• Tidak ada hasil yang ditemukan

ปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และความรับผิดของผู้ขนส่งทางทะเลตามพระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "ปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และความรับผิดของผู้ขนส่งทางทะเลตามพระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534"

Copied!
2
0
0

Teks penuh

(1)

I

สารนิพนธเรื่อง ปญหาเกี่ยวกับหนาที่และความรับผิดของผูขนสงทางทะเลตาม พระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534

คําสําคัญ หนาที่และความรับผิดของผูขนสง / การรับขนของทางทะเล

นักศึกษา นางสาวจุฑามาศ สุชาโต

อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ รองศาสตราจารย ดร. ภูมิ โชคเหมาะ

หลักสูตร นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายธุรกิจ พ.ศ. 2553

บทคัดยอ

สารนิพนธนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงความไมชัดเจนของหนาที่และความรับผิดของผูขนสง ตามพระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ.2534 โดยนํามาเปรียบเทียบกับอนุสัญญาระหวาง ประเทศวาดวยการรับขนของทางทะเล และกฎหมายตางประเทศ รวมถึงกรณีที่ประเทศไทยควรจะเขา รวมเปนภาคีสมาชิกตามอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการรับขนของทางทะเลหรือไม

จากการศึกษาพบวาในกรณีของขอยกเวนความรับผิดของผูขนสงนั้นสวนใหญไดเทียบเคียง มาจากอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวยการรับขนของทางทะเล คือ อนุสัญญากรุงเฮก (Hague Rules) อนุสัญญาเฮก-วิสบี้ (Hague-Visby Rules) อนุสัญญากรุงแฮมเบอรก (Hamburg Rules) จึงไมมีขอ แตกตางหรือขัดกันมากนักในขอยกเวนความรับผิดในกรณีทั่วๆไป หากแตในกรณีที่โดยปกติผูขนสง มีหนาที่จัดหาเรือที่เหมาะสมในชวงเวลากอนบรรทุกของลงเรือหรือกอนที่เรือจะออกเดินทางหากผู

ขนสงละเลยไมปฏิบัติหนาที่ดังกลาว ผูขนสงจะตองรับผิดเพื่อการสูญหาย เสียหาย หรือสงมอบชักชา แหงของอันเกิดจากการที่ผูขนสงไมปฏิบัติหนาที่นั้น แตแมเรือจะบกพรองไมเหมาะสมแกการเดิน ทะเล (Unseaworthy) ผูขนสงอาจหลุดพนจากความรับผิดดังกลาว ถาพิสูจนไดวาผูขนสงไดปฏิบัติ

หนาที่ในการจัดหาเรือที่เหมาะสมเทาที่เปนธรรมดาและสมควรจะตองกระทําสําหรับผูประกอบอาชีพ รับขนของทางทะเลแลว หรืออาจหลุดพนไดโดยถือเอาประโยชนจากเหตุยกเวนความรับผิดอื่นๆอยาง ใดอยางหนึ่งซึ่งหากความสูญหาย หรือเสียหายที่เกิดขึ้นไมไดมาจากความบกพรองของเรือ ซึ่งกรณีนี้มี

หลักการเชนเดียวกับหลักคอมมอลอว

ผูศึกษาจึงเห็นวาประเทศไทยนาจะเขาเปนภาคีกับอนุสัญญากรุงแฮมเบอรกได เพราะเหตุวา การยอมรับหลักเกณฑระหวางประเทศโดยชัดแจง กลาวคือ การเขาเปนภาคีสมาชิกของความตกลง ระหวางประเทศ จะเปนการสรางความเชื่อมั่นใหแกสังคมโลกอีกระดับหนึ่ง ซึ่งจะสงสัญญาณไปยัง ผู

ประกอบธุรกิจพาณิชยนาวีและผูที่เกี่ยวของดวยวาประเทศไทยมีมาตรฐานในการดําเนินธุรกิจพาณิชย

นาวี ซึ่งจะเปนการดึงดูดผูที่เกี่ยวของใหเขามาใชบริการของผูขนสงของไทยมากขึ้น อีกทั้ง ผูขนสง

(2)

II

และผูสงสินคาและผูที่เกี่ยวของอื่นๆ ก็จะมีความเขาใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับหนาที่และความรับผิดชอบใน สวนของตน ซึ่งจะทําใหการดําเนินธุรกิจในดานนี้ขยายตัวเพิ่มขึ้นและจะชวยเสริมความมั่นคงทาง เศรษฐกิจใหกับประเทศไทยดวย

Referensi

Dokumen terkait

อบรมการใช้งาน ซึ่งสามารถแบ่งตามการนำไปใช้งานเฉพาะทางได้ 9 กลุ่ม ได้แก่ IFR 2565, น.25 1 ด้านเกษตรกรรม Agriculture คือ หุ่นยนต์เพื่อการเกษตรและการทำฟาร์ม 2 การทำความสะอาด Professional

สารานุกรมรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เรื่องหลักความเสมอภาค.. อํานาจหนาที่ของเจาพนักงานฝายปกครองสวนทองถิ่นตามพระราช บัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522