• Tidak ada hasil yang ditemukan

CMU Intellectual Repository: ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะในการควบคุมความคิดตามแนวพุทธวิธีในวิตักกสัณฐานสูตร กับ ความคิดอัตโนมัติด้านลบ และความซึมเศร้า / พระมงคล ชัยวุฒิ

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2024

Membagikan "CMU Intellectual Repository: ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะในการควบคุมความคิดตามแนวพุทธวิธีในวิตักกสัณฐานสูตร กับ ความคิดอัตโนมัติด้านลบ และความซึมเศร้า / พระมงคล ชัยวุฒิ"

Copied!
4
0
0

Teks penuh

(1)

ชื่อเรื่องวิทยานิพนธ ความสัมพันธระหวางทักษะในการควบคุมความคิด ตามแนวพุทธวิธีในวิตักกสัณฐานสูตร กับ ความคิด อัตโนมัติดานลบ และ ความซึมเศรา

ผูเขียน พระมงคล ชัยวุฒิ

ปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาการปรึกษา)

คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ รศ. ดร. นพนธ สัมมา ประธานกรรมการ อ. ดร. สมชาย เตียวกุล กรรมการ

อ. ดร. พิสิฏฐ โคตรสุโพธิ์ กรรมการ

บทคัดยอ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางความคิดอัตโนมัติดานลบกับ ความซึมเศรา ความสัมพันธระหวางทักษะในการควบคุมความคิดตามแนวพุทธวิธีในวิตักกสัณฐาน สูตร กับ ความคิดอัตโนมัติดานลบ ความสัมพันธระหวางทักษะในการควบคุมความคิดตามแนว พุทธวิธีในวิตักกสัณฐานสูตรกับความซึมเศรา และ อํานาจในการทํานายความซึมเศรา ของคะแนน ทักษะการควบคุมความคิดตามแนวพุทธวิธีในวิตักกสัณฐานสูตร และ ความคิดอัตโนมัติดานลบ

กลุมตัวอยางประกอบดวย กลุมนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม จํานวน 220 คน กลุมผู

ฝกปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานที่วัดร่ําเปง และวัดพระธาตุศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม รวม 55 คน กลุมผูปวยในของโรงพยาบาลสวนปรุงและโรงพยาบาลประสาท จังหวัดเชียงใหม ที่ไดรับการ วินิจฉัย หรือประเมินวามีความซึมเศราในทางคลินิก และมีสติรูตัวเพียงพอที่จะตอบแบบสอบถาม ตามความเปนจริงได จํานวน 69 คน

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

(2)

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถามขอมูลทางประชากร แบบประเมินทักษะ ในการควบคุมความคิดตามแนวพุทธวิธี ซึ่งผูวิจัยไดสรางขึ้นเอง ตามเนื้อหาของวิตักกสัณฐานสูตร ในพระไตรปฎก เลมที่ 12 ขอที่ 256 - 262 แบบวัดความคิดอัตโนมัติดานลบ ซึ่งผูวิจัยไดดัดแปลง จาก แบบวัดความคิดอัตโนมัติดานลบ ของฮอลลอน และ เคนดอลล (1980) และ แบบวัดความ ซึมเศรา ซึ่งผูวิจัยดัดแปลงจากแบบวัดความซึมเศราของ เบค (1967) ที่แปลเปนภาษาไทยโดยรอง ศาสตราจารยมุกดา ศรียงค (2522)

ผลการวิจัยพบวา ความคิดอัตโนมัติดานลบมีความสัมพันธทางบวกกับความซึมเศรา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .001 (r = .738) ทักษะในการควบคุมความคิดตามแนวพุทธวิธีใน วิตักกสัณฐานสูตร มีความสัมพันธทางลบกับความคิดอัตโนมัติดานลบ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่

ระดับ .01 (r = -.129) ในขณะที่ มีความสัมพันธทางลบกับความซึมเศรา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่

ระดับ .001 (r = -.194) และ ทักษะในการควบคุมความคิดตามแนวพุทธวิธีในวิตักกสัณฐานสูตร และความคิดอัตโนมัติดานลบ รวมกัน มีอํานาจในการทํานายความซึมเศราอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับ .01 (R2 = .555)

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

(3)

_

_

_

Thesis Title The Relationship Between Thought Control Skills According to Buddha’s Techniques in Vitakkasanthanasutta, Negative Automatic Thoughts and Depression

Author Phra Mongkol Chaivuthi

Degree Master of Science (Counseling Psychology)

Thesis Advisory Committee Assoc. Prof. Dr. Napon Summa Chairperson Lect. Dr. Somchai Teaukul Member Lect. Dr. Phisit Kotsupho Member

ABSTRACT

The purposes of this research were to study the relationship between negative automatic thoughts and depression; the relationship between thought control skills according to Buddha’s techniques in Vitakkasanthanasutta and negative automatic thoughts; the relationship between the thought control skills and depression; and the predictive ability of the thought control skills and negative automatic thoughts scores to depression.

The subjects were 220 students from Chiang Mai University; 55 insight meditators from Wat Rampoeng and Wat Phrathat Srichomthong, Chiang Mai; and 69 inpatients, who were diagnosed or assessed to be clinically depressed and were not out of reality, from Suan Prung Psychiatric Hospital and Chiang Mai Neurological Hospital, Chiang Mai.

The research materials consisted of a demographic questionnaire; the questionnaire of thought control skills according to Buddha’s techniques in Vitakkasanthanasutta (in the Tripitaka volume 12, item 256 - 262) developed by the researcher; the questionnaire of negative automatic

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

(4)

_

thoughts modified from Hollon&Kendall’s Automatic Thoughts Questionnaire-Revised (ATQ-R, 1980); and the inventory of depression modified from the Beck Depression Inventory (BDI).

The results of this study revealed that negative automatic thoughts were positively correlated to depression at .001 (r = .738); negative automatic thoughts were negatively correlated to thought control skills according to Buddha’s techniques in Vitakkasanthanasutta at .01 (r = -.129); the thought control skills were negatively correlated to depression at .001 (r = -.194); and negative automatic thoughts and the thought control skills could significantly and mutually predict depression at .01 (R2 = .555).

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

Referensi

Dokumen terkait