.๒๕ บริเวณวางบวก และบริเวณวางลบ ภาพที่ ๒.๒๖ บริเวณวาง ๒ นัย

ภาพที่ ๒.๒๗ รูประนาบวงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และหกเหลี่ยม

ภาพที่ ๒.๒๘ การวางระนาบซอนกันใหมีความลึก และการวางระนาบใหเชื่อมตอกัน ภาพที่ ๒.๒๙ จุดเดนของภาพเกิดจากการใชองคประกอบที่ตัดกัน

ภาพที่ ๒.๓๐ จุดเดนของภาพเกิดจากการอยูโดดเดี่ยว ภาพที่ ๒.๓๑ จุดเดนของภาพเกิดจากการจัดวางตําแหนง ภาพที่ ๒.๓๒ ดุลยภาพแบบสมมาตร

ภาพที่ ๒.๓๓ ดุลยภาพแบบอสมมาตร ภาพที่ ๒.๓๔ ดุลยภาพแบบรัศมี

ภาพที่ ๒.๓๕ ทิศทางในแนวราบ และแนวตั้งฉาก ภาพที่ ๒.๓๖ทิศทางในแนวเฉียง

ภาพที่ ๒.๓๗ ทิศทางในแนวโคง ภาพที่ ๒.๓๘ ความกลมกลืนดวยเสน ภาพที่ ๒.๓๙ ความกลมกลืนดวยขนาด ภาพที่ ๒.๔๐ ความกลมกลืนดวยลักษณะผิว ภาพที่ ๒.๔๑ ความกลมกลืนดวยสิ่งที่เหมือนกัน ภาพที่ ๒.๔๒ ความกลมกลืนดวยสิ่งที่คลายกัน ภาพที่ ๒.๔๓ ความกลมกลืนดวยสี

ภาพที่ ๒.๔๔ ความกลมกลืนดวยเทคนิคการเกลี่ย ภาพที่ ๒.๔๕ ความขัดแยงของรูปทรง

ภาพที่ ๒.๔๖ ความขัดแยงของขนาด ภาพที่ ๒.๔๗ ความขัดแยงของทิศทาง ภาพที่ ๒.๔๘ ความขัดแยงของจังหวะ ภาพที่ ๒.๔๙ การเปลี่ยนแปรรูปราง ภาพที่ ๒.๕๐ การเปลี่ยนแปรรูปทรง

จ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๕๙ ๖๐ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๕ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๗ ๖๘ ๖๘ ๖๘ ๖๙ ๖๙ ๖๙ ๗๐ ๗๑ ๗๑ ๗๑ ๗๑ ๗๓ ๗๓

(10)

สารบัญภาพ (ตอ)

หนา ภาพที่ ๒.๕๑ การเปลี่ยนแปรขนาด

ภาพที่ ๒.๕๒ การเปลี่ยนแปรสี

ภาพที่ ๒.๕๓ เอกภาพที่อยูกับที่

ภาพที่ ๒.๕๔ เอกภาพที่เคลื่อนไหว ภาพที่ ๒.๕๕ ความสวางของแสงและเงา ภาพที่ ๒.๕๖ การตกกระทบของแสงและเงา

ภาพที่ ๒.๕๗ การใชคาน้ําหนักใชบอกระยะใกล-ไกล ภาพที่ ๒.๕๘ การใชคาน้ําหนักใชบอกมืด-สวาง ภาพที่ ๒.๕๙ การใชคาน้ําหนักใชบอกลึก-ตื้น ภาพที่ ๒.๖๐ การใชรูปทรงธรรมชาติที่มี ๓ มิติ

ภาพที่ ๒.๖๑ การใชลักษณะของทัศนธาตุใหเกิดมิติ

ภาพที่ ๒.๖๒ การใชการซ้ําดวยการเรียงลําดับ ภาพที่ ๒.๖๓ การใชการซ้ําดวยการสลับซายขวา ภาพที่ ๒.๖๔ การใชการซ้ําดวยการหมุนรอบจุด

ภาพที่ ๒.๖๕ การใชการซ้ําดวยการเรียงลําดับสลับจังหวะ ภาพที่ ๒.๖๖ แสดงภาพที่เคลื่อนไหวเกี่ยวกับสายตา ภาพที่ ๒.๖๗ การเคลื่อนไหวที่ไมมีแรงตาน

ภาพที่ ๒.๖๘ การตัดทอนดวยการลดรายละเอียด

ภาพที่ ๓.๑ ภาพที่ไดจากการเขียนเสนแบบเกลี่ยกลมกลืน ภาพที่ ๓.๒ ภาพที่ไดจากการเขียนเสนแบบอัตโนมัติ

ภาพที่ ๓.๓ ภาพที่ไดจากการเขียนเสนแบบขนนก ภาพที่ ๓.๔ ภาพที่ไดจากการเขียนเสนแบบแรเสนเงา ภาพที่ ๓.๕ ภาพที่ไดจากการเขียนเสนแบบลบออก ภาพที่ ๓.๖ ภาพที่ไดจากการเขียนเสนแบบแตมและจุด ภาพที่ ๓.๗ ภาพที่ไดจากการเขียนเสนแบบสรางรองรอย ภาพที่ ๓.๘ การใชวงกลมวาดลายดอกลอย

ภาพที่ ๓.๙ การวาดลายกนกคราวๆ

ภาพที่ ๓.๑๐ การเขียนลายกนกที่ละเอียดมากขึ้น ภาพที่ ๓.๑๑ การเขียนลายกนกสามตัวคราวๆ ภาพที่ ๓.๑๒ การเขียนยอดกนกใหพลิ้วไหว

ฉ ๗๓ ๗๓ ๗๕ ๗๕ ๗๗ ๗๗ ๗๘ ๗๙ ๗๙ ๘๐ ๘๑ ๘๒ ๘๓ ๘๓ ๘๓ ๘๔ ๘๕ ๘๖ ๙๓ ๙๓ ๙๔ ๙๔ ๙๕ ๙๕ ๙๖ ๑๐๐ ๑๐๑ ๑๐๒ ๑๐๓ ๑๐๓

(11)

สารบัญภาพ (ตอ)

หนา ภาพที่ ๓.๑๓ ลายกระจังตาออย

ภาพที่ ๓.๑๔ ลายกระจังใบเทศ ภาพที่ ๓.๑๕ ลายพุมขาวบิณฑ

ภาพที่ ๓.๑๖ ลายชอหางโต ภาพที่ ๓.๑๗ ลายกระจังรวน ภาพที่ ๓.๑๘ ลายประจํายาม ภาพที่ ๓.๑๙ ลายกระจังปฏิญาณ ภาพที่ ๓.๒๐ ลายกนกสามตัว ภาพที่ ๓.๒๑ ลายกนกใบเทศ ภาพที่ ๔.๑ สีน้ํา

ภาพที่ ๔.๒ สีโปสเตอร

ภาพที่ ๔.๓ สีหมึก ภาพที่ ๔.๔ สีเมจิก ภาพที่ ๔.๕ ดินสอสี

ภาพที่ ๔.๖ สีตลับ ภาพที่ ๔.๗ สีสเปรย

ภาพที่ ๔.๘ สีอะครีลิค ภาพที่ ๔.๙ สีน้ํามัน ภาพที่ ๔.๑๐ สีเทียน ภาพที่ ๔.๑๑ สีชอลค ภาพที่ ๔.๑๒ สีฝุน ภาพที่ ๔.๑๓ วงลอสี

ภาพที่ ๔.๑๔ คาน้ําหนักออน-เขม ของสีแดง สีเขียว และสีน้ําเงิน ภาพที่ ๔.๑๕ ภาพจากการใชสีเอกรงค

ภาพที่ ๔.๑๖ ภาพจากการใชสีกลมกลืน ภาพที่ ๔.๑๗ ภาพจากการใชสีใกลเคียง ภาพที่ ๔.๑๘ ภาพจากการใชสีคูหรือสีตรงขาม ภาพที่ ๔.๑๙ ภาพจากการใชสีเลื่อมพราย ภาพที่ ๔.๒๐ ภาพจากการใชสีขัด

ภาพที่ ๔.๒๑ ภาพจากการใชระยะสี

ช ๑๐๔ ๑๐๕ ๑๐๕ ๑๐๖ ๑๐๗ ๑๐๗ ๑๐๘ ๑๐๙ ๑๐๙ ๑๑๗ ๑๑๘ ๑๑๙ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๑ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๓ ๑๒๔ ๑๒๕ ๑๒๕ ๑๒๘ ๑๓๓ ๑๓๕ ๑๓๖ ๑๓๘ ๑๓๙ ๑๔๑ ๑๔๒ ๑๔๔

(12)

สารบัญภาพ (ตอ)

หนา ภาพที่ ๔.๒๒ ภาพจากการใชโครงสีวรรณะเย็น

ภาพที่ ๕.๑ ภาชนะที่ออกแบบเพื่อประโยชนใชสอย และเพื่อความสวยงาม ภาพที่ ๕.๒ ภาชนะที่มีขอบดานนอกเปนดอกไม

ภาพที่ ๕.๓ เอกภาพที่เกิดจากการจัดระเบียบองคประกอบในลักษณะขัดแยง ภาพที่ ๕.๔ ดุลยภาพของลายที่เกิดจากการจัดระเบียบองคประกอบที่เหมือนกัน ภาพที่ ๕.๕ เครื่องประกอบลาย

ภาพที่ ๕.๖ การยอและขยายลายเกลียวใบเทศ ภาพที่ ๕.๗ การผูกลายกานตอพุมขาวบิณฑ

ภาพที่ ๕.๘ เดินเสนรางเถาลายกานขด

ภาพที่ ๕.๙ รางโครงสรางของเครื่องประกอบลายบนเถาลาย ภาพที่ ๕.๑๐ ลายเฉพาะแบบสมมาตร

ภาพที่ ๕.๑๑ การผูกลายตอเนื่องแบบเรียงติดตอกันเปนวงกลม ภาพที่ ๕.๑๒ การผูกลายตอเนื่องแบบสับหวาง

ภาพที่ ๕.๑๓ การผูกลายตนแบบโดยใชลายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน ภาพที่ ๕.๑๔ การผูกลายตนแบบโดยกําหนดทิศทางดวยเสนตรง ภาพที่ ๕.๑๕ จุดเดนคือวงกลมตรงกลาง จุดรองคือเสนตรง ภาพที่ ๕.๑๖ จุดซ้ําที่ทับซอนกันของเสนโคง

ภาพที่ ๕.๑๗ การจัดภาพแนวนอน ภาพที่ ๕.๑๘ การจัดภาพแนวตั้ง ภาพที่ ๕.๑๙ การจัดภาพลักษณะซ้ํา

ภาพที่ ๕.๒๐ การจัดภาพลักษณะกระจายเปนรัศมี

ภาพที่ ๕.๒๑ การจัดภาพลักษณะวงกลม

ภาพที่ ๕.๒๒ การจัดภาพลักษณะโคงเปนกนหอย ภาพที่ ๕.๒๓ การเรียงลําดับ

ภาพที่ ๕.๒๔ การสลับซายขวา ภาพที่ ๕.๒๕ การหมุนรอบจุด

ภาพที่ ๕.๒๖ การวางสลับซายขวา และหมุนรอบจุด ภาพที่ ๕.๒๗ การสลับซายขวา และเรียงลําดับ ภาพที่ ๕.๒๘ การเรียงลําดับสลับจังหวะ ภาพที่ ๕.๒๙ การผูกลายแบบแนวนอน

ซ ๑๔๕ ๑๕๔ ๑๕๗ ๑๖๒ ๑๖๓ ๑๖๔ ๑๖๕ ๑๖๖ ๑๖๖ ๑๖๗ ๑๖๗ ๑๖๘ ๑๖๘ ๑๖๙ ๑๖๙ ๑๗๐ ๑๗๑ ๑๗๑ ๑๗๒ ๑๗๒ ๑๗๒ ๑๗๓ ๑๗๓ ๑๗๔ ๑๗๔ ๑๗๔ ๑๗๔ ๑๗๕ ๑๗๕ ๑๗๕

(13)

สารบัญภาพ (ตอ)

หนา ภาพที่ ๕.๓๐ การผูกลายแบบแนวตั้ง

ภาพที่ ๕.๓๑ การผูกลายแบบแนวเฉียง ภาพที่ ๕.๓๒ การผูกลายแบบขั้นบันได ภาพที่ ๕.๓๓ การผูกลายแบบตารางหมากรุก ภาพที่ ๕.๓๔ การผูกลายลักษณะสามเหลี่ยม ภาพที่ ๕.๓๕ การผูกลายลักษณะหกเหลี่ยม ภาพที่ ๕.๓๖ การผูกลายลักษณะวงกลม ภาพที่ ๕.๓๗ การผูกลายลักษณะตาขาย ภาพที่ ๕.๓๘ การผูกลายลักษณะการเรียงอิฐ ภาพที่ ๕.๓๙ การผูกลายลักษณะรูปพัด ภาพที่ ๕.๔๐ การใชจุดมาเรียงซ้ํากัน ภาพที่ ๕.๔๑ การใชจุดใหจังหวะซ้ํากัน ภาพที่ ๕.๔๒ การใชจุดใหสมดุลกันทั้งสองขาง

ภาพที่ ๕.๔๓ การใชจุดใหสมดุลกันไมเหมือนกันทั้งสองขาง ภาพที่ ๕.๔๔ การใชจุดที่มีขนาดตางกัน

ภาพที่ ๕.๔๕ การใชเสนตรงแนวดิ่ง ภาพที่ ๕.๔๖ การใชเสนตรงแนวนอน ภาพที่ ๕.๔๗ การใชเสนทแยง ภาพที่ ๕.๔๘ การใชเสนตรงตัดกัน ภาพที่ ๕.๔๙ การใชเสนโคง ภาพที่ ๕.๕๐ การใชเสนขดเกลียว ภาพที่ ๕.๕๑ การใชเสนหยัก ภาพที่ ๕.๕๒ รูปรางพื้นที่ธรรมชาติ

ภาพที่ ๕.๕๓ รูปรางพื้นที่เรขาคณิต ภาพที่ ๕.๕๔ รูปรางพื้นที่สิ่งของเครื่องใช

ภาพที่ ๕.๕๕ รูปรางพื้นที่อิสระ

ภาพที่ ๕.๕๖ ลายที่ออกแบบดวยลักษณะการใชความสวาง เงา และความมืด ภาพที่ ๕.๕๗ ลายที่ออกแบบดวยลักษณะการใชแสงแสดงจุดเดน

ภาพที่ ๕.๕๘ ลายที่ออกแบบดวยลักษณะการใชแสงและเสนเงาแสดงใกล-ไกล ภาพที่ ๕.๕๙ ลายที่ออกแบบดวยลักษณะการใชแสงกระจายออกไป

ฌ ๑๗๖ ๑๗๖ ๑๗๖ ๑๗๖ ๑๗๗ ๑๗๗ ๑๗๗ ๑๗๗ ๑๗๘ ๑๗๘ ๑๗๘ ๑๗๘ ๑๗๙ ๑๗๙ ๑๗๙ ๑๗๙ ๑๘๐ ๑๘๐ ๑๘๐ ๑๘๐ ๑๘๑ ๑๘๑ ๑๘๑ ๑๘๑ ๑๘๒ ๑๘๒ ๑๘๒ ๑๘๓ ๑๘๓ ๑๘๓

(14)

สารบัญภาพ (ตอ)

หนา ภาพที่ ๕.๖๐ ลายที่ออกแบบดวยลักษณะการใชแสงนําสายตา

ภาพที่ ๕.๖๑ จังหวะซ้ําเทากันของรูปราง ภาพที่ ๕.๖๒ จังหวะซ้ําไมเทากันของขนาด

ภาพที่ ๕.๖๓ จังหวะซ้ําสลับกัน และระยะหางเทากันของรูปราง ภาพที่ ๕.๖๔ จังหวะซ้ําใหเกิดการเนนดวยคาน้ําหนัก

ภาพที่ ๕.๖๕ จังหวะซ้ําใหเกิดความแตกตาง ภาพที่ ๕.๖๖ จังหวะแบบทับซอนของวงกลม

ภาพที่ ๕.๖๗ จังหวะแบบลื่นไหลไปในทิศทางเดียวกันของลูกศรโคง ภาพที่ ๕.๖๘ จังหวะแบบเปลี่ยนทิศทางของรูปหัวใจ

ภาพที่ ๕.๖๙ การออกแบบดวยสีวรรณะเย็นจากสีเขียวเหลือง สีเขียว สีเขียวน้ําเงิน และสีน้ําเงิน

ภาพที่ ๕.๗๐ การออกแบบดวยสีวรรณะรอนจากสีแดง สีสมแดง และสีสมเหลือง

ภาพที่ ๕.๗๑ การออกแบบดวยสีวรรณะรอนจากสีสมแดง และสีสม และสีวรรณะเย็นคือสีเขียว ภาพที่ ๕.๗๒ การออกแบบดวยสีกลมกลืนจากสีเหลือง สีเขียว และสีน้ําเงิน

ภาพที่ ๕.๗๓ การออกแบบดวยสีเอกรงคโดยใชสีเขียวเปนหลัก ภาพที่ ๕.๗๔ การออกแบบดวยสีตรงขามระหวางสีสมกับสีมวงน้ําเงิน

ภาพที่ ๕.๗๕ การออกแบบดวยสีเลื่อมพรายของสีเหลือง-สีแดง และแซมดวยสีน้ําเงิน ภาพที่ ๕.๗๖ การออกแบบดวยสีขัดของสีเขียวและสีแดง

ภาพที่ ๖.๑ คาน้ําหนักของสีขาวถึงสีดํา และคาออน-เขมของสีวรรณะรอนและสีวรรณะเย็น ภาพที่ ๖.๒ โครงสีวรรณะรอน

ภาพที่ ๖.๓ โครงสีวรรณะเย็น ภาพที่ ๖.๔ โครงสีเอกรงค

ภาพที่ ๖.๕ โครงสีสามเสา ภาพที่ ๖.๖ โครงสีใกลเคียง

ภาพที่ ๖.๗ การออกแบบลวดลายจากการสื่ออารมณ

ภาพที่ ๖.๘ การออกแบบลวดลายของภาชนะเดิม ภาพที่ ๖.๙ ลวดลายภาชนะจากสิ่งที่มีอยูจริง ภาพที่ ๖.๑๐ ลวดลายภาชนะจากการใชเสน ภาพที่ ๖.๑๑ ลวดลายภาชนะจากรูปเรขาคณิต ภาพที่ ๖.๑๒ ลวดลายภาชนะจากภาชนะเดิม

ญ ๑๘๔ ๑๘๔ ๑๘๔ ๑๘๔ ๑๘๕ ๑๘๕ ๑๘๕ ๑๘๕ ๑๘๖ ๑๘๖ ๑๘๗ ๑๘๗ ๑๘๗ ๑๘๘ ๑๘๘ ๑๘๙ ๑๘๙ ๑๙๔ ๑๙๕ ๑๙๖ ๑๙๖ ๑๙๗ ๑๙๗ ๒๐๐ ๒๐๑ ๒๐๒ ๒๐๒ ๒๐๓ ๒๐๓

(15)

สารบัญภาพ (ตอ)

หนา ภาพที่ ๖.๑๓ ลวดลายภาชนะจากลายไทย

ภาพที่ ๖.๑๔ ภาชนะถวยชามที่มีลวดลายที่พื้นผิวขอบดานนอก ภาพที่ ๖.๑๕ ภาชนะดินเผาบานเชียง

ภาพที่ ๖.๑๖ ภาชนะดินเผาแบบคลายธรรมชาติ

ภาพที่ ๖.๑๗ ภาชนะดินเผาแบบเปนนามธรรม ภาพที่ ๖.๑๘ ภาชนะดินเผาแบบรูปทรงอิสระ ภาพที่ ๖.๑๙ ภาชนะดินเผาแบบรูปทรงเรขาคณิต

ภาพที่ ๖.๒๐ ภาชนะดินเผาแบบคลายสิ่งประดิษฐของมนุษย

ภาพที่ ๖.๒๑ ภาชนะดินเผาที่มีชองวาง

ภาพที่ ๖.๒๒ ภาชนะดินเผาที่ที่มีการซ้ําของเสน ภาพที่ ๖.๒๓ ภาชนะดินเผาที่ใชงานไดจริงและคงทน

ภาพที่ ๖.๒๔ ภาชนะดินเผาที่ตกแตงลวดลายดวยวิธีขีดหรือวิธีขูด ภาพที่ ๖.๒๕ ภาชนะดินเผาที่ตกแตงลวดลายดวยวิธีแกะ

ภาพที่ ๖.๒๖ ภาชนะดินเผาที่ตกแตงลวดลายดวยวิธีปนนูนหรือปนแปะ ภาพที่ ๖.๒๗ ภาชนะดินเผาที่ตกแตงลวดลายดวยวิธีการเขียนสีใตเคลือบ ภาพที่ ๖.๒๘ ภาชนะดินเผาที่ตกแตงลวดลายดวยวิธีการเขียนสีบนเคลือบ ภาพที่ ๖.๒๙ ภาชนะดินเผาที่ตกแตงลวดลายดวยวิธีการพนสี

ภาพที่ ๖.๓๐ ภาชนะดินเผาที่ตกแตงลวดลายดวยวิธีการพิมพ

ภาพที่ ๗.๑ การออกแบบพานพุม ภาพที่ ๗.๒ การประดิษฐพานพุม ภาพที่ ๗.๓ การออกแบบพานไหวครู

ภาพที่ ๗.๔ การประดิษฐพานไหวครู

ภาพที่ ๗.๕ การออกแบบผังมาลัยลายพุมขาวบิณฑ

ภาพที่ ๗.๖ การประดิษฐมาลัยลายพุมขาวบิณฑ

ภาพที่ ๗.๗ การประดิษฐมาลัยผาเช็ดหนา ภาพที่ ๗.๘ การออกแบบเครื่องแขวน ภาพที่ ๗.๙ การประดิษฐเครื่องแขวน ภาพที่ ๗.๑๐ การออกแบบบายศรีตน ภาพที่ ๗.๑๑ การประดิษฐบายศรีตน ภาพที่ ๗.๑๒ การออกแบบงานแกะสลักผัก

ฎ ๒๐๓ ๒๐๗ ๒๐๗ ๒๐๘ ๒๐๘ ๒๐๙ ๒๐๙ ๒๐๙ ๒๑๑ ๒๑๒ ๒๑๓ ๒๑๓ ๒๑๔ ๒๑๕ ๒๑๖ ๒๑๖ ๒๑๗ ๒๑๗ ๒๒๗ ๒๒๗ ๒๒๘ ๒๒๙ ๒๓๐ ๒๓๐ ๒๓๑ ๒๓๒ ๒๓๓ ๒๓๔ ๒๓๕ ๒๓๖

(16)

สารบัญภาพ (ตอ)

หนา ภาพที่ ๗.๑๓ งานแกะสลักผัก

ภาพที่ ๗.๑๔ การออกแบบลวดลายงานเครื่องปนดินเผา ภาพที่ ๗.๑๕ การประดิษฐเครื่องปนดินเผา

ภาพที่ ๗.๑๖ การประดิษฐกลองไม

ภาพที่ ๗.๑๗ การประดิษฐลวดลายบนผา

ฏ ๒๓๗ ๒๓๗ ๒๓๘ ๒๓๘ ๒๓๙

(17)

บทที่ ๑ บทนํา

เนื้อหาของบทนําในหัวขอแรกจะกลาวถึงคหกรรมศาสตรและงานประดิษฐในแงของ ความหมายและขอบเขตพอสังเขป เพื่อเชื่อมโยงกับเนื้อหาสวนอื่นๆ ของบทนี้ที่ประกอบดวยงาน ประดิษฐที่เปนเอกลักษณไทย ลวดลายไทยในงานประดิษฐ ลวดลายในงานศิลปกรรมในประเทศไทย ลายไทยที่สําคัญในปจจุบัน และลักษณะของการนําลายไทยไปใช

๑.๑ คหกรรมศาสตร

สาขาวิชาจะศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใดเปนสําคัญเราสามารถที่จะรูไดจากความหมายของสาขาวิชานั้น เนื่องจากเปนสิ่งที่ใชเปนหลักในการกําหนดขอบเขตของสาขาวิชานั้นไดถูกตองและชัดเจน ดังนั้น หัวขอนี้จึง เริ่มดวยความหมายของคหกรรมศาสตร และขอบเขตของเนื้อหาวิชาคหกรรมศาสตร นอกจากนี้ เพื่อใหรูวา ในปจจุบันงานคหกรรมศาสตรมีความสําคัญในดานใดบาง จึงกลาวในหัวขอตอไปถึงงานคหกรรมศาสตรที่มี

ความสําคัญในปจจุบัน

๑.๑.๑ ความหมายของคหกรรมศาสตร

คหกรรมศาสตร อาน คะหะกํามะสาด (Home Economics) คือ วิชาที่เกี่ยวของกับความรูทาง วิทยาศาสตร สังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปศาสตร โดยมุงพัฒนาครอบครัวดวยการจัดการทรัพยากร บุคคล วัสดุและสิ่งแวดลอม เพื่อพัฒนาอาชีพและเสริมสรางคุณภาพชีวิต ความมั่นคงของสถาบันครอบครัว และสังคม (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๗ก) ขณะที่ความหมายของ “คหกรรมศาสตร” สําหรับคนทั่วไปสวน ใหญแลวมักจะมีการนําไปใชในความหมายใกลเคียงกับความหมายเดียวกับของราชบัณฑิตยสถานที่กลาว ขางตน ทั้งนี้ก็อาจมีการขยายความหมายของเนื้อหาใหมีรายละเอียดเพิ่มขึ้นบาง เชน คหกรรมศาสตร คือ วิชาที่เกี่ยวของกับความรูทางวิทยาศาสตร สังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปศาสตร โดยมุงเนนการนํา ความรูในทุกดานมาประยุกตเพื่อพัฒนาและเสริมสรางคุณภาพชีวิตของบุคคล ครอบครัว และสังคม คห กรรมศาสตรจึงเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ ศิลปะประดิษฐและงานสรางสรรค สิ่งทอและเครื่องนุงหม พัฒนาการมนุษยและครอบครัว และการจัดการบานและที่อยูอาศัย (“คณะคหกรรมศาสตรเรียนเกี่ยวกับ อะไร,” ม.ป.ป.)

๑.๑.๒ ขอบเขตของเนื้อหาวิชาคหกรรมศาสตร

ความหมายของคหกรรมศาสตรดังกลาวขางตน สามารถนํามาใชกําหนดขอบเขตของวิชาคหกรรม ศาสตรใหชัดเจนไดเปนขอบเขตของวิชาคหกรรมศาสตรตามเนื้อหาทั่วไป แตเนื่องจากปจจุบันหลักสูตรวิชา คหกรรมศาสตรที่มีเนื้อหาแตกตางกันออกไป ดังนั้น เราจึงควรพิจารณาขอบเขตของวิชาคหกรรมศาสตรใน

(18)

๒ แงของเนื้อหาของหลักสูตรดวย ขอบเขตของคหกรรมศาสตรจึงควรมีอยางนอย ๒ แบบ ไดแก ขอบเขตตาม เนื้อหาวิชาคหกรรมศาสตรทั่วไป และขอบเขตตามเนื้อหาของหลักสูตรวิชาคหกรรมศาสตร

๑.๑.๒.๑) ขอบเขตตามเนื้อหาวิชาคหกรรมศาสตรทั่วไป

คหกรรมศาสตรเปนศาสตรที่บูรณาการองคความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สังคมศาสตร มนุษยศาสตร ศิลปศาสตร และเศรษฐศาสตร นํามาใชพัฒนาการมนุษยและครอบครัวดวยการ จัดการทรัพยากรครอบครัวตามศาสตรดังกลาว เพื่อสรางสรรคงานพัฒนาการของครอบครัวเปนสําคัญ ทั้ง ดานอาหารและโภชนาการ สิ่งทอและเครื่องนุงหม งานการใชศิลปะสรางสรรคและงานประดิษฐ และงาน การเสริมสรางคุณภาพชีวิตของครอบครัว โดยเฉพาะอยางยิ่งไดแกงานเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ สิ่งทอ และเครื่องนุงหม ตลอดจนงานการใชศิลปะสรางสรรคและงานประดิษฐ

ขอบเขตของวิชาคหกรรมศาสตรทั่วไปจะมีขอบเขตดังกลาวขางตน ขณะที่ขอบเขตของวิชาคห กรรมศาสตรที่เกี่ยวกับความรูที่ใชในการดํารงชีวิตประจําวันที่พบเห็นอยางเดนชัดไดเเก ความรูเรื่องอาหาร เครื่องนุงหม และงานประดิษฐตกเเตง โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในวันสําคัญที่เกี่ยวกับงานประเพณีตางๆ ความรู

ดานคหกรรมศาสตรจะมีบทบาทเกี่ยวของกับงานประเพณีที่สําคัญนั้นๆ เสมอ ไดแก ความรูดานอาหาร เครื่องนุงหม และงานประดิษฐ จะนํามาปรับปรุงดัดแปลงใหเขากับการนําไปใชในแตละงานประเพณีไดอยาง สําคัญ ดังนี้

๑) อาหารและโภชนาการ อาหารที่ใชในงานประเพณีจะเลือกใชอาหารที่มีชื่อเปนมงคล เชน ประเพณีงานเเตงงาน จะเลือกอาหารที่มีความหมายถึงความร่ํารวย เจริญรุงเรือง เชน ทองเอก ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ขนมชั้น และขนมถวยฟู เปนตน หรือใชในความหมายใหคูบาวสาวครองรัก กันยาวนานจะใชขนมกงที่มีลักษณะคลายกับกงลอรถ ประเพณีชิงเปรต ใชขนมลาซึ่งทําดวยเเปงโรยเปนเสน บางๆ เสมือนเสนไหมสานกันเปนเเผนคลายเปนเสื้อผาแพรพันสงใหญาติพี่นองที่เสียชีวิตนําไปใชสอย ประเพณีวันสารทใชขาวกระยาสารทหรือขาวกระยาทิพยที่ทําจากธัญพืชมากวนทําเปนขนม เพื่อนําไปถวาย พระและเเจกจายระหวางเพื่อนบาน ตามความเชื่อวาการทําบุญควรใชสิ่งของที่ดีจะสงผลใหไดรับสิ่งที่ดี

ตามมายิ่งขึ้น และปตอไปพืชพันธุธัญญาหารจะอุดมสมบรูณ

๒) สิ่งทอและเครื่องนุงหม จะมีการสรางสรรคขึ้นเพื่อใชในชีวิตประจําวันและใชในงานประเพณี

อาจมีลักษณะที่คลายกันหรืออาจแตกตางกันไปในแตละทองถิ่นและตามวัตถุประสงคของการนําไปใช

ตลอดจนการใชทักษะของความคิดสรางสรรคในการประดิษฐและการออกแบบ และการตัดเย็บเปนเครื่อง แตงกายและอื่นๆ ซึ่งมีความปราณีต สวยงาม และนําไปใชประโยชนตามวัตถุประสงคได เครื่องนุงหมที่ขึ้น ชื่อของไทยไดแกผาไทย เชน ผาไหมยกดอกลําพูน ผาไหมแพรวา ผาไหมมัดหมี่ลายตางๆ ผาจกแมแจม ผา จกไทยวน ผาจกเมืองลอง ซิ่นเมืองนาน ผาหางกระรอก ผายกมุกลับแล ผาลายน้ําไหล ผาฝายของปาซาง ผา กาบบัว ผาขิด ผาซิ่นตีนจก ผามุกตีนจก ผาจวนตานี ผาพุมเรียง ผายกเมืองนคร ผาทอนาหมื่นศรี และผา ของชาวเขาเผาตางๆ เปนตน (วิกิพีเดีย, ๒๕๖๖ข)

(19)

๓ ๓) งานประดิษฐ เปนงานตกแตงที่ใชในงานประเพณีที่ตองมีเครื่องใชที่จะใชแสดงถึงงานที่

จัดทําอยางประณีต เชน การจัดพานสําหรับใชในแตละโอกาส เชน พานพุม พานรดน้ํา และพานบายศรีสู

ขวัญ ที่ประกอบดวยดอกไมรวมทั้งสิ่งของที่ใชในการจัดทําเครื่องใชจะคํานึงถึงการใชดอกไมที่มีความหมายที่

ดี เชน ดอกดาวเรือง ดอกบานไมรูโรย ดอกแกว ใบเงิน ใบทอง และตั้งชื่อเรียกสิ่งที่ประดิษฐใหสอดคลองกับ ความเชื่อ เชน การจัดทําบายศรีสําหรับบูชาพรหม เรียกวา บายศรีพรหม สําหรับบูชาเทวดา เรียกวา บายศรี

เทพ เปนตน

๑.๑.๒.๒) ขอบเขตตามเนื้อหาของหลักสูตรวิชาคหกรรมศาสตร

วิชาดานคหกรรมศาสตรมีขอบเขตกวางและครอบคลุมเนื้อหาหลายดานดังกลาวขางตน ทําให

สาขาวิชาคหกรรมศาสตรไดรับการบรรจุใหเปนบทเรียนในสถาบันการศึกษามาตั้งแตในอดีตจนกระทั่ง ปจจุบัน ทั้งในแงของวิชาหนึ่งในแตละหลักสูตร และเปนสาขาวิชาหนึ่งที่ประกอบดวยหลายๆ วิชารวมกัน ใน ปจจุบันสถาบันการศึกษาตางๆ ไดจัดทําหลักสูตรคหกรรมศาตรในคณะตางๆ หลายสถาบัน แตละสถาบันจะ เนนทางดานใดนั้นขึ้นกับความพรอมดานตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน ความพรอมของทั้งผูเรียนและผูสอน ความ พรอมดานเครื่องมืออุปกรณและความตองการของผูเรียน หลักสูตรคหกรรมศาสตรที่มีการเรียนการสอนของ มหาวิทยาลัยในประเทศไทยจะมีทั้งเนนดานวิทยาศาสตร คหกรรมศาสตร ศิลปศาสตร และศึกษาศาสตร

หลักสูตรคหกรรมศาสตรที่มีในปจจุบันสวนใหญเปนระดับปริญญาตรีที่สําคัญมี ดังนี้

๑) หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร จะเนนการเรียนวิชาดาน สังคมศาสตร และมนุษยศาสตร เพื่อนํามาใชตอยอดการเรียนเนื้อหาวิชาคหกรรมศาสตรที่ใชศาสตรดาน สังคมศาสตรและมนุษยศาสตรเปนสําคัญ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, ๒๕๖๕)

๒) หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบแฟชั่นและนวัตกรรมเครื่องแตงกาย สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขาวิชาศิลปประดิษฐในงานคหกรรมศาสตร และสาขาวิชาการศึกษา ปฐมวัย จะเนนการเรียนวิชาดานสังคมศาสตร และมนุษยศาสตร เพื่อนํามาใชตอยอดการเรียนเนื้อหาวิชา ออกแบบแฟชั่นและนวัตกรรมเครื่องแตงกาย วิชาอาหารและโภชนาการ วิชาศิลปประดิษฐในงานคหกรรม ศาสตร วิชาการศึกษาปฐมวัย และวิชาดานคหกรรมศาสตรที่เกี่ยวของ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี, ๒๕๖๓)

๓) หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจคหกรรมศาสตร จะเนนการเรียนวิชาดาน สังคมศาสตร และมนุษยศาสตร เพื่อนํามาใชตอยอดการเรียนเนื้อหาวิชาคหกรรมศาสตรและธุรกิจที่ใช

ศาสตรดานสังคมศาสตรและมนุษยศาสตรเปนสําคัญ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, ๒๕๖๐) ๔) หลักสูตรคหกรรมศาสตรบัณฑิต วิชาเอกโภชนาการชุมชน วิชาเอกพัฒนาการเด็กและ ครอบครัว วิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคาร และวิชาเอกธุรกิจอาหาร จะเนนการเรียนวิชาดาน สังคมศาสตร และมนุษยศาสตร เพื่อนํามาใชตอยอดการเรียนเนื้อหาวิชาเอกและวิชาดานคหกรรมศาสตรที่

เกี่ยวของ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ม.ป.ป.)

(20)

๔ ๕) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร จะเนนการเรียนวิชาพื้นฐานที่เปน วิชาเคมี ชีวะ ฟสิกส และคณิตศาสตร เพื่อนํามาใชตอยอดการเรียนเนื้อหาวิชาคหกรรมศาสตรที่ใชศาสตร

ดานวิทยาศาสตรในการศึกษาเปนสําคัญ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, ๒๕๖๔ข. มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม, ๒๕๖๓. มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, ๒๕๖๐. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ, ๒๕๖๔) ๖) หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตรศึกษา จะเนนการเรียนวิชาดาน สังคมศาสตร และมนุษยศาสตร เพื่อใชตอยอดการเรียนเนื้อหาวิชาดานคหกรรมศาสตรและวิชาครู

(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ, ๒๕๖๓)

๗) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร จะเนนการเรียนวิชาที่เกี่ยวกับ อาหารและการจัดดอกไม และใชตอยอดการเรียนเนื้อหาวิชาดานคหกรรมศาสตร (มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, ป.ป.ป.)

หลักสูตรดังกลาวขางตนมีความแตกตางกันบางในรายละเอียด แตมีความคลายกันในภาพรวม โดยเฉพาะจะแตกตางกันโดยวิถีทางของการนําผูเรียนไปสูเปาหมายเดียวกันคือเนื้อหาของวิชาคหกรรม ศาสตร ทั้งเปาหมายที่เนนเชี่ยวชาญเฉพาะและเปาหมายที่เชี่ยวชาญในภาพรวมของวิชาคหกรรมศาสตร

ทั้งนี้ขึ้นกับความเชี่ยวชาญของแตละสถาบันที่จะถายทอดองคความรูสูนักศึกษาของตนเองตามเปาหมายที่

กําหนดไวในหลักสูตร

นอกจากหลักสูตรระดับปริญญาตรีแลว ในบางสถาบันจะมีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา เชน หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตรศึกษา จะเนนการเรียนวิชาดานสังคมศาสตร และ มนุษยศาสตร เพื่อนํามาใชตอยอดการเรียนเนื้อหาวิชาดานคหกรรมศาสตรและวิชาดานการสอนและการ ถายทอดวิชาคหกรรมศาสตร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, ๒๕๕๙ก)

๑.๑.๓ งานคหกรรมศาสตรที่มีความสําคัญในปจจุบัน

การวิเคราะหถึงขอบเขตของวิชาคหกรรมศาสตรจากความหมายของคหกรรมศาสตรที่ไดกลาว แลวควบคูไปกับเนื้อหาของหลักสูตรคหกรรมศาสตรที่มีการเรียนการสอนของสถาบันอุดมศึกษาในปจจุบัน ซึ่งหลักสูตรนั้นๆ ไดกลั่นกรองเนื้อหาความเปนคหกรรมศาสตรไดระดับหนึ่งแลว จึงนํามาใชเปนหลักสูตร ดานคหกรรมศาสตร โดยหลักสูตรคหกรรมศาสตรที่มีการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยในประเทศไทยจะมี

ทั้งเนนดานวิทยาศาสตร คหกรรมศาสตร ศิลปศาสตร และศึกษาศาสตร โดยมีองคประกอบสําคัญคือสาขา วิชาเอกไดแก สาขาวิชาการออกแบบแฟชั่นและนวัตกรรมเครื่องแตงกาย สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขาวิชาศิลปประดิษฐในงานคหกรรมศาสตร สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย วิชาเอกโภชนาการชุมชน วิชาเอก พัฒนาการเด็กและครอบครัว วิชาเอกการโรงแรมและภัตตาคาร วิชาเอกธุรกิจอาหาร และเกี่ยวกับอาหาร และการจัดดอกไม ดังนั้น คหกรรมศาสตรจึงมีขอบเขตในแขนงวิชา (๑) อาหารและโภชนาการ (๒) สิ่งทอ และเครื่องนุงหม (๓) งานประดิษฐ (๔) พัฒนาการเด็กและครอบครัว (๕) อื่นๆ ที่เกี่ยวของกับทั้ง ๔ แขนง ขางตน เชน ธุรกิจอาหาร และมีทั้งเนื้อหาคหกรรมศาสตรและเนื้อหาวิชาแขนงอื่นรวมอยูดวย เชน การ โรงแรมและภัตตาคาร และธุรกิจอาหาร ซึ่งเนื้อหาของหลักสูตรคหกรรมศาสตรของสถาบันตางๆ จะ

Referensi

Dokumen terkait