• Tidak ada hasil yang ditemukan

View of ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิของผู้ต้องหาหรือจำเลยที่วิกลจริต ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "View of ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิของผู้ต้องหาหรือจำเลยที่วิกลจริต ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา"

Copied!
9
0
0

Teks penuh

(1)

ปญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิของผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริต ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา*

Legal Problems Regarding Rights of the Alleged Offender or the Accused, Who Is Unsound-Minded, under the Criminal Procedure Code

ฉัตรนันทน สุนทร**

ประกอบ ประพันธเนติวุฒิ***

คมสัน สุขมาก****

บทคัดยอ

วิทยานิพนธนี้มุงศึกษาเกี่ยวกับปญหาการคุมครองสิทธิของผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตในกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงแนวความคิด ทฤษฎี และหลักการเกี่ยวกับสิทธิทางกฎหมายของ ผูตองหาหรือจําเลยทั่วไป ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับสิทธิของผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริต ศึกษาและวิเคราะหปญหา เกี่ยวกับมาตรการและหลักเกณฑเกี่ยวกับสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของผูตองหาหรือจําเลยที่เปนบุคคล วิกลจริต ตลอดจนเสนอแนะแนวทางแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายในเรื่องสิทธิของผูตองหาหรือ จําเลยที่วิกลจริตเพื่อใหมีความชัดเจนมากขึ้น

ผลจากการศึกษาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในเรื่องการคุมครองสิทธิผูตองหาหรือจําเลยใน คดีอาญา พบวา ผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตจะไดรับสิทธิในการแตงตั้งทนายความจากรัฐในบางกรณีเทานั้น อีกทั้ง เมื่อมีเหตุควรเชื่อวาผูตองหาหรือจําเลยเปนผูวิกลจริตและไมสามารถตอสูคดีไดพนักงานสอบสวนหรือศาลจะงดการ สอบสวน ไตสวนมูลฟองหรือพิจารณาไวจนกวาผูนั้นหายวิกลจริตหรือสามารถจะตอสูคดีได ไมมีกระบวนการใด ๆ เกี่ยวกับคดีเพื่อทราบวามีการกระทําผิดอาญาตามที่ถูกกลาวหาจริงหรือไมและจําเลยกระทําผิดจริงหรือไม ดานการ คุมครองสิทธิของผูตองหาและจําเลยที่วิกลจริตจะคุมครองแตเฉพาะในชั้นของพนักงานสอบสวนและในชั้นศาลเทานั้น ไมไดบัญญัติถึงการคุมครองสิทธิในชั้นพนักงานอัยการไว

ขอเสนอแนะการศึกษาเห็นควรปรับปรุงแกไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในเรื่องสิทธิการมี

ทนายความในชั้นสอบสวน มาตรา 134/1 และสิทธิการมีทนายความในชั้นพิจารณา มาตรา 173 ของผูตองหาหรือ จําเลยที่วิกลจริตโดยรัฐตองจัดหาทนายความใหทุกกรณี และแกไขมาตรา 14 เมื่อมีเหตุควรเชื่อวาผูตองหาหรือจําเลย วิกลจริตจนไมสามารถตอสูคดีได การสอบสวนและการพิจารณาจะตองไมยุติลงจะตองดําเนินกระบวนยุติธรรมทาง อาญาตอไป และแกไขเรื่องคดีที่อยูในชั้นพนักงานอัยการตองใหอํานาจพนักงานอัยการในการคุมครองสิทธิของผูตองหา ที่วิกลจริตดวย ทั้งนี้ เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมและเพื่อใหผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตไดรับการคุมครองสิทธิ

ตามกฎหมาย

คําสําคัญ : วิกลจริต / สิทธิผูตองหา / สิทธิจําเลย

*วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี

**นักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี

ปทุม วิทยาเขตชลบุรี

***อาจารยที่ปรึกษาหลัก รองศาสตราจารย มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี

****อาจารยที่ปรึกษารวม พันตํารวจเอก ดร. มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี

(2)

Abstract

This Thesis focuses on studying problems regarding protection of rights of the alleged offender or the accused, who is unsound-minded, in the criminal justice proceedings, with the objectives to study concepts and theories concerning legal rights of the alleged offender or the accused in general, to study law concerning rights of the alleged offender or the accused, who is unsound-minded, to study and analyze problems regarding measures and criteria relating to rights of the alleged offender or the accused, who is unsound-minded, in the criminal justice proceedings, as well as to recommend approaches to solving problems regarding legal measures with respect to the rights of the alleged offender or the accused, who is unsound-minded, for more clarity.

The study of the Criminal Procedure Code, with respect to protection of the rights of the alleged offender or the accused in the criminal case, finds that the alleged offender or the accused, who is unsound-minded, shall be entitled to be granted with a lawyer procured by the State only in a particular event. Moreover, when there is a reason to believe that the alleged offender or the accused is an unsound-minded person and unable to defend itself, the Inquiry Official or the Court shall suspend the inquiry, preliminary examination or trial, until the person is recovered from unsound mind or able to defend itself. There is no process concerning the case to discover whether or not the alleged criminal offense was actually committed or whether or not the accused actually committed the offense. With respect to protection of the rights of the alleged offender and the accused, who are unsound-minded, they will be protected only at stages of the Inquiry Official and the Court, but there are not provisions for protection of the rights in the stage of the Public Prosecutor.

Recommendations of this study are to amend the Criminal Procedure Code with respect to the rights to legal counsel in the Inquiry Stage, Section 134/1, rights to legal counsel in the Trial Stage, Section 173, the alleged offender or the accused, who is unsound-minded, whereby the State must procure a lawyer for it in any event, and amend Section 14, if there is a reason to believe that the alleged offender or the accused is unsound-minded and unable to defend itself, the Inquiry and Trial must not be suspended, but the criminal justice proceedings must be carried on, and amend the matter of the case at the level of the Public Prosecutor level, whereby the Public Prosecutor must also be empowered to protect the rights of the alleged offender, who is unsound-minded, for benefit of the justice, and in order that the alleged offender or the accused, who is unsound- minded, enjoy protection of its legal rights.

Keywords : Unsound Mind / Rights of the Alleged Offender / Rights of the Accused บทนํา

ประชาชนในสังคมตองพบเจอกับปญหามากมาย ทั้งปญหาในครอบครัว ปญหาในที่ทํางาน และปญหาอื่น ๆ ในชีวิต อันอาจทําใหเกิดภาวะความเครียด ซึ่งสาเหตุปญหาตาง ๆ นี้ อาจกอใหเกิดการเจ็บปวยทางจิตขึ้นได มีแนวโนม วาจะมีผูปวยทางจิต หรือผูวิกลจริตเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้สภาวะทางจิตที่ไมปกติหรือที่เรียกวาวิกลจริตนั้น ยังสงผลให

(3)

ผูปวยไมมีความสามารถที่จะควบคุมสติ อารมณ ความนึกคิด ความรูสึกผิดชอบ ซึ่งจะพบเห็นไดจากขาวบอยครั้งที่

บุคคลที่มีสภาวะทางจิตไมปกติจะกอใหเกิดปญหาทางสังคมในหลายประการ โดยเฉพาะอยางยิ่งการกระทําความผิดทาง อาญาซึ่งทําใหเกิดความเสียหายแกบุคคลอื่น ๆ ดังนั้น เมื่อผูที่มีสภาวะทางจิตไมปกติไปกระทําความผิดทางอาญาหรือ ผูกระทําความผิดทางอาญากลายเปนผูที่มีสภาวะทางจิตไมปกติ การดําเนินกระบวนการยุติธรรมทางอาญาจึงตองมี

มาตรการทางกฎหมายเปนพิเศษเพื่อคุมครองบุคคลดังกลาว โดยตองมีมาตรการที่แตกตางจากผูกระทําความผิดทาง อาญาที่เปนบุคคลปกติทั่วไป ซึ่งกฎหมายไมไดประสงคที่จะมุงลงโทษบุคคลดังกลาวใหสาสมกับการกระทําความผิด แต

มุงประสงคที่จะใหบุคคลดังกลาวไดรับการคุมครองสิทธิและเสรีภาพ และไดรับความเปนธรรมในการดําเนินคดีอาญา เพื่อใหเกิดยุติธรรมและความเทาเทียมกันในการตอสูคดีของบุคคลทุกคน และเพื่อใหบุคคลที่มีสภาวะทางจิตไมปกติได

พิสูจนตนเองวาเปนผูบริสุทธิ์ (ศกุนา เกานพรัตน, 2551, หนา 10)

ประเทศไทยมีกฎหมายหลายฉบับที่บัญญัติถึงมาตรการทางกฎหมายสําหรับผูที่มีสภาพจิตไมปกติ ไมวาจะ เปนประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หรือประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งไดกําหนดมาตรการทางกฎหมายในการ ดําเนินคดีอาญาและมาตรการในการคุมครองสิทธิและเสรีภาพกับผูที่มีสภาพจิตไมปกติที่ตองเขาสูกระบวนการยุติธรรม นอกจากนี้ยังมีพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 ซึ่งไดกําหนดมาตรการทางกฎหมายในการบําบัดรักษาผูที่มีสภาพ จิตไมปกติทั้งกอนและหลังจากมีการกระทําความผิดอาญาเกิดขึ้น เพื่อคุมครองสังคมจากอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากผูที่มี

สภาพจิตไมปกติ และเปนการคุมครองผูที่มีสภาพจิตไมปกติใหไดรับการบําบัดรักษา ซึ่งรวมถึงผูที่มีสุขภาพจิตไมปกติที่

ตองเขาสูกระบวนการยุติธรรมดวย

ในเรื่องสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทยไดมีบัญญัติไวรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร พุทธศักราช 2560 มาตรา 27 วรรคหนึ่ง ที่มีหลักวา “บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและไดรับความคุมครองตาม กฎหมายเทาเทียมกัน” วรรคสอง ที่มีหลักวา “การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคล ไมวาดวยเหตุความแตกตางใน เรื่องถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจ หรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไมขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ หรือเหตุอื่นใด จะกระทํามิได” ซึ่งหมายถึงการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลวิกลจริตดวย (รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 27)

สิทธิตาง ๆ ของผูตองหาและจําเลยตามกฎหมายไทย ในชั้นสอบสวน เชน สิทธิที่จะไดรับการสอบสวนดวย ความรวดเร็วตอเนื่องและเปนธรรม สิทธิที่จะพบและปรึกษาผูซึ่งจะเปนทนายความเปนการเฉพาะตัว สิทธิที่จะให

ทนายความหรือผูซึ่งตนไววางใจเขาฟงการสอบปากคําตนไดในชั้นสอบสวน สวนในชั้นพิจารณา เชน สิทธิไดรับการ พิจารณาดวยความรวดเร็ว ตอเนื่อง และเปนธรรม สิทธิที่จะไดรับความชวยเหลือจากรัฐดวยการจัดหาทนายความให

สิทธิที่จะแตงตั้งทนายความเพื่อสูคดี และสิทธิที่จะไดรับการรักษาพยาบาลโดยเร็วเมื่อเกิดอาการเจ็บปวย เปนตน ผูตองหาหรือจําเลยที่มีสภาวะทางจิตไมปกติหรือที่เรียกวาวิกลจริตนั้น ในระหวางการสอบสวนหรือ ดําเนินคดี ผูตองหาหรือจําเลยดังกลาวนั้นอาจไมมีความสามารถที่จะใชสิทธิตาง ๆ ในชั้นสอบสวนและในชั้นพิจารณาใน การดําเนินคดีอาญาได ซึ่งทําใหผูตองหาและจําเลยที่วิกลจริตนั้นเสียเปรียบในการตอสูคดี ฉะนั้น จึงตองมีบทบัญญัติใน การดําเนินคดีอาญาแกผูตองหาและจําเลยที่วิกลจริตไวเปนพิเศษ กฎหมายในประเทศไทยที่เกี่ยวกับวิธีพิจารณาความใน การดําเนินคดีอาญาแกผูตองหาและจําเลยที่วิกลจริตนั้นไดบัญญัติไวในมาตรา 14 แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญาเพียงมาตราเดียวเทานั้น ซึ่งยังมีขอความที่ยังไมชัดเจนอยูหลายประการ ในขณะเดียวกันก็มิไดมีระเบียบใด ๆ ที่นํามารองรับในทางปฏิบัติที่จะทําใหเกิดความเขาใจดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ปญหาเรื่องนี้ก็ยังไมไดรับความสนใจในการ ปรับปรุงแกไขกฎหมายที่เกี่ยวของเทาที่ควร ทั้งที่เปนบทบัญญัติของผูตองหาและจําเลยที่วิกลจริตในการตอสูคดีอาญาที่

มีความสําคัญมาก ซึ่งแตกตางกับในตางประเทศ เชนประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศอังกฤษ ที่ไดใหความสําคัญกับ

(4)

ปญหาเรื่องนี้ และมีความพยายามที่จะวางหลักเกณฑ และวิธีพิจารณาในการปฏิบัติตาง ๆ ใหเหมาะสมและมี

ประสิทธิภาพ

แมประเทศไทยจะมีกฎหมายในเรื่องการคุมครองสิทธิทางอาญากับผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตไวเปน พิเศษอยูแลวก็ตาม แตในทางปฏิบัติก็ยังมีขอบกพรองอยูหลายประการ ซึ่งควรไดรับการแกไขใหดียิ่งขึ้น เพื่อที่จะปฏิบัติ

ตอผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตใหไดรับสิทธิเชนเดียวกับผูตองหาหรือจําเลยที่เปนบุคคลปกติตอไป วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพื่อศึกษาถึงแนวความคิด ทฤษฎี และหลักการเกี่ยวกับสิทธิทางกฎหมายของผูตองหาหรือจําเลยใน คดีอาญา

2. เพื่อศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับสิทธิของผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริต

3. เพื่อศึกษาและวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับมาตรการและหลักเกณฑเกี่ยวกับสิทธิในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญาของผูตองหาหรือจําเลยที่เปนบุคคลวิกลจริต

4. เพื่อศึกษาแนวทางแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายในเรื่องสิทธิของผูตองหาหรือ จําเลยที่วิกลจริตเพื่อใหมีความชัดเจนมากขึ้น

สมมติฐานของการศึกษา

ผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตก็ยังไมสามารถเขาถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของผูตองหาหรือจําเลยที่เปนบุคคลปกติ

ไดในบางกรณี ทั้งในชั้นสอบสวนและชั้นพิจารณา สวนในชั้นพนักงานอัยการก็ไมมีบทบัญญัติกฎหมายที่คุมครองสิทธิ

ของผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตไว ซึ่งเปนเรื่องที่สําคัญเพราะการที่ไมสามารถเขาถึงสิทธิขั้นพื้นฐานนั้น อาจทําใหเกิด ความไมเปนธรรมตอผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาได จึงตองมีการบัญญัติกฎหมายใน สวนที่เกี่ยวกับสิทธิในการแตงตั้งทนายความ การรวบรวมพยานหลักฐานเพื่อพิสูจนความผิด ความบริสุทธิ์ ของผูตองหา หรือจําเลย ในชั้นพิจารณาศาลตองพิจารณาวาการกระทําของจําเลยผูวิกลจริตเปนความผิดตามกฎหมายหรือไม รวมถึง บทบาทของพนักงานอัยการในการคุมครองสิทธิของผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริต เพื่อใหบุคคลดังกลาวไดรับสิทธิทาง กฎหมายเชนเดียวกับบุคคลปกติใหเปนไปตามหลักสากล

ขอบเขตของการศึกษา

วิทยานิพนธฉบับนี้จะศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีดานสิทธิของผูตองหาหรือจําเลยกรณีทั่วไปและศึกษา มาตรการการคุมครองสิทธิของผูตองหาหรือจําเลยที่เปนผูวิกลจริตตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 14 ในเรื่องการมีทนายความในการชวยเหลือในคดี การไดรับการพิจารณาจากพยานหลักฐานตาง ๆ วาการกระทําของ ตนเปนความผิดตามกฎหมายหรือไม และบทบาทของพนักงานอัยการในการคุมครองสิทธิของผูตองหาหรือจําเลยที่

วิกลจริต โดยศึกษาตามแนวคิดทฤษฎีของกฎหมายระหวางประเทศ กฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา กฎหมายของ อังกฤษ และกฎหมายของประเทศญี่ปุน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ประมวลกฎหมายวิธี

พิจารณาความอาญา รวมทั้งพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 วิธีดําเนินการศึกษา

ดําเนินการศึกษาโดยคนควาจากตํารากฎหมาย ตัวบทกฎหมาย เอกสาร วารสาร บทความวิชาการ รายงาน การวิจัย วิทยานิพนธ คําพิพากษาศาลฎีกา ขอมูลทางอินเทอรเน็ต เกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในการปฏิบัติ

(5)

ตอผูตองหาหรือจําเลยที่เปนบุคคลวิกลจริตใหไดรับการคุมครองสิทธิตามกฎหมาย ทั้งกฎหมายประเทศไทยและ กฎหมายตางประเทศ จากนั้นนําขอมูลที่ไดรับจากการศึกษามาวิเคราะห

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. ทําใหทราบถึงแนวความคิด ทฤษฎี และหลักการเกี่ยวกับสิทธิทางกฎหมายของผูตองหาหรือจําเลยใน คดีอาญา

2. ทําใหทราบถึงกฎหมายที่เกี่ยวกับสิทธิของผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตตามกฎหมายของประเทศไทย และกฎหมายของตางประเทศ

3. ทําใหทราบถึงขอบกพรองของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทยเกี่ยวกับสิทธิของผูตองหาหรือ จําเลยที่วิกลจริต

4. ทําใหทราบถึงแนวทางแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายในเรื่องสิทธิของผูตองหาหรือ จําเลยที่วิกลจริตเพื่อใหมีความชัดเจนตอการดําเนินกระบวนการยุติธรรมทางอาญาตอไป

คํานิยามศัพท

“บุคคลวิกลจริต” ความหมายในทางกฎหมายอาญา

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาไมไดบัญญัติความหมายไวแตอยางใด และประมวลกฎหมายอาญา ก็ไมมีนิยามความหมายไวเชนกัน แตไดบัญญัติความหมายที่ใกลเคียงไวใน มาตรา 65 วา “ผูใดกระทําความผิด ในขณะ ไมสามารถรูผิดชอบ หรือไมสามารถบังคับตนเองไดเพราะมีจิตบกพรอง โรคจิตหรือจิตฟนเฟอน ผูนั้นไมตองรับโทษ สําหรับความผิดนั้น”

ผลการวิจัย

จากการศึกษาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในเรื่องการคุมครองสิทธิผูตองหาหรือจําเลยใน คดีอาญา พบวา ผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตจะไดรับสิทธิในการแตงตั้งทนายความจากรัฐในบางกรณีเทานั้น อีกทั้ง เมื่อมีเหตุควรเชื่อวาผูตองหาหรือจําเลยเปนผูวิกลจริตและไมสามารถตอสูคดีได พนักงานสอบสวนหรือศาลจะงดการ สอบสวน ไตสวนมูลฟองหรือพิจารณาไวจนกวาผูนั้นหายวิกลจริตหรือสามารถจะตอสูคดีได ไมมีกระบวนการใด ๆ เกี่ยวกับคดีเพื่อทราบวามีการกระทําผิดอาญาตามที่ถูกกลาวหาจริงหรือไม ดานการคุมครองสิทธิของผูตองหาและจําเลย ที่วิกลจริตจะคุมครองแตเฉพาะในชั้นของพนักงานสอบสวนและในชั้นศาลเทานั้น ไมไดบัญญัติถึงการคุมครองสิทธิในชั้น พนักงานอัยการไว ซึ่งไมสอดคลองกับกฎหมายระหวางประเทศและกฎหมายตางประเทศ

ผูศึกษาพบปญหาในการศึกษาเกี่ยวกับสิทธิของผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตตามประมวลกฎหมายวิธี

พิจารณาความอาญา ดังนี้

1. ปญหาเกี่ยวกับสิทธิในการจัดหาทนายความในชั้นสอบสวนและในชั้นพิจารณาของผูตองหาหรือจําเลยที่

วิกลจริต

สิทธิในการมีทนายความของผูตองหาหรือจําเลยเปนบทบัญญัติที่ใชบังคับกับผูตองหาหรือจําเลยในคดีอาญา ทุกกรณี ไมไดมีบทบัญญัติเฉพาะสําหรับผูตองหาหรือจําเลยผูวิกลจริตไว คือ ในคดีที่มีอัตราโทษประหารชีวิต หรือในคดี

ที่ผูตองหาหรือจําเลยมีอายุไมเกินสิบแปดปในวันที่พนักงานสอบสวนแจงขอหาหรือในวันที่ถูกฟองตอศาล กอนเริ่มถาม คําใหการหรือกอนพิจารณา พนักงานสอบสวนหรือศาลจะถามผูตองหาหรือจําเลยกอนวามีทนายความหรือไม ถาไมมีให

รัฐจัดหาทนายความให สวนในคดีที่มีอัตราโทษจําคุกกอนเริ่มถามคําใหการหรือกอนเริ่มพิจารณาพนักงานสอบสวนหรือ

(6)

ศาลจะถามผูตองหาหรือจําเลยกอนวาตองการทนายความหรือไม ถาไมมีและตองการทนายความรัฐจึงจะจัดหา ทนายความ ซึ่งถาผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตอายุเกิน 18 ป หรือในคดีที่มีอัตราโทษต่ํากวาประหารชีวิตจะไมไดรับ การแตงตั้งทนายความจากรัฐ สวนในคดีที่มีอัตราโทษจําคุกจะมีการถามกอนวาตองการทนายความหรือไม ถาตองการ รัฐจึงจะจัดหาทนายความให ซึ่งผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตยอมไมมีความรูความเขาใจวาตนตองการทนายความ หรือไม และบุคคลดังกลาวควรไดรับการจัดหาทนายความจากรัฐในการชวยเหลือเพื่อตอสูคดีในทุกกรณี จึงไมสอดคลอง กับกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) สิทธิที่บุคคลไดรับแจงใหทราบถึงสิทธิใน การมีผูชวยเหลือทางกฎหมาย หากบุคคลนั้นไมมีผูชวยเหลือทางกฎหมาย

ในประเด็นดังกลาวนี้ ประเทศสหรัฐอเมริกาใหสิทธิในการมีทนายความของจําเลยผูวิกลจริต จําเลยที่ถูก กลาวอางวามีสภาวะทางจิตผิดปกติจะตองมีทนายความอยูดวยในระหวางการพิจารณา หรือถาจําเลยไมมีทุนทรัพย

เพียงพอที่จะวาจางทนายความเพื่อแกตางคดีให U.S.Code มาตรา 4247 (d) ก็ยังบัญญัติบังคับใหศาลจัดหาทนาย ใหแกจําเลยตาม มาตรา 3006A อีกดวย สงผลใหจําเลยผูวิกลจริตในประเทศสหรัฐอเมริกามีทนายความใหความ ชวยเหลือในทุกกรณี (สิทธินนท กี่สุขพันธ, 2559, หนา 96) สวนประเทศญี่ปุนถาในกรณีที่จําเลยหรือผูถูกกลาวหาที่ไมมี

ความสามารถในการตอสูคดีไมมีผูแทนในการดําเนินคดี พนักงานอัยการ เจาหนาที่ตํารวจ หรือผูมีสวนไดเสีย สามารถ ยื่นคํารองตอศาล เพื่อใหศาลแตงตั้งผูแทนพิเศษในการดําเนินคดีแทนจําเลยดังกลาว ผูแทนพิเศษสามารถแตงตั้ง ทนายความขึ้นมาเปนที่ปรึกษารวมถึงใหมีอํานาจในการดําเนินคดีได และกรณีที่จําเลยมีความปกติทางจิต กฎหมายวิธี

พิจารณาคดีอาญาของญี่ปุนยังใหหลักประกันสิทธิโดยศาลจะตั้งทนายความให (สํานักงานอัยการพิเศษฝายคุมครองสิทธิ

ประชาชนระหวางประเทศ, 2555: ออนไลน)

ดังนั้น จากปญหาดังกลาวจะตองปรับปรุงแกไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 134/1 และ มาตรา 173 โดยเพิ่มเติมเนื้อหาเพื่อปรับใหสอดคลองกับกฎหมายระหวางประเทศที่ไทยไดไปลงนามและใหสัตยาบัน

2. ปญหาการยุติการดําเนินกระบวนยุติธรรมทางอาญาในกรณีที่พนักงานสอบสวนหรือศาลเห็นวาผูตองหา หรือจําเลยเปนผูวิกลจริตจนไมสามารถตอสูคดีได

กรณีที่ผูตองหาหรือจําเลยเปนผูวิกลจริต ถาระหวางทําการสอบสวน ไตสวนมูลฟองหรือพิจารณา มีเหตุควร เชื่อวาผูตองหาหรือจําเลยเปนผูวิกลจริตและไมสามารถตอสูคดีได พนักงานสอบสวนหรือศาลจะงดการสอบสวน ไตสวน มูลฟองหรือพิจารณาไวจนกวาผูนั้นหายวิกลจริตหรือสามารถจะตอสูคดีได และศาลจะสั่งจําหนายคดีเสียชั่วคราวก็ได

จึงไมสอดคลองกับกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) สิทธิที่จะไดรับการ พิจารณาโดยไมชักชาเกินความจําเปน และปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติที่วาทุกคนเสมอภาค กันตามกฎหมายและมีสิทธิที่จะไดรับความคุมครองของกฎหมายเทาเทียมกัน โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติ ปญหา ประการสําคัญ คือ ระหวางการจําหนายคดีไมมีกระบวนการใด ๆ เกี่ยวกับคดีเพื่อทราบวามีการกระทําผิดอาญาตามที่

ถูกกลาวหาจริงหรือไม และจําเลยกระทําผิดจริงหรือไม และปญหายิ่งทวีความรุนแรงขึ้นสําหรับคดีที่จําเลยไมไดรับการ ปลอยชั่วคราว และแทนที่จะไดรับการบําบัดรักษาในสถานพยาบาลตามคําสั่งศาลกลับตองถูกคุมขังในเรือนจํา ซึ่งมี

ความเปนไปไดที่จะถูกคุมขังเปนระยะเวลานาน ทั้งที่ยังไมถูกพิพากษาวากระทําความผิด (ศุภกิจ แยมประชา, 2558, หนา 172)

ในประเด็นดังกลาวนี้ ประเทศอังกฤษ กรณีจําเลยที่เปนบุคคลวิกลจริตและไมสามารถทําการตอสูคดีได

กระบวนการยุติธรรมทางอาญาจะไมยุติลง โดยไดกําหนดมาตรการพิเศษเพื่อใหศาลและลูกขุนไดพิจารณาในเบื้องตน เสียกอนวาจําเลยมีความเกี่ยวของในคดีหรือไม ซึ่งหากจําเลยไมมีความเกี่ยวของในคดี กระบวนการยุติธรรมทางอาญาก็

จะไดตัดจําเลยผูวิกลจริตนั้นออกจากสํานวนอันเปนการปองกันไมใหจําเลยที่เปนผูวิกลจริตนั้นตองถูกเอารัดเอาเปรียบ จากกระบวนการยุติธรรมทางอาญาทั้งที่ตนเองไมเขาใจหรือไมรับรูเกี่ยวกับกระบวนการเหลานั้น มาตรการพิเศษ

(7)

ดังกลาวไดบัญญัติไวใน The Criminal Procedure (Insanity) Act 1964 มาตรา 4A (สิทธินนท กี่สุขพันธ, 2559, หนา 99) สวนประเทศญี่ปุนเมื่อผูตองหาหรือจําเลยเปนผูวิกลจริตและไมสามารถตอสูคดีได กระบวนการยุติธรรมทาง อาญาก็ยังคงดําเนินตอไป จะไมมีการงดการสอบสวน ไตสวนมูลฟอง หรือการพิจารณา โดยกฎหมายกําหนดใหมีผูแทน ทางกฎหมาย (legal representative) ทําหนาที่ดําเนินคดีแทนผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตและไมสามารถตอสูคดีได

ซึ่งบัญญัติไวใน Code of Criminal Procedure of Japan, Article 167

ดังนั้น จากปญหาดังกลาวจะตองปรับปรุงแกไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 14 โดย เพิ่มเติมเนื้อหาเพื่อปรับใหสอดคลองกับกฎหมายระหวางประเทศที่ไทยไดไปลงนามใหสัตยาบันไว

3. ปญหาการคุมครองสิทธิผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตของพนักงานอัยการ การคุมครองผูตองหาหรือ จําเลยที่วิกลจริต

กรณีผูตองหาหรือจําเลยที่เปนผูวิกลจริต สิทธิขั้นพื้นฐานของผูวิกลจริตในกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จะไดรับการคุมครองในชั้นของพนักงานสอบสวนและในชั้นศาล แตไมไดบัญญัติถึงสิทธิในชั้นพนักงานอัยการไว ซึ่งเมื่อ พนักงานสอบสวนสงสํานวนใหพนักงานอัยการแลวก็จะเปนอํานาจของพนักงานอัยการในการดําเนินคดีตอไป พนักงาน สอบสวนก็จะไมสามารถเขาไปมีบทบาทหรืออํานาจในคดีได เวนแตเปนกรณีที่พนักงานอัยการสั่งใหทําการสอบสวน เพิ่มเติม ในมุมกลับกันเมื่อคดีอยูในชั้นของพนักงานอัยการแลวมีเหตุอันควรเชื่อวาผูตองหาวิกลจริตและไมสามารถตอสู

คดีได กฎหมายก็ไมไดบัญญัติใหอํานาจพนักงานอัยการไว พนักงานอัยการจึงไมมีอํานาจจะใชวิธีการตามมาตรา 14 ได

เชนกัน และเมื่อพนักงานอัยการยังไมยื่นฟองตอศาล ศาลก็ไมมีอํานาจตามมาตรา 14 ทําใหผูตองหาดังกลาวไมไดรับ ความคุมครองตามกฎหมาย จึงไมสอดคลองกับกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR) ในเรื่องการคุมครองเรื่องสิทธิตาง ๆ ในกระบวนการยุติธรรมของบุคคลทุกคน

ในประเด็นดังกลาวนี้ ประเทศสหรัฐอเมริกาในกรณีที่ศาลพบเหตุอันควรสงสัยวาจําเลยจะมีอาการผิดปกติ

ทางจิตหรือวิกลจริตกฎหมายของสหรัฐอเมริกากําหนดใหจําเลยหรือพนักงานอัยการอาจยื่นคํารองขอใหศาลพิจารณา สภาวะทางจิตของจําเลยไดไมวาในเวลาใด ๆ ตั้งแตเริ่มคดีจนถึงศาลมีคําพิพากษา ซึ่งบัญญัติไวใน Title 18 of the United States Code มาตรา 4241-4248 (สิทธินนท กี่สุขพันธ, 2559, หนา 90) สวนประเทศญี่ปุนกระบวนการ ดําเนินคดีอาญาเมื่อผูตองหาหรือจําเลยเปนผูวิกลจริตและไมสามารถตอสูคดีไดไมมีผูแทนในการดําเนินคดี พนักงาน อัยการ เจาหนาที่ตํารวจ หรือผูมีสวนไดเสีย สามารถยื่นคํารองตอศาล เพื่อใหศาลแตงตั้งผูแทนพิเศษในการดําเนินคดี

แทนผูตองหาหรือจําเลยดังกลาว ผูแทนพิเศษสามารถแตงตั้งทนายความขึ้นมาเปนที่ปรึกษารวมถึงใหมีอํานาจในการ ดําเนินคดีได และกรณีที่จําเลยมีความปกติทางจิต กฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญาของญี่ปุนยังใหหลักประกันสิทธิโดย ศาลจะตั้งทนายความให ซึ่งบัญญัติไวใน Code of Criminal Procedure of Japan, Article 29

ดังนั้น จากปญหาดังกลาวจะตองปรับปรุงแกไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 14 โดย เพิ่มเติมเนื้อหาใหสอดคลองกับหลักกฎหมายสากล

ขอเสนอแนะ

จากการที่ผูศึกษาไดทําการศึกษาวิเคราะหปญหาทางกฎหมายในเรื่องการคุมครองสิทธิผูตองหาหรือจําเลยที่

วิกลจริตตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา โดยทําการวิเคราะหกฎหมายระหวางประเทศดานการคุมครอง สิทธิผูตองหาหรือจําเลยในคดีอาญาและกฎหมายตางประเทศ ซึ่งทําใหเห็นถึงขอบกพรองของการคุมครองสิทธิผูตองหา หรือจําเลยที่วิกลจริตที่ไมไดรับการคุมครองสิทธิในประเด็นดังกลาวขางตน ผูศึกษามีขอเสนอแนะในการแกไขตัวบท กฎหมายโดยการเพิ่มเติมเนื้อหาใหสอดคลองกับกฎหมายระหวางและกฎหมายตางประเทศ ดังนี้

(8)

1. สิทธิในการจัดหาทนายความในชั้นสอบสวนและในชั้นพิจารณาของผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริต ตาม มาตรา 134/1 และมาตรา 173 ที่ศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกาและกฎหมายของประเทศ ญี่ปุน ในเรื่องดังกลาว ผูศึกษาเห็นควรแกไขเพิ่มเติมถอยคําในบทบัญญัติ

มาตรา134/1 วรรคหนึ่ง จากเดิมที่บัญญัติวา “ในคดีที่มีอัตราโทษประหารชีวิต หรือในคดีที่ผูตองหามีอายุ

ไมเกินสิบแปดปในวันที่พนักงานสอบสวนแจงขอหา กอนเริ่มถามคําใหการใหพนักงานสอบสวนถามผูตองหาวามี

ทนายความหรือไม ถาไมมีใหรัฐจัดหาทนายความให”

และวรรคสอง จากเดิมที่บัญญัติวา “ในคดีที่มีอัตราโทษจําคุก กอนเริ่มถามคําใหการใหพนักงานสอบสวน ถามผูตองหาวามีทนายความหรือไม ถาไมมีและผูตองหาตองการทนายความ ใหรัฐจัดหาทนายความให”

ใหเพิ่มเติมขอความ มาตรา 134/1 วรรคหนึ่งและวรรคสอง ดังนี้

มาตรา134/1 วรรคหนึ่ง ในคดีที่มีอัตราโทษประหารชีวิต หรือในคดีที่ผูตองหามีอายุไมเกินสิบแปดปในวันที่

พนักงานสอบสวนแจงขอหา กอนเริ่มถามคําใหการใหพนักงานสอบสวนถามผูตองหาวามีทนายความหรือไม ถาไมมีให

รัฐจัดหาทนายความให แตไมวากรณีจะเปนประการใดถาผูตองหาเปนผูวิกลจริตรัฐตองจัดหาทนายความให

และวรรคสอง ในคดีที่มีอัตราโทษจําคุก กอนเริ่มถามคําใหการใหพนักงานสอบสวนถามผูตองหาวามี

ทนายความหรือไม ถาไมมีและผูตองหาตองการทนายความ ใหรัฐจัดหาทนายความให แตไมวากรณีจะเปนประการใด ถาผูตองหาเปนผูวิกลจริตรัฐตองจัดหาทนายความให

มาตรา 173 วรรคหนึ่ง จากเดิมที่บัญญัติวา “ในคดีที่มีอัตราโทษประหารชีวิต หรือในคดีที่จําเลยมีอายุไม

เกินสิบแปดปในวันที่ถูกฟองตอศาล กอนเริ่มพิจารณาใหศาลถามจําเลยวามีทนายความหรือไม ถาไมมีก็ใหศาลตั้ง ทนายความให”

และวรรคสอง จากเดิมที่บัญญัติวา “ในคดีที่มีอัตราโทษจําคุก กอนเริ่มพิจารณาใหศาลถามจําเลยวามี

ทนายความหรือไม ถาไมมีและจําเลยตองการทนายความ ก็ใหศาลตั้งทนายความให”

ใหเพิ่มเติมขอความ มาตรา 173 วรรคหนึ่งและวรรคสอง ดังนี้

มาตรา 173 วรรคหนึ่ง ในคดีที่มีอัตราโทษประหารชีวิต หรือในคดีที่จําเลยมีอายุไมเกินสิบแปดปในวันที่ถูก ฟองตอศาล กอนเริ่มพิจารณาใหศาลถามจําเลยวามีทนายความหรือไม ถาไมมีก็ใหศาลตั้งทนายความให แตไมวากรณี

จะเปนประการใดถาจําเลยเปนผูวิกลจริตรัฐตองจัดหาทนายความให

และวรรคสอง ในคดีที่มีอัตราโทษจําคุก กอนเริ่มพิจารณาใหศาลถามจําเลยวามีทนายความหรือไม ถาไมมี

และจําเลยตองการทนายความ ก็ใหศาลตั้งทนายความให แตไมวากรณีจะเปนประการใดถาจําเลยเปนผูวิกลจริตรัฐ ตองจัดหาทนายความให

2. การยุติการดําเนินกระบวนยุติธรรมทางอาญาในกรณีที่พนักงานสอบสวนหรือศาลเห็นวาผูตองหาหรือ จําเลยเปนผูวิกลจริตจนไมสามารถตอสูคดีได ตามมาตรา 14 ที่ศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศอังกฤษและ กฎหมายของประเทศญี่ปุน ในเรื่องดังกลาว ผูศึกษาเห็นควรแกไขเพิ่มเติมถอยคําในบทบัญญัติ

มาตรา 14 วรรคสอง จากเดิมที่บัญญัติวา “ในกรณีที่พนักงานสอบสวนหรือศาลเห็นวาผูตองหาหรือจําเลย เปนผูวิกลจริตและไมสามารถตอสูคดีได ใหงดการสอบสวน ไตสวนมูลฟองหรือพิจารณาไวจนกวาผูนั้นหายวิกลจริตหรือ สามารถจะตอสูคดีได และใหมีอํานาจสงตัวผูนั้นไปยังโรงพยาบาลโรคจิตหรือมอบใหแกผูอนุบาล ขาหลวงประจําจังหวัด หรือผูอื่นที่เต็มใจรับไปดูแลรักษาก็ไดตามแตจะเห็นสมควร”

ใหเพิ่มเติมขอความ มาตรา 14 วรรคสอง ดังนี้

มาตรา 14 วรรคสอง ในกรณีที่พนักงานสอบสวนหรือศาลเห็นวาผูตองหาหรือจําเลยเปนผูวิกลจริตและไม

สามารถตอสูคดีได “..จะตองสอบสวน ไตสวนมูลฟองหรือพิจารณาตอไปวาผูตองหาหรือจําเลยเปนผูกระทํา

(9)

ความผิดจริงหรือไม โดยพิจารณาจากพยานหลักฐานตาง ..” และใหมีอํานาจสงตัวผูนั้นไปยังโรงพยาบาลโรคจิต หรือมอบใหแกผูอนุบาล ขาหลวงประจําจังหวัดหรือผูอื่นที่เต็มใจรับไปดูแลรักษาก็ไดตามแตจะเห็นสมควร

3. การคุมครองสิทธิผูตองหาหรือจําเลยที่วิกลจริตของพนักงานอัยการ การคุมครองผูตองหาหรือจําเลยที่

วิกลจริต ที่ศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกาและกฎหมายของประเทศญี่ปุน ในเรื่องดังกลาว ผู

ศึกษาเห็นควรแกไขเพิ่มเติมถอยคําในบทบัญญัติ

มาตรา 14 วรรคหนึ่ง จากเดิมที่บัญญัติวา “ในระหวางทําการสอบสวน ไตสวนมูลฟองหรือพิจารณา ถามี

เหตุควรเชื่อวาผูตองหาหรือจําเลยเปนผูวิกลจริตและไมสามารถตอสูคดีได ใหพนักงานสอบสวนหรือศาลแลวแตกรณี สั่ง ใหพนักงานแพทยตรวจผูนั้นเสร็จแลวใหเรียกพนักงานแพทยผูนั้นมาใหถอยคําหรือใหการวาตรวจไดผลประการใด”

และวรรคสอง จากเดิมที่บัญญัติวา “ในกรณีที่พนักงานสอบสวนหรือศาลเห็นวาผูตองหาหรือจําเลยเปนผู

วิกลจริตและไมสามารถตอสูคดีได ใหงดการสอบสวน ไตสวนมูลฟองหรือพิจารณาไวจนกวาผูนั้นหายวิกลจริตหรือ สามารถจะตอสูคดีได และใหมีอํานาจสงตัวผูนั้นไปยังโรงพยาบาลโรคจิตหรือมอบใหแกผูอนุบาล ขาหลวงประจําจังหวัด หรือผูอื่นที่เต็มใจรับไปดูแลรักษาก็ไดตามแตจะเห็นสมควร"

ใหเพิ่มเติมขอความ มาตรา 14 วรรคหนึ่งและวรรคสอง ดังนี้

มาตรา 14 วรรคหนึ่ง ในระหวางทําการสอบสวน ตรวจสํานวนสอบสวน ไตสวนมูลฟองหรือพิจารณา ถามีเหตุควรเชื่อวาผูตองหาหรือจําเลยเปนผูวิกลจริตและไมสามารถตอสูคดีได ใหพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ

หรือศาลแลวแตกรณี สั่งใหพนักงานแพทยตรวจผูนั้นเสร็จแลวใหเรียกพนักงานแพทยผูนั้นมาใหถอยคําหรือใหการวา ตรวจไดผลประการใด

และวรรคสอง ในกรณีที่พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือศาลเห็นวาผูตองหาหรือจําเลยเปนผู

วิกลจริตและไมสามารถตอสูคดีได...”

เอกสารอางอิง

ศกุนา เกานพรัตน. (2551). มาตรการทางกฎหมายสําหรับผูที่มีสภาพจิตไมปกติ: ศึกษากรณีการดําเนินคดีอาญา การรับโทษทางอาญา และการคุมครองสังคม. วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต, คณะนิติศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ศุภกิจ แยมประชา. (2558). มองกระบวนการยุติธรรมทางอาญไทยผานการศึกษาเปรียบเทียบ.

กรุงเทพฯ : เจริญรัฐการพิมพ.

สิทธินนท กี่สุขพันธ. (2559). มาตรการทางกฎหมายในการคุมครองสิทธิของผูตองหาหรือจําเลยผูวิกลจริต.

วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต, คณะนิติศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สํานักงานอัยการพิเศษฝายคุมครองสิทธิประชาชนระหวางประเทศ. (2555). หลักในการดําเนินคดีอาญากับบุคคล วิกลจริตในประเทศญี่ปุน. วันที่คนขอมูล 22 สิงหาคม 2555,

เขาถึงไดจาก http://www.humanrights.ago.go.th/forum/ index.php? topic=5975.0 สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล. (2561). ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ฉบับอางอิง (พิมพครั้งที่ 18).

กรุงเทพฯ : วิญูชน.

Code of Criminal Procedure of Japan. (n.d.). เขาถึงไดจาก https://www.oecd.org/site/adboecdanti- corruptioninitiative/46814489.pdf

Referensi

Dokumen terkait

This is as a consequence of the state's recognition of the rights of a person or a legal community, so that the state is obliged to guarantee the legal certainty of ownership land of