• Tidak ada hasil yang ditemukan

คนสองนคร (Urban Bigamy)

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "คนสองนคร (Urban Bigamy)"

Copied!
1
0
0

Teks penuh

(1)

คนสองนคร (Urban Bigamy)

มุหน่อคือสาวใช ้ประจำาบ ้าน คือบ ้านทุกบ ้าน ไม่บ ้านคุณ ก็บ ้าน เพื่อนบ ้านคุณ หรือถัดไปอีกสองหลัง ไม่มีสาวใช ้เป็นกะเหรี่ยง ก็

เป็นมอญ ก็เป็นคะฉิ่น ก็เป็นพม่า 1-2 ล ้านคนที่อยู่ในประเทศไทย ตอนนี้”

(บทสัมภาษณ์ตอนหนึ่งของ พิมลศิริ ตีโชติ ในประชาไท 29 กันยายน 2550 www.prachathai.com ) ปรากฏการณ์หนึ่งคนในสองนครหมายถึงคนที่มีภูมิลำาเนาในท ้องที่หนึ่ง แต่มีผูก พันธ์ หรืออาศัยอยู่ในอีกท ้องที่หนึ่ง ทั้งในฐานะที่เป็นแหล่งงานหรือที่พักพิง จากภัยสงครามก็ตาม ที่คนคนหนึ่งอาศัยอยู่เข ้าๆ ออกๆ ระหว่างสองดินแดน ปรากฏกาณณ์ดังที่กล่าวมาเป็นสิ่งที่เกือบจะธรรมดาแล ้วในสังคมเมืองยุคหลัง อุตสาหกรรมใหญ่ๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะที่เกิดขึ้นแล ้วในโลกตะวันตก ทั้งใน สหรัฐฯ ซึ่งถือว่ามีความเป็นพหุสังคมมากที่สุดประเทศหนึ่งของโลก (ได ้หลอม รวมความเป็นชาติจากความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทั้งละตินอเมริกา

แอฟริกา และเอเชีย) ในทำานองเดียวกันกับสังคมยุโรปหลายประเทศ ซึ่งการ ผสานความหลากหลายทางเชื้อชาติ กำาลังกลายเป็นภาพสังคมใหม่ที่ความเป็น ประเทศในฐานะ “ภูมิศาสตร์แห่งความเป็นเชื้อชาติเดียวกัน” เริ่มสลายลง อาทิ

สังคมฝรั่งเศสที่มีต่อคนจากแอฟริกา สังคมเยอรมันที่มีต่อคนตุรกี หรือแม ้แต่

สังคมอังกฤษที่มีต่อคนอินเดียและปากีสถาน เป็นต ้น การสลายลงของเส ้นแบ่ง เชื้อชาติในฐานะสิ่งเดียวกับความเป็นประเทศอันเป็นกากตะะกอนที่ตกทอดมา จากอุดมการณ์ชาตินิยม มาสู่การยอมรับในสัญชาติที่มีความหลากหลายทาง เชื้อชาติในฐานะพลเมืองของประเทศนั้นๆ แทน ซึ่งถือเป็นนวัตกรรมทางสังคม สมัยใหม่อันนำาไปสู่การลดความขัดแย ้งทางชาติพันธุ์ และนำาไปสู่ความสงบสุข ทางสังคมได ้

อย่างไรก์ตาม ปรากฏการณ์นี้ยังไม่อาจถือได ้ว่าเป็นทิศทางที่น่าจะเกิด ในวงกว ้างโดยทั่วไป เพราะสำาหรับหลายสังคมแล ้วนั้น ความเป็นประเทศ (หรือ ชาติ) นั้นผูกติดอยู่กับกลุ่มชาติพันธุ์ อย่างเหนียวแน่น ที่สังคมใดสังคมหนึ่งไม่

อาจกลืนเอากลุ่มชาติพันธ์อื่นเข ้าสู่สังคมตนได ้ เช่นในกรณี ของ “โรฮิงญา” ที่

ทั้งบังคลาเทศและพม่าไม่อาจยอมรับให ้เป็นพลเมืองของตนได ้ แต่สำาหรับ สังคมไทยความเปลี่ยนแปลงนี้ได ้เริ่มก่อตัวขึ้นและกำาลังก่อให ้เกิดความ เปลี่ยนแปลงทั้งต่อประเด็นการจัดท่าทีของความสัมพันธ์ทางสังคมใหม่ ทั้ง นโยบายการจัดการประชากร การให ้ความรู ้ การสร ้างทัศนคติ ต่างๆ ที่มีผลต่อ การเปลี่ยนโครงสร ้างความสัมพันธ์ในสังคมต่อคนเหล่านี้ เนื่องจาก “คนต่าง ชาติ” (หรือแรงงานข ้ามชาติ) กำาลังจะถูกผสานเพื่อรับหน ้าที่สำาหรับการผลิต- บริโภคของสังคมสมัยใหม่ (บางส่วน) ในสังคมไทย

ทุกวันนี้ หากเราลองสังเกตดูก็จะพบว่า บางพื้นที่ในหลายจังหวัดนั้นเป็น ถิ่นที่อยู่ของคนต่างชาติไปเป็นจำานวนมากแล ้ว เนื่องจากอาชีพในย่านเหล่านั้น หาคนในชาติเดียวกันมาทำางานด ้วยยากยิ่ง อาทิ งานที่เกี่ยวข ้องกับการประมง งานทำาความสะอาด งานในโรงงานบางประเภท หรือแม ้แต่งานก่อสร ้าง การ

(2)

เข ้ามาอยู่ของคนต่างชาติโดยอาศัยสังคมไทยเป็นนครแห่งที่สองนั้น เป็นสิ่งที่

ยากจะหลีกเลี่ยงตราบเท่าที่เราดำาเนินชีวิตอยู่ภายใต ้ตรรกะของทุน ดังนั้นขณะ นี้ เราต ้องการองค์ความรู ้ในการจัดการและรับมือความ (กำาลัง) เปลี่ยนแปลงสู่

การเป็นพหุสังคมของเราอย่างกว ้างขวาง ซึ่งขณะนี้เรายังไม่มีความรู ้เพียงพอ ในแทบทุกด ้านๆ ได ้แก่ ด ้านที่อยู่อาศัย ด ้านความปลอดภัย ด ้านสวัสดิการ ตลอดจนด ้านจิตวิทยาและสังคมวิทยาแห่งพหุสังคม รวมถึง “ท่าที” และ

“ทัศนคติ” ต่อการมองและความเข ้าใจต่อชาวต่างชาติเหล่านั้น ตั้งแต่ ยกย่อง สรรเสริญ ไปถึงการดูหมิ่น เหยียดหยาม

ปรากฏการณ์คนสองนครนั้นไม่ใช่เรื่องที่กำาลังจะเกิด ขึ้น แต่ได ้แวะเวียน มาเคาะประตูบ ้านเราแล ้ว ต่างหาก

Walking in Cities, หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ, วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2552

Referensi

Dokumen terkait

strengthen the students’ creativity because they can participate or interact actively. In addition, FRESH technique can make the students easy to understand the material.