• Tidak ada hasil yang ditemukan

View of ปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายเกี่ยวกับการจ่ายค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "View of ปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายเกี่ยวกับการจ่ายค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา"

Copied!
10
0
0

Teks penuh

(1)

ปญหาและอุปสรรคทางกฎหมายเกี่ยวกับการจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา*

Legal Problems and Obstacles Regarding Payment of Compensation and Expenses to the Accused in the Criminal Case

อัจฉราวรรณ เกษทอง**

เกรียงศักดิ์ พินทุสรศรี***

คมสัน สุขมาก****

บทคัดยอ

วิทยานิพนธนี้มุงศึกษาเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคทางกฎหมายในการจายคาทดแทนและคาใชจายแก

จําเลยในคดีอาญา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเปนมาและความสําคัญของปญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการจายคา ทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา และแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ รวมถึงหาแนวทางแกไขและขอเสนอแนะทาง กฎหมายเกี่ยวกับการจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา

จากการศึกษาพบวา พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยใน คดีอาญา พ.ศ. 2544 มีปญหาเกี่ยวกับการพิจารณาการจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา โดยเฉพาะ เงื่อนไขการขอรับคาทดแทนและคาใชจายของจําเลยในคดีอาญาที่จํากัดสิทธิเฉพาะกรณีศาลมีคําพิพากษาวาจําเลยมิได

เปนผูกระทําความผิดหรือการกระทําของจําเลยไมเปนความผิด และปญหาเกี่ยวกับมาตรการการเยียวยาชื่อเสียงของ จําเลย กรณีศาลมีคําพิพากษายกฟองเมื่อคดีถึงที่สุด การกําหนดคาทดแทนและคาใชจายยังไมครอบคลุมการเยียวยา ความเสียหายของจําเลยที่เกิดขึ้น รวมทั้งปญหาเกี่ยวกับคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา การกําหนด จํานวนอัตราคาทดแทนการถูกคุมขัง ยังมีอัตราที่ไมเหมาะสมกับสภาพความเปนจริงที่เกิดขึ้นในปจจุบัน

ผูศึกษาขอเสนอแนะวาจะตองมีการแกไขกฎหมายในสวนที่เกี่ยวกับเงื่อนไขการเกี่ยวกับการพิจารณาการ จายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา กําหนดมาตรการการเยียวยาความเสียหายตอชื่อเสียง เกี่ยวกับการ ขอรับคาทดแทนและคาใชจาย โดยเห็นควรปรับปรุงและแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคา ทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 มาตรา 20 และมาตรา 21 ทั้งนี้ เพื่อประโยชนแหงความ ยุติธรรมและเพื่อเปนเยียวยาความเสียหายใหแกจําเลยในคดีอาญา

คําสําคัญ : จําเลย/ คาทดแทนและคาใชจาย Abstract

This Thesis focuses on studying legal problems and obstacles regarding payment of compensations and expenses to the accused in the criminal case, with the objectives to study background and significance of the legal problems regarding payment of compensations and expenses to the accused in the criminal case, and relevant concepts, as well as approaches to solutions and recommendations on the legal problems regarding payment of compensation and expense to the accused in the criminal case.

*วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี

**นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี

***อาจารยที่ปรึกษาหลัก ดร. มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี

****อาจารยที่ปรึกษารวม พันตํารวจเอก ดร. มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี

New_1-8-62.indd 212

New_1-8-62.indd 212 2/8/2562 13:26:052/8/2562 13:26:05

(2)

The study finds that Damages for the Injured Person and Compensations and Expenses for the Accused in the Criminal Case Act, B.E. 2544 (2001), poses problems with consideration for payment of compensations and expenses to the accused in the criminal case, which limits the right for only in an event where the Court renders the judgment that the accused did not commit the offense, or the act of the accused was not an offense, and poses problems regarding remedies for reputation of the accused in an event where the Court renders the final judgment to acquit the accused, that setting compensations and expenses does not cover remedies for damage arising to the accused, as well as poses problems regarding compensations and expenses for the accused in the criminal case, and that amounts of compensations for detention are still set at a rate inappropriate for the current circumstances.

Recommendations of this study are to amend the law in part relating to conditions for consideration for payment of compensations and expenses to the accused in the criminal case, providing with remedial measures for reputation, and relating to request for accepting ompensations and expenses, whereby amendments should be made to Damages for the Injured Person and Compensations and Expenses for the Accused in the Criminal Case Act, B.E. 2544 (2001), Section 20 and Section 21, for benefit of the justice and in order to be remedies for damage on the accused in the criminal case.

Keywords : The Accused/ Compensation/ Expense บทนํา

เมื่อกลาวถึงหลักทั่วไปของการดําเนินคดีอาญา จะตองมีขอสันนิษฐานวาจําเลยทุกคนเปนผูบริสุทธิ์จนกวา จะมีคําพิพากษาถึงที่สุดวาเปนผูกระทําผิด (presumption of innocence) (สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล, 2555, หนา 351) กระบวนการยุติธรรมทางอาญา จึงไดถูกสรางขึ้นมาเพื่อใชเปนเครื่องมือในการคนหาและตรวจสอบใหไดความจริงใน คดีอาญา เพื่อคนหาตัวผูกระทําความผิดและนําตัวผูนั้นมาลงโทษตามกฎหมาย

กระบวนการยุติธรรมทางอาญา หมายถึง การดําเนินการของหนวยงานตาง ๆ ในการบังคับใชกฎหมายทาง อาญา เพื่ออํานวยความยุติธรรมใหเกิดขึ้นในการปฏิบัติตามกฎหมาย การบังคับใชกฎหมาย และการวินิจฉัยชี้ขาดให

เปนไปตามกฎหมาย และมีหนาที่ตรวจสอบใหไดความจริงเกี่ยวกับการกระทําความผิดของผูกระทําความผิด จึงตองมี

มาตรฐานเพื่อใหเกิดความแนนอนและถูกตองของการปฏิบัติ ตั้งแตเริ่มตนคดีไปจนเสร็จสิ้นกระบวนการทั้งหมด โดยเริ่ม ตั้งแตรัฐจะดําเนินคดีอาญากับผูใดก็จะตองมีหลักฐานและเหตุผลตามกฎหมายโดยชอบ เพื่อรองรับการพิสูจนไดวามีการ กระทําความผิด และผูถูกดําเนินคดีเปนผูกระทําความผิด เพราะในระหวางที่บุคคลถูกดําเนินคดีอาญาอาจถูกจํากัด อิสรภาพหรือเสื่อมเสียสิทธิ ซึ่งอาจไมแตกตางจากการถูกลงโทษไปแลว โดยกระบวนการดําเนินคดีอาญานั้น (ชาติ

ชัยเดชสุริยะ, 2549, หนา 2)

การคุมขังของผูถูกดําเนินคดี นับเปนมาตรการอยางหนึ่งที่มีความสําคัญ และมีลักษณะพื้นฐานดังกลาว เชนเดียวกับมาตรการบังคับทางอาญาอื่น ๆ ซึ่งโดยหลักการที่แทจริงแลว การคุมขังผูถูกดําเนินคดีอาญานี้ถือเปน กระบวนการที่มีความสัมพันธเปนเรื่องเดียวกันกับการจับ (คณิต ณ นคร, 2531, หนา 25) เพราะเปนกระบวนการใน การเอาตัวผูถูกดําเนินคดีอาญามาไวในอํานาจรัฐ ซึ่งจะตองพิจารณาถึงเหตุแหงความจําเปนในแงที่วา หากไมเอาตัวผูนั้น ไวในระหวางการดําเนินคดีอาญาของเจาพนักงานหรือการพิจารณาคดีของศาลแลว การดําเนินคดีอ าญาของเจา

New_1-8-62.indd 213

New_1-8-62.indd 213 2/8/2562 13:26:052/8/2562 13:26:05

(3)

พนักงานหรือการพิจารณาคดีของศาลนั้นจะไมอาจกระทําไดเลย ซึ่งเหตุที่จะออกหมายจับกับเหตุที่จะคุมขังไดนั้นเปน เหตุเดียวกัน คือ เหตุเกรงวาผูถูกดําเนินคดีอาญานั้นจะหลบหนี หรือจะไปยุงเหยิงกับพยานหลักฐาน(คณิต ณ นคร, 2531, หนา 41)

ในทางตรงกันขาม บอยครั้งที่ผูถูกดําเนินคดีอาญาซึ่งเปนผูบริสุทธิ์เสียอีกที่กลับตองตกอยูภายใตมาตรการ บังคับดังกลาว ทั้งยังไมไดรับการพิจารณาใหปลอยชั่วคราว เนื่องจากเหตุผลบางประการ เชน ไมสามารถหาประกันหรือ หลักประกันมาวางแกพนักงานหรือศาลได หรือแมกระทั่งดุลยพินิจในการอนุญาตใหปลอยชั่วคราวของเจาพนักงานและ ศาลเองก็เปนอุปสรรคที่สําคัญอีกประการหนึ่งดวยที่ทําใหเกิดความเสียหายแกผูบริสุทธิ์ โดยเฉพาะอยางยิ่งเสรีภาพที่

ตองสูญเสียไป เพราะถูกคุมขังอยูเปนเวลานานเพื่อเขารับการพิสูจนความผิดตามขั้นตอนแหงกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา ซึ่งนับเปนความผิดพลาดของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาที่สงผลกระทบโดยตรงอยางรายแรงตอเสรีภาพและ เกียรติภูมิแหงความเปนมนุษยของผูถูกดําเนินคดีอาญา และเปนเครื่องพิสูจนใหเห็นไดวาเพียงแตการสรางหลักประกัน สิทธิเสรีภาพขึ้นมานั้น ยังไมเปนการเพียงพอที่จะทําใหปญหาการกระทบกระเทือนเสรีภาพของผูถูกดําเนินคดีอาญา หมดสิ้นไปได (ทวีวัฒน ธาราจันทร, 2540, หนา 2)

อยางไรก็ดี จําเลยผูถูกคุมขังระหวางการพิจารณาคดี ซึ่งตอมาปรากฏจากคําพิพากษาของศาลวาเปนมิได

เปนผูกระทําความผิด แตเดิมรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 246 ไดบัญญัติรับรองสิทธิ

ในการไดรับคาทดแทนในกรณีของบุคคลซึ่งตกเปนจําเลยในคดีอาญาและถูกคุมขังระหวางการพิจารณาคดี หากปรากฏ ตามคําพิพากษาอันถึงที่สุดในคดีนั้น วาขอเท็จจริงฟงเปนที่ยุติวาจําเลยมิไดเปนผูกระทําความผิดหรือการกระทําของ จําเลยไมเปนความผิด อันเปนที่มาของพระราชบัญญัติ คาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยใน คดีอาญา พ.ศ. 2544 ซึ่งไดกําหนดเงื่อนไขใหจําเลยที่มีสิทธิไดรับคาทดแทนและคาใชจายตองเปนจําเลยที่ถูกดําเนินคดี

โดยพนักงานอัยการ และถูกคุมขังในระหวางการพิจารณาคดี และปรากฏตามคําพิพากษาอันถึงที่สุดในคดีนั้นวา ขอเท็จจริงฟงเปนที่ยุติวาจําเลยมิไดเปนผูกระทําความผิดหรือการกระทําของจําเลยไมเปนความผิด

จนกระทั่งในเวลาตอมา รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ไดบัญญัติไวในมาตรา 25 วา

“บุคคลซึ่งไดรับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพ หรือจากการกระทําความผิดอาญาของบุคคลอื่น ยอม มีสิทธิที่จะไดรับการเยียวยาหรือชวยเหลือจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ” ดังนั้น เมื่อพิจารณาจากบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยฉบับปจจุบัน ประกอบกับพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและ คาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 การพิจารณาสิทธิการไดรับการเยียวยาหรือชวยเหลือจากรัฐของจําเลยใน คดีอาญา จึงทําใหเกิดปญหาสําคัญ ดังนี้

1. ปญหาเกี่ยวกับการพิจารณาการจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา

จําเลยที่มีสิทธิยื่นคําขอรับคาทดแทนและคาใชจาย ตามมาตรา 20 (3) ของพระราชบัญญัติคาตอบแทน ผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 ตองเปนจําเลยที่ถูกดําเนินคดีโดยพนักงาน อัยการ ถูกคุมขังในระหวางพิจารณาคดี และปรากฏหลักฐานชัดเจนวาจําเลยมิไดเปนผูกระทําความผิดและมีการถอน ฟองในระหวางดําเนินคดี หรือปรากฏตามคําพิพากษาอันถึงที่สุด ในคดีนั้นวาขอเท็จจริงฟงเปนที่ยุติวาจําเลยมิไดเปน ผูกระทําความผิดหรือการกระทําของจําเลยไมเปนความผิด

จากบทบัญญัติดังกลาว จะเห็นไดวากําหนดใหรัฐจายคาตอบแทนและคาใชจายแกจําเลยเฉพาะ 2 กรณี คือ กรณีปรากฏหลักฐานชัดเจนวาจําเลยมิไดเปนผูกระทําความผิดและมีการถอนฟองในระหวางดําเนินคดี และกรณีปรากฏ ตามคําพิพากษาอันถึงที่สุด ในคดีนั้นวาขอเท็จจริงฟงเปนที่ยุติวาจําเลยมิไดเปนผูกระทําความผิดหรือการกระทําของ จําเลยไมเปนความผิด

New_1-8-62.indd 214

New_1-8-62.indd 214 2/8/2562 13:26:052/8/2562 13:26:05

(4)

จากการศึกษาขอเท็จจริงพบวา คําพิพากษาของศาลมักจะไมปรากฏคําพิพากษาวาจําเลยไมมีความผิด หรือ การกระทําของจําเลยไมเปนความผิด แตจะพิพากษาวาพยานหลักฐานที่โจทกนําสืบไมมีน้ําหนักเพียงพอใหศาลเชื่อวา จําเลยกระทําความผิดจริง จึงยกประโยชนแหงความสงสัยใหจําเลย จึงทําใหไมเขาเงื่อนไขของกฎหมายฉบับดังกลาว และจําเลยบางรายเคยถูกคุมขังระหวางพิจารณาคดี หรือตองคําพิพากษาศาลชั้นตนใหจําคุกจนกระทั่งศาลสูงพิพากษา กลับใหยกฟอง ทําใหเกิดขอสงสัยเหตุใดจําเลยที่ศาลไมไดพิพากษาวาจําเลยมิไดเปนผูกระทําความผิดหรือการกระทํา ของจําเลยไมเปนความผิด เปนผูไมไดรับการพิจารณาใหมีสิทธิไดรับคาตอบแทนและคาใชจายตามพระราชบัญญัติฉบับ นี้ จึงควรมีการศึกษาเงื่อนไขในการจายคาทดแทนและคาใชจายของจําเลยในคดีอาญาตามมาตรา 20 (3) ของ พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544

2. ปญหาเกี่ยวกับมาตรการการเยียวยาชื่อเสียงของจําเลย กรณีศาลมีคําพิพากษายกฟอง เมื่อคดีถึงที่สุด การจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา ตามพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคา ทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 ไดกําหนดคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยไว อาทิ คาทดแทน การถูกคุมขัง คาใชจายที่จําเปนในการรักษาพยาบาล คาฟนฟูสมรรถภาพทางรางกายและจิตใจ คาทดแทนในกรณีที่

จําเลยถึงแกความตาย คาขาดประโยชนทํามาหาได และคาใชจายที่จําเปนในการดําเนินคดี จะเห็นไดวา คาทดแทน ตาง ๆ ที่กําหนดไว ไมไดกําหนดคาเสียหายตอชื่อเสียงของจําเลย เพียงแตกําหนดคาทดแทนและคาใชจายในกรณีตาง ๆ ไวเทานั้น โดยไมไดคํานึงถึงการแกไขเยียวยาทางดานจิตใจชื่อเสียงของจําเลยกรณีศาลมีคําพิพากษายกฟองเมื่อคดีถึง ที่สุด เพียงแตกําหนดคาทดแทนที่เปนตัวเงินใหจําเลย เพื่อเปนการเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นไปแลว

จากปญหากรณีดังกลาว เปนผลมาจากการดําเนินคดีในชั้นศาลมีหลักวา ตองเปนการดําเนินคดีโดยเปดเผย เปนการดําเนินคดีดวยวาจาและการดําเนินคดีตองกระทําตอหนาจําเลย ดังนั้น การควบคุมตัวระหวางพิจารณาคดีโดย การขังระหวางพิจารณาคดี จึงมีความจําเปนเพื่อใหสามารถดําเนินกระบวนพิจารณาคดีตอไปได ตามความมุงหมายของ การควบคุมตัวระหวางพิจารณาคดี เพื่อประกันการมีตัวของผูตองหาหรือจําเลย (พิมพร รุงทิฆัมพรชัย, 2558, หนา 25) อาจกลาวไดวา การคุมขังกอนศาลมีคําพิพากษาเปนการแยกตัวผูถูกดําเนินคดีอาญาออกไปจากสังคม จึงยอมจะถูก สังคมตราหนาไวในเบื้องตนเสียกอนแลววาเปนผูกระทําความผิดจริง ทําใหไดรับความเสียหายทางดานชื่อเสียง ไดรับ ความอับอาย และตองสูญเสียความเชื่อถือในสังคม (มนตชัย ชนินทรลีลา, 2537, หนา 45)

จะเห็นไดวาการเยียวยาชื่อเสียงของจําเลย กรณีศาลมีคําพิพากษายกฟองเมื่อคดีถึงที่สุด มีความสําคัญ ไมนอยตอสภาพจิตใจและการกลับเขาสูสังคมปกติได จําเปนตองศึกษามาตรการการเยียวยาชื่อเสียงของจําเลย กรณี

ศาลมีคําพิพากษายกฟองเมื่อคดีถึงที่สุด เพื่อใชเปนหลักเกณฑกําหนดคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยตาม พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544

3. ปญหาเกี่ยวกับคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา

พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 มาตรา 21 ไดบัญญัติกําหนดคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญาใหมีสิทธิไดรับตามหลักเกณฑ ดังนี้ คา ทดแทนการถูกคุมขังใหคํานวณจากจํานวนวันที่ถูกคุมขังในอัตราที่กําหนดไวสําหรับการกักขังแทนคาปรับตามประมวล กฎหมายอาญา คาใชจายที่จําเปนในการรักษาพยาบาล รวมทั้งคาฟนฟูสมรรถภาพทางรางกายและจิตใจหากความ เจ็บปวยของจําเลยเปนผลโดยตรงจากการถูกดําเนินคดี คาทดแทนในกรณีที่จําเลยถึงแกความตาย และความตายนั้น เปนผลโดยตรงจากการถูกดําเนินคดี คาขาดประโยชนทํามาหาไดในระหวางถูกดําเนินคดี และคาใชจายที่จําเปนในการ ดําเนินคดี

จะเห็นไดวาการกําหนดคาทดแทนตามมาตรา 21 (1) ไดแก คาทดแทนการถูกคุมขังใหคํานวณจากจํานวน วันที่ถูกคุมขังในอัตราที่กําหนดไวสําหรับการกักขังแทนคาปรับตามประมวลกฎหมายอาญา และตามประมวลกฎหมาย

New_1-8-62.indd 215

New_1-8-62.indd 215 2/8/2562 13:26:062/8/2562 13:26:06

(5)

อาญา มาตรา 30 บัญญัติไววาในการกักขังแทนคาปรับ ใหถืออัตรา 500 บาทตอวัน ดังนั้น การกําหนดคาทดแทนการ ถูกคุมขังแกจําเลยในคดีอาญาที่ถูกคุมขังในระหวางพิจารณาคดี จึงตองคิดคํานวณวันละ 500 บาทตอระยะเวลาที่ถูกคุม ขัง จะเห็นไดวาเปนการกําหนดอัตราคาทดแทนการถูกคุมขังไวในอัตราตายตัว

แมอัตรานี้จะไดมีการแกไขอัตราเพิ่มขึ้นจากเดิม เพื่อใหสอดคลองกับคาแรงขั้นต่ําและภาวะเศรษฐกิจก็ตาม แตถาพิจารณาถึงการถูกจํากัดสิทธิเสรีภาพ รวมทั้งตองยอมรับความเสียหายและผลกระทบตาง ๆ ที่เกิดขึ้นแลว ก็ยัง เปนจํานวนไมคุมคากับความเสียหายที่เกิดขึ้น และอาจจะไมเหมาะสมกับความสูญเสียที่ไดรับ จึงเห็นควรศึกษา หลักเกณฑเกี่ยวกับการกําหนดคาทดแทนการถูกคุมขัง ตามมาตรา 21 (1) ของพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาความเปนมาและความสําคัญของปญหาและอุปสรรคทางกฎหมายเกี่ยวกับการจายคาทดแทน และคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา

2. เพื่อศึกษาประวัติ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวของกับปญหาและอุปสรรคทางกฎหมายเกี่ยวกับการจายคา ทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญาของประเทศไทยและตางประเทศ

3. เพื่อศึกษากฎหมายที่เกี่ยวของกับปญหาและอุปสรรคทางกฎหมายเกี่ยวกับการจายคาทดแทนและ คาใชจายแกจําเลยในคดีอาญาของประเทศไทยและตางประเทศ

4. เพื่อศึกษาวิเคราะหปญหาและอุปสรรคทางกฎหมายของประเทศไทยโดยเปรียบเทียบกับกฎหมายของ ตางประเทศเกี่ยวกับการจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา

5. เพื่อหาแนวทางแกไขและขอเสนอแนะที่เกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคทางกฎหมายเกี่ยวกับการจายคา ทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา

วิธีการวิจัย

วิทยานิพนธฉบับนี้เปนการวิจัยทางเอกสาร (Documentary research) โดยคนควาจากเอกสารทั้ง ภาษาไทยและภาษาตางประเทศ รวมทั้งขอมูลตาง ๆ อันเกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมายตามพระราชบัญญัติ

คาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 ซึ่งผูศึกษาจะใชเปนหลักในการ วิเคราะหปญหาจากการศึกษา นอกจากนั้นผูศึกษาจะไดทําการศึกษาตํารากฎหมาย ตัวบทกฎหมาย วิทยานิพนธ

บทความทางวิชาการในสาขานิติศาสตร และสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ คนควาในหองสมุดของมหาวิทยาลัย รวมทั้งขอมูล ที่ไดจากการคนควาทางเครือขายอินเตอรเน็ต เพื่อนํามาวิเคราะหมาตรการทางกฎหมายตอไป

ขอบเขตของการวิจัย

ศึกษาถึงปญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวกับการจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญาของประเทศ ไทย โดยผูวิจัยจะทําการเปรียบเทียบกฎหมายไทย ไดแก พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและ คาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 และกฎหมายของตางประเทศ พิจารณาขอดี ขอเสีย แนวคิดเห็นที่แตกตาง จนนําไปสูการวิเคราะหเกี่ยวกับตัวบทกฎหมาย หลักเกณฑ และเงื่อนไขตาง ๆ เสนอแนวทางแกไขปญหาทางกฎหมาย เพื่อใหวิทยานิพนธมีความสมบูรณ และมีประสิทธิภาพ

New_1-8-62.indd 216

New_1-8-62.indd 216 2/8/2562 13:26:062/8/2562 13:26:06

(6)

สมมติฐานของการศึกษา

พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทน และคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 มี

ปญหาในการพิจารณาเงื่อนไขการขอรับคาตอบแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา โดยกําหนดใหเฉพาะจําเลยที่

มิไดเปนผูกระทําความผิดหรือการกระทําของจําเลยไมเปนความผิด เปนผูมีสิทธิไดรับคาทดแทนและคาใชจายตาม พระราชบัญญัติฉบับดังกลาว จึงเปนเหตุใหจําเลยที่ไมไดมีสวนเกี่ยวของกับการกระทําความผิดและศาลพิพากษายกฟอง ดวยเหตุอื่นไมมีสิทธิไดรับคาทดแทนและคาใชจาย กอใหเกิดความเดือดรอนและเสียโอกาสตาง ๆ การปรับปรุง กระบวนการใหความชวยเหลือ เกี่ยวกับการจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญาจะทําใหจําเลยที่เปนผู

บริสุทธิ์ไดรับการเยียวยาอยางแทจริง ผลการวิจัย

จากการศึกษาพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทน และคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 พบวา การพิจารณาการจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญายังคงมีปญหาในขอกฎหมาย ไมวา จะเปนเรื่องขอจํากัดในเงื่อนไขการขอรับคาทดแทนและคาใชจาย การกําหนดคาทดแทนและคาใชจายยังไมครอบคลุม การเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้น เมื่อศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายระหวางประเทศและตางประเทศ จึงนําไปสู

ประเด็นปญหาที่ผูศึกษาไดนํามาวิเคราะห โดยสามารถสรุปได ดังนี้

1. ปญหาเกี่ยวกับการพิจารณาการจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา

เนื่องจากพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ.

2544 มาตรา 20 กําหนดใหจําเลยที่มีสิทธิยื่นคําขอรับคาทดแทนและคาใชจาย ตองเปนจําเลยที่ถูกดําเนินคดีโดย พนักงานอัยการ ถูกคุมขังในระหวางพิจารณาคดี และปรากฏหลักฐานชัดเจนวาจําเลยมิไดเปนผูกระทําความผิดและมี

การถอนฟองในระหวางดําเนินคดี หรือปรากฏตามคําพิพากษาอันถึงที่สุด ในคดีนั้นวาขอเท็จจริงฟงเปนที่ยุติวาจําเลย มิไดเปนผูกระทําความผิดหรือการกระทําของจําเลยไมเปนความผิด

จากการศึกษาขอเท็จจริงพบวา คําพิพากษาของศาลมักจะไมปรากฏคําพิพากษาวาจําเลยไมมีความผิด หรือ การกระทําของจําเลยไมเปนความผิด แตจะพิพากษาวาพยานหลักฐานที่โจทกนําสืบไมมีน้ําหนักเพียงพอใหศาลเชื่อวา จําเลยกระทําความผิดจริง จึงยกประโยชนแหงความสงสัยใหแกจําเลย หรือพยานหลักฐานโจทกยังไมอาจรับฟงไดโดย ปราศจากขอสงสัยวาจําเลยกระทําผิดตามฟอง หรือ พยานหลักฐานโจทกยังมีขอสงสัยตามสมควรจึงไมอาจฟงไดวา จําเลยกระทําผิดตามฟอง หรือพยานหลักฐานโจทกยังไมอาจรับฟงไดวาจําเลยกระทําผิดตามฟอง (ปริญญา เจียรนัยกุล วานิช, 2555, หนา 1) จึงทําใหไมเขาเงื่อนไขของกฎหมายฉบับดังกลาว และเปนผูไมมีสิทธิไดรับคาตอบแทนและ คาใชจายตามพระราชบัญญัติฉบับนี้

ประเด็นปญหาดังกลาว จะเห็นไดวาเงื่อนไขการมีสิทธิขอรับคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา ของประเทศไทยมีขอจํากัดเฉพาะกรณี ซึ่งปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน

ขอ 11 (1) ไดบัญญัติวา ทุกคนที่ถูกกลาวหาวากระทําผิดทางอาญา มีสิทธิที่จะไดรับการสันนิษฐานไวกอนวาบริสุทธิ์

จนกวาจะพิสูจนไดวามีความผิดตามกฎหมายในการพิจารณาคดีที่เปดเผย ซึ่งตนไดรับหลักประกันที่จําเปนทั้งปวง สําหรับการตอสูคดี กลาวคือ หากยังไมไดมีคําตัดสินหรือพยานหลักฐานพิสูจนไดวาจําเลยเปนผูกระทําความผิดก็ยอม ไดรับประโยชนจากขอสันนิษฐานดังกลาวขางตน

ในประเด็นนี้ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ไดกําหนดเงื่อนไขในการเรียกรองคาทดแทนความเสียหาย จากการดําเนินคดีอาญาไววา บุคคลที่ไดรับความเสียหายจากถูกคุมขังมีสิทธิรองขอคาทดแทนจากรัฐได หากภายหลัง ศาลมีคําพิพากษายกฟอง โดยไมสําคัญวาศาลจะพิพากษายกฟองดวยเหตุใด ในขณะที่ประเทศนอรเวย ไดกําหนดให

New_1-8-62.indd 217

New_1-8-62.indd 217 2/8/2562 13:26:062/8/2562 13:26:06

(7)

จําเลยที่ไดรับความเสียหายจากการดําเนินคดีอาญามีสิทธิไดรับคาทดแทนจากรัฐ หากในทายที่สุดศาลมีคําพิพากษายก ฟองจําเลย หรือคดีดังกลาวถูกระงับไปกอนที่ศาลจะมีคําพิพากษา แตจะตองอยูภายใตเงื่อนไขวาจําเลยไดรับความทุกข

ทรมาน และมีความเสียหายในทางทรัพยสิน หรือคาเสียหายที่คํานวณเปนเงินได และประเทศสวีเดน กําหนดไวเพียงวา บุคคลที่ถูกควบคุมตัวหรือถูกจํากัดสิทธิเสรีภาพไวในระยะเวลาอยางนอย 24 ชั่วโมง ในฐานะเปนผูตองสงสัยวาได

กระทําความผิดอาญา มีสิทธิไดรับคาทดแทนสําหรับการถูกจํากัดอิสรภาพนั้นเมื่อศาลพิพากษายกฟองคดี มีคําสั่งไม

ฟอง หรือมีการถอนฟอง

ดังนั้น จากปญหาดังกลาวจะตองมีการแกไขปรับปรุงพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทน และคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 ในเรื่องการกําหนดเงื่อนไขการขอรับคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลย ในคดีอาญา

2. ปญหาเกี่ยวกับมาตรการการเยียวยาชื่อเสียงของจําเลย กรณีศาลมีคําพิพากษายกฟองเมื่อคดีถึงที่สุด การกําหนดคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา ตามพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และ คาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 ไดกําหนดคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยไว อาทิ

คาทดแทนการถูกคุมขัง คาใชจายที่จําเปนในการรักษาพยาบาล คาฟนฟูสมรรถภาพทางรางกายและจิตใจ คาทดแทน ในกรณีที่จําเลยถึงแกความตาย คาขาดประโยชนทํามาหาได และคาใชจายที่จําเปนในการดําเนินคดี

จะเห็นไดวา คาทดแทนตาง ๆ ที่กําหนดไวตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ ไมไดกําหนดคาทดแทนความเสียหาย ตอชื่อเสียงของจําเลย เพียงแตกําหนดคาทดแทนที่เปนตัวเงินใหจําเลย เพื่อเปนการเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นไป แลว โดยไมไดคํานึงถึงการแกไขเยียวยาทางดานจิตใจชื่อเสียงของจําเลย กรณีศาลมีคําพิพากษายกฟองเมื่อคดีถึงที่สุด

ในประเด็นนี้ ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948 ขอ 8 ไดรับรองสิทธิการชดใชเยียวยาความ เสียหายจากการถูกกระทําละเมิดตอสิทธิ และขอ 9 การจับกุม กักขัง หรือเนรเทศบุคคลอื่นใดโดยไมมีกฎหมายให

อํานาจไมได จะเห็นไดวา การถูกจับกุม กักขัง ที่กอใหเกิดความเสียหายอันเปนการละเมิดตอสิทธิขั้นพื้นฐาน บุคคลซึ่ง ไดรับความเสียหายจากเหตุดังกลาวมีสิทธิไดรับการชดใชเยียวยาได

ประเด็นดังกลาวนี้ ประเทศญี่ปุน ไดกําหนดการชดใชเยียวยาความเสียหายตอชื่อเสียง โดยเมื่อมีคําวินิจฉัย ในเรื่องคาทดแทนความเสียหายแกจําเลยในคดีอาญาอันถึงที่สุด หากบุคคลที่ไดรับคําวินิจฉัยดังกลาวยื่นคํารองขอให

ศาลประกาศโฆษณาคําวินิจฉัยอยางยอในราชกิจจานุเบกษาและหนังสือพิมพที่ผูยื่นคํารองขอเปนผูเลือกไมเกิน 3 ฉบับ ๆ ละไมนอยกวา 1 ครั้ง และประเทศสาธารณรัฐเกาหลี มีการกําหนดมาตรการการเยียวยาชื่อเสียงของจําเลย กรณี

ศาลมีคําพิพากษายกฟองเมื่อคดีถึงที่สุด โดยกําหนดใหศาลใหมีการประกาศคําพิพากษาใหจําเลยไดรับคาทดแทนในราช กิจจานุเบกษาภายใน 2 สัปดาหนับแตวันที่ศาลมีคําพิพากษา และในกรณีที่มีคํารองจากผูขอ ศาลอาจสั่งใหประกาศคํา พิพากษาในหนังสือพิมพรายวันซึ่งผูรองเปนผูเลือกและตองกระทําภายใน 30 วันนับแตวันที่รองขอ

ดังนั้น จากปญหาดังกลาวจะตองมีการแกไขปรับปรุงพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทน และคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 โดยการเพิ่มเติมการกําหนดคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยเกี่ยวกับ มาตรการการเยียวยาชื่อเสียงของจําเลย กรณีศาลมีคําพิพากษายกฟองเมื่อคดีถึงที่สุด

3. ปญหาเกี่ยวกับคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา

เนื่องจากพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ.

2544 มาตรา 21(1) ไดกําหนดคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญาใหมีสิทธิไดรับตามหลักเกณฑ ดังนี้ คา ทดแทนการถูกคุมขังใหคํานวณจากจํานวนวันที่ถูกคุมขังในอัตราที่กําหนดไวสําหรับการกักขังแทนคาปรับตามประมวล กฎหมายอาญา และตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 30 บัญญัติไววาในการกักขังแทนคาปรับ ใหถืออัตรา 500 บาทตอวัน กลาวคือ จําเลยในคดีอาญาที่ถูกคุมขังในระหวางพิจารณาคดี มีสิทธิไดรับคาทดแทนในคดีอาญาในอัตราวัน

New_1-8-62.indd 218

New_1-8-62.indd 218 2/8/2562 13:26:062/8/2562 13:26:06

(8)

ละ 500 บาทตอระยะเวลาที่ถูกคุมขัง จะเห็นไดวา เปนการกําหนดอัตราคาทดแทนการถูกคุมขังไวในอัตราตายตัว แต

ถาพิจารณาถึงการถูกจํากัดสิทธิเสรีภาพ รวมทั้งตองยอมรับความเสียหายและผลกระทบตาง ๆ ที่เกิดขึ้นแลว ก็ยังเปน จํานวนไมคุมคากับความเสียหายที่เกิดขึ้น และอาจจะไมเหมาะสมกับความสูญเสียที่ไดรับ

ประเด็นปญหานี้ ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948 ขอ 9 ไดบัญญัติรับรองสิทธิของบุคคลจะ ถูกจับกุม กักขัง หรือเนรเทศตามอําเภอใจไมได และเมื่อบุคคลผูใดถูกลวงละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐาน ยอมมีสิทธิไดรับการ เยียวยาความเสียหายตามขอ 8 ซึ่งไดบัญญัติไวในทํานองเดียวกับกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิ

ทางการเมืองเฉพาะขอ 9 (5) วาบุคคลใดที่ถูกจับกุมหรือถูกควบคุมโดยไมชอบดวยกฎหมายมีสิทธิไดรับคาสินไหม ทดแทน

สําหรับประเด็นนี้ ประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ไดกําหนดคาทดแทนจากความเสียหายของจําเลยที่

ถูกคุมขังอยูระหวางการพิจารณาคดีอาญาในอัตราวันละ 25 ยูโร สวนประเทศนอรเวย จะไมมีการกําหนดอัตรา คาชดเชยไวขึ้นอยูกับขอเท็จจริงเปนรายกรณี และประเทศสวีเดน ไมมีการกําหนดอัตราจํานวนเงินที่รัฐจะตองจายใหแก

จําเลย ไมวาจะเปนความเสียหายอยางใด ๆ แตประเทศญี่ปุน จะไมมีการกําหนดจํานวนคาทดแทน แตใหศาลเปนผูใช

ดุลพินิจในการพิจารณากําหนดคาทดแทน ซึ่งจะมีการแกไขจํานวนคาทดแทนดังกลาวตามความเปลี่ยนแปลงของภาวะ เศรษฐกิจ สวนประเทศเกาหลี ไดกําหนดไวในอัตรา วันละอยางนอย 5,000 วอน แตไมเกินอัตราที่รัฐกฤษฎีกากําหนด ซึ่งจะเห็นไดวาแตละประเทศไมมีการกําหนดอัตราคงที่แตจะเปลี่ยนแปลงไปตามขอเท็จจริงและความเสียหายที่เกิดขึ้น รวมทั้งสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม

ดังนั้น จากปญหาดังกลาวจะตองมีการแกไขปรับปรุงพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทน และคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 โดยการแกไขการกําหนดอัตราคาทดแทนการถูกคุมขัง

ขอเสนอแนะ

จากการศึกษาเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคของกฎหมายเกี่ยวกับการจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลย ในคดีอาญาตามพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทน และคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 รวมทั้งการศึกษา แนวคิดและทฤษฎี รวมทั้งกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยใน คดีอาญาทั้งของไทยและของตางประเทศ เห็นไดวาพระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจาย แกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 เมื่อนํามาบังคับใชเกี่ยวกับการจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญายังมี

หลักเกณฑที่จํากัดอยู โดยเฉพาะเงื่อนไขการขอรับคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา อีกทั้งหลักเกณฑการ กําหนดคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา เกี่ยวกับความเสียหายตอจิตใจของผูเสียหายยังไมไดรับความ คุมครอง ซึ่งหากไดมีการแกไขเพิ่มเติมกฎหมายใหเหมาะสมก็จะทําใหจําเลยไดรับการชดเชยเยียวยาความเสียหายที่

เกิดขึ้น ทั้งนี้เพื่อกฎหมายจะไดใชบังคับไดอยางมีประสิทธิภาพและตรงตามเจตนารมณของกฎหมายอยางแทจริง ดังนั้น ผูศึกษาขอเสนอแนะดังตอไปนี้

1. ปญหาเกี่ยวกับการพิจารณาการจายคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา ภายใต

พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย และคาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544 ควรแกไขเพิ่มเติม ในสวนที่เกี่ยวกับเงื่อนไขการขอรับคาทดแทนและคาใชจาย มาตรา 20 โดยศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายของสหพันธ

สาธารณรัฐเยอรมนี นอรเวย สวีเดน ผูศึกษาเห็นควรแกไขในบทบัญญัติ มาตรา 20 (3)

จากเดิมบัญญัติวา มาตรา 20 จําเลยที่มีสิทธิไดรับคาทดแทนและคาใชจายตามพระราชบัญญัตินี้ ตอง (1) เปนจําเลยที่ถูกดําเนินคดีโดยพนักงานอัยการ

(2) ถูกคุมขังในระหวางพิจารณาคดี และ

New_1-8-62.indd 219

New_1-8-62.indd 219 2/8/2562 13:26:062/8/2562 13:26:06

Referensi

Dokumen terkait

كانه  نيتقيرط دادعلإ تاءاصحإ لوح عاطقلا ريغ يمسرلا : ةقيرطلا ةرشابملا ةلثمتملا يف زاجنإ حسم صاخ تادحول جاتنلاا يتلا طشنت يف عاطقلا ريغ ،يمسرلا فدهب فوقولا ىلع تازيمم صئاصخو