• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทคัดยอ

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2024

Membagikan "บทคัดยอ"

Copied!
24
0
0

Teks penuh

(1)

การวิเคราะหปญหาของผลประโยชนทับซอน ของผูบริหารประเทศ

สมพจน กรรณนุช 1

บทคัดยอ

ความไมเขาใจปญหาของผลประโยชนทับซอน ทําใหประชาชน ขาดหลักเกณฑในการวินิจฉัยความผิดเกี่ยวกับผลประโยชนทับซอน และเขาใจผิดวาผลประโยชนทับซอนไมนาจะมีปญหาการทุจริต และวา การเปนเจาของธุรกิจเปนความชอบธรรมของบุคคลผูมีฐานะร่ํารวยที่จะ เขาสูการมีอํานาจทางการเมือง จึงไมนาจะเปนเหตุผลของความทุจริต หรือเห็นวาไมนาจะมีความสําคัญที่จะตองใสใจในการตัดสินใจ ลงคะแนนเลือกตั้ง ปญหาผลประโยชนทับซอนของนักการเมืองเปน ความลมเหลวของสังคม เมื่อใดที่สังคมมีนักการเมืองที่มีผลประโยชนทับ ซอน สถานการณเชนนี้แสดงใหเห็นความผิดปกติของสังคมหรือเปน สถานการณที่ผิดเพี้ยนไปจากทํานองครองธรรม และมีธรรมชาตินําไปสู

ความขัดแยงในสังคม และนําไปสูความสูญเสียกับทุกฝาย โดยหลักการ นักการเมืองที่เขามาเปนรัฐบาลมีหนาที่เปนบุคคลที่สามทําหนาที่กํากับ ดูแล “ขอตกลงของสังคม (Social Contract)” ซึ่งหมายถึงกฎหมาย กฏเกณฑ กติกาของสังคม เมื่อสังคมลมเหลวในการสกัดกั้นปญหา ผลประโยชนทับซอนของนักการเมือง สภาวะเชนนี้ยอมเปดทางใหสังคม เดินเขาสูแดนของสังคมทาส ปราศจากอิสรภาพในการดํารงชีวิต

1ผูชวยศาสตราจารย คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

(2)

ประกอบอาชีพ มีความเปนอยูแบบแรนแคน เนื่องจากตองทํางานสงสวย ใหกับผูปกครอง นักการเมืองมีผลประโยชนทับซอนยอมมีผลประโยชน

จูงใจใหสะสมอํานาจทางการเมืองเพื่อเพิ่มพูนความมั่งคั่งใหตนเองและ ใชความมั่งคั่งสะสมอํานาจทวีคูณอยางไมรูจบ รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มีบทบัญญัติใหนักการเมืองปลอดจาก ผลประโยชนทับซอนแตยังคงลมเหลวในการสกัดกั้นปญหาผลประโยชน

ทับซอน ความขัดแยงเพื่อสกัดกั้นปญหาผลประโยชนทับซอนและการ แกไขรัฐธรรมนูญจึงเปนความชอบธรรมในการปองกันสังคมไทยมิใหกาว เขาสูแดนของสังคมทาส และในการรักษาสมดุลของขั้วความขัดแยง เพื่อใหปราศจากการครอบงําแบบเบ็ดเสร็จเพื่อคุมครองอิสรภาพและ เสรีภาพของคนไทยอยางเสมอภาค

Abstract

Poor understanding of the problem of politician’s hidden interest precludes the public from making a sound judgment at election. Making a connection between corruption and business man politician is difficult for a lay person. Many naively believe that it is business man’s rights to enter into politics to protect his interest, and there is no cause for alarm about corruption. Some voters ignore this problem and feel that corrupted politicians are acceptable. On the other hand, some people do not accept corrupted politicians, but find it difficult to communicate the idea based on technical analysis. The problem of politician’s hidden interest is society’s failure. As politician with hidden interest

(3)

holds ruling power, the society is considered to have slipped into disastrous track. When social conflict emerges, all parties lose.

In principle, a government must act as a third person in charge of protecting “social contract”, i.e., the laws. When a society fails to elect a government without hidden interest, a society enters into a slavery state. There will be no freedom to live, to work, or to earn. Earnings will be heavily taxed, and labor will be severely exploited as slave. If a party of politician with hidden interest can get hold of power, there will be endless thirst of wealth and power. Thai constitution B.E. 2540 was designed to protect the Thai society from corrupted politician. The Kingdom of Thailand, however, has failed to keep corrupted politicians out. Corrupted politician inevitably confront social pressure and political boycott. A call for a revision of Thai Constitution is a movement to protect Thai society from entering into a slavery state and to protect against harm to freedom.

(4)

1. ความเปนมา

รัฐธรรมนูญของราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มีบทบัญญัติ

หามรัฐมนตรีมีผลประโยชนทับซอน 2 คือหามรัฐมนตรีประกอบธุรกิจ

2 ผลประโยชนทับซอน (Conflict of Interests) มีความหมายเชนเดียวกับผลประโยชนซอนเรน (Hidden Interests) หมายถึงการที่บุคคลมีหนาที่และความรับผิดชอบในกิจการที่หนึ่ง แตกลับมีสวนไดรับผลประโยชนใน กิจการที่สองที่เปนคูแขงขันกับกิจการที่หนึ่ง ยอมปฏิบัติหนาที่และรับผิดชอบในกิจการที่หนึ่งในลักษณะขัดแยง กับการดําเนินงานในกิจการที่หนึ่งเนื่องจากมีความผูกพันที่จะคุมครองผลประโยชนของกิจการที่สอง Wikipedia, the free encyclopedia (Wikipedia, the free encyclopedia, available online at http://en.wikipedia.org/wiki/Conflict_of_interest, 27 October 2006) อธิบายความหมายของผลประโยชนทับ ซอนดังนี้ .A conflict of interest is a situation in which someone in a position of trust, such as a lawyer, a politician, or an executive or director of a corporation, has competing professional or personal interests.

Such competing interests can make it difficult to fulfill his or her duties impartially. Even if there is no evidence of improper actions, a conflict of interest can create an appearance of impropriety that can undermine confidence in the ability of that person to act properly in his/her position.In the legal profession, the duty of loyalty owed to a client is generally supposed to preclude an attorney (or a law firm) from representing persons with interests adverse to those of the client. As perhaps the most common example encountered by the general public, the same firm will not represent both parties in a divorce case. More generally, conflict of interest can be defined as any situation in which an individual or corporation (either private or governmental) is in a position to exploit a professional or official capacity in some way for their personal or corporate benefit. Having a conflict of interest is not, in and of itself, evidence of wrongdoing. In fact, for many professionals, it is virtually impossible to avoid having conflicts of interest from time to time. A conflict of interest can, however, become a legal matter if an individual tries (and/or succeeds in) influencing the outcome of a decision, for personal benefit. A director or executive of a corporation will be subject to legal liability if a conflict of interest breaches their Duty of Loyalty. There often is confusion over these two situations. Someone accused of a conflict of interest may deny that a conflict exists because he/she did not act improperly. In fact, a conflict of interest does exist even if there are no improper acts as a result of it. (One way to understand this is to use the term "conflict of roles". A person with two roles - an individual who owns stock and is also a government official, for example - may experience situations where those two roles conflict. The conflict can be mitigated - see below - but it still exists. In and of itself, having two roles is not illegal, but the differing roles will certainly provide an incentive for improper acts in some circumstances.)

(5)

หรือเปนเจาของธุรกิจ 3 ในทางปฏิบัติหลักการหามรัฐมนตรีมี

ผลประโยชนทับซอนประสบความลมเหลวจึงมีกรณีอื้อฉาวการขายหุน ของตระกูลนักการเมือง ตามที่เปนขาวในหนาหนังสือพิมพและสื่อตางๆ ในตนป พ.ศ. 2549 4 ทําใหสาธารณะมีความคลางแคลงใจเกี่ยวกับ

3 มาตรา 208 รัฐมนตรีจะดํารงตําแหนงหรือกระทําการใดตามที่ บัญญัติใน มาตรา 110 มิไดเวน แตตําแหนงที่ตองดํารงตามบทบัญญัติ แหงกฎหมาย และจะดํารงตําแหนงใดในหางหุนสวน บริษัทหรือ องคการที่ดําเนินธุรกิจโดยมุงหาผลกําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน หรือเปนลูกจางของ บุคคลใดก็มิไดดวย

มาตรา 209 รัฐมนตรีตองไมเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหาง หุนสวนหรือบริษัทหรือไมคงไวซึ่ง ความเปนหุนสวนหรือผูถือหุนใน หางหุนสวนหรือบริษัทตอไป ทั้งนี้ตามจํานวนที่กฎหมาย บัญญัติใน กรณีที่รัฐมนตรีผูใดประสงคจะไดรับประโยชนจากกรณีดังกลาวตอไป ใหรัฐมนตรีผู

นั้นแจงใหประธานกรรมการปองกันและปราบปราม การทุจริตแหงชาติทราบภายในสามสิบวัน นับแตวันที่ไดรับแตงตั้ง และใหรัฐมนตรีผูนั้นโอนหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทดังกลาวให นิติ

บุคคลซึ่งจัดการทรัพยสินเพื่อประโยชนของผูอื่น ทั้งนี้ ตามที่ กฎหมายบัญญัติ หามมิใหรัฐมนตรี

ผูนั้นกระทําการใดอันมีลักษณะเปนการเขาไป บริหารหรือจัดการใด ๆ เกี่ยวกับหุนหรือกิจการ ของหางหุนสวน หรือบริษัทดังกลาว

มาตรา 110 สมาชิกสภาผูแทนราษฎรตอง (1) ไมดํารงตําแหนงหรือหนาที่ใดในหนวยราชการ หนวยงาน ของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจหรือ ตําแหนงสมาชิกสภาทองถิ่นผูบริหาร ทองถิ่น หรือ พนักงานทองถิ่น ทั้งนี้ นอกจากขาราชการการเมืองอื่น ซึ่งมิใชรัฐมนตรี (2) ไมรับสัมปทานจากรัฐ หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือ รัฐวิสหกิจ หรือเขาเปนคูสัญญากับรัฐ หนวยราชการ หนวยงานรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ อันมีลักษณะการผูกขาดตัดตอนหรือเปนหุนสวน หรือผูถือหุนใน หางหุนสวนหรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเขาเปนคู สัญญาในลักษณะดังกลาว (3) ไมรับเงินหรือ ประโยชนใดๆ จากหนวยราชการ หนวยงาน ของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเปนพิเศษนอกเหนือไปจากที่

หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ปฏิบัติกับบุคคลอื่นๆ ในธุรกิจการ งานตามปกติ

(กฎหมายดอตคอม (2549), กฏหมายไทย, 24 กรกฎาคม 2549, http://www.kodmhai.com/m1/m1-98-120.html#m110)

4 สุรพศ ทวีศักดิ์ (2549) “ขายหุนชินคอรป ‘ทักษิณ’ ลมละลายทางจริยธรรม”, http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9490000016020, 6 กุมภาพันธ 2549, 16:14 น.

(6)

ความเปนเจาของทรัพยสิน การเพิ่มมูลคาหุนอยางรวดเร็ว ปญหาทุจริต ในการปฏิบัติงาน ในการเขาสูอํานาจ และประชาชนจํานวนมากไมเขาใจ ปญหาของผลประโยชนทับซอน 5 ไมสามารถวินิจฉัยความผิดเกี่ยวกับ ผลประโยชนทับซอน หรือเห็นวาผลประโยชนทับซอนไมนาจะมีปญหา การทุจริต หรือคิดเอาเองวาการเปนเจาของธุรกิจเปนความชอบธรรม ของบุคคลผูมีฐานะร่ํารวยที่จะเขาสูการมีอํานาจทางการเมืองจึงไมนาจะ เปนเหตุผลของความทุจริต หรือเห็นวาไมนาจะมีความสําคัญที่จะตองใส

ใจในการตัดสินใจลงคะแนนเลือกตั้ง จึงเกิดปญหาการแบงเปนฝกฝาย ของประชาชน เปนความขัดแยงระหวางฝายที่นิยมขั้วการเมือง ฝายรัฐบาลกับฝายที่ตอตานฝายรัฐบาล การอธิบายเหตุผลของการนิยม ขั้วการเมืองฝายรัฐบาลที่ปรากฏในสาธารณะมักมีปญหาความลมเหลว ในหลักการวินิจฉัยและการวิเคราะหจึงเปนการอธิบายโดยใชความเชื่อ และทัศนคติ ดังนั้นบทความนี้จึงอธิบายหลักการและเหตุผลของการมี

บทบัญญัติหามรัฐมนตรีมีผลประโยชนทับซอนโดยการวิเคราะหปญหา ของผลประโยชนทับซอนของผูบริหารประเทศ

การวิเคราะหเริ่มจาก การอธิบายเหตุผลของความจําเปนที่

สังคมมนุษยตองมีรัฐบาลโดยใชทฤษฎีเกมที่มีชื่อเสียงคือ ความลมเหลว

5 ตัวอยางที่ดีของกรณีผลประโยชนทับซอน คือ กรณีการบินไทยกับสายการบินแอรเอเชีย (Thai Technics.Com 2549, การบินไทย VS แอรเอเชีย,

http://www.thaitechnics.com/webboard/view.php?topic=4722, วันที่ 27 ตุลาคม 2549 และ Thai Technics.Com 2549, “เปดโปงแผนอุบาทวทําลายบินไทย-ยกเวนภาษีแอรเอเซีย 8 ป

และยังลดคาเชาสนามบินถึง 50 เปอรเซ็นต”

http://www.thaitechnics.com/webboard/view.php?topic=5183 วันที่ 27 ตุลาคม 2549

(7)

ของผูตองหา (Prisoners’ Dilemma) เปนเครื่องมือของการวิเคราะห

(หัวขอที่ 2) กําเนิดของรัฐบาล (หัวขอที่ 3) ปญหาผลประโยชนทับซอน (หัวขอที่ 4) การปกปองสิทธิและเสรีภาพของมนุษย (หัวขอที่ 5) และ สรุป (หัวขอที่ 6)

2. ทฤษฎีเกมความลมเหลวของผูตองหา (Prisoners’ Dilemma)

ทฤษฎีเกมความลมเหลวของผูตองหา (Prisoners’ Dilemma) 6 เปนแบบจําลอง ใชพยากรณการตัดสินใจที่ไมมีทางเลือกอื่นนอกจาก การเลือกยุทธศาสตร (Strategy) ของผูเลนในเกมที่ยอมรับความ เสียหายทั้งสองฝาย จึงมีชื่อเรียกวาทฤษฎีเกมความลมเหลวของ ผูตองหา เมื่อบุคคลผูเลนในเกมไมสามารถควบคุมพฤติกรรมของบุคคล ผูเลนในเกมอีกฝายได ทฤษฎีเกมความลมเหลวของผูตองหา จึงเปน เครื่องมือที่เหมาะสมสําหรับการวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับสวนรวม (Collective Choice) โดยพยากรณไดวาหากผูเลนในเกมเลือก ยุทธศาสตรรวมมือกันจะทําใหเกิดประโยชนสวนรวมกับทุกฝาย ผลของ เกมคือมีผูชนะทุกฝาย (Win-Win Solution) แตเมื่อผูเลนในเกมเลือก ยุทธศาสตรเอาตัวรอดโดยยึดถือประโยชนสวนตน ผลของเกมคือมี

ผูเสียหายทุกฝาย จึงนําไปสูความหายนะกับทุกๆฝาย ประเด็นเกี่ยวกับ เกมความลมเหลวของผูตองหา (Prisoners’ Dilemma) มีดังนี้

6 The Prisoner's dilemma was originally framed by Merrill Flood and Melvin Dresher working at RAND in 1950. Albert W. Tucker formalized the game with prison sentence payoffs and gave it the "Prisoner's Dilemma" name (Poundstone, 1992) see Wikipedia (2006), The classical prisoner's dilemma, research on 24 July 2006,

http://en.wikipedia.org/wiki/Prisoner's_dilemma#The_classical_prisoner.27s_dilemma

(8)

ตํารวจพบและสงสัยชาย 2 คน วาจะทําความผิด เมื่อตรวจคนพบ วาพกพาอาวุธผิดกฎหมาย จึงแจงขอหาสงสัยกระทําความผิดปลน และพกพาอาวุธ และพาไปสอบสวนโดยแยกหองไมใหผูตองหาปรึกษากัน ไดพนักงานสอบสวนไมมีหลักฐานหรือพยานการกระทําความผิดปลนใด ๆ จึงใชวิธีสอบสวนโดยการแจงกับผูตองหาทั้งสองวา ความผิดในขอหาปลน มีโทษจําคุก 10 ป หากสารภาพจะไดลดหยอนโทษจําคุกเพียง 5 ป

หากสารภาพและชี้ความผิดเพื่อนที่ปฏิเสธการทําความผิดจะกันใหเปน พยานและปลอยตัวโดยไมตองรับโทษจําคุกเลย หากทั้งสองคนปฏิเสธการ ทําความผิดจะตองไดรับโทษในขอหาพกพาอาวุธมีความผิดจําคุก 1 ป

การไตรตรองของผูตองหาทั้งสองมีทางเลือก 4 ชองทาง ตามที่

แสดงใน ตารางที่ 1 คือ

ทางเลือกที่ 1 ผูตองหาทั้งสองรวมมือกันไมสารภาพ จะไดรับ โทษจําคุกคนละ 1 ป ในขอหาพกพาอาวุธ

ทางเลือกที่ 2 ผูตองหา ก สารภาพ และผูตองหา ข ไมสารภาพ ทํา ใหผูตองหา ก ไมตองรับโทษจําคุก และผูตองหา ข ไดรับโทษจําคุก 10 ป

ทางเลือกที่ 3 ผูตองหา ข สารภาพ และผูตองหา ก ไมสารภาพ ทํา ใหผูตองหา ข ไมตองรับโทษจําคุก และผูตองหา ก ไดรับโทษจําคุก 10 ป

ทางเลือกที่ 4 ผูตองหา ก และผูตองหา ข ตัดสินใจสารภาพ ทํา ใหผูตองหา ก และผูตองหา ข รับโทษจําคุกคนละ 5 ป

เนื่องจากตํารวจใชยุทธศาสตรแยกสอบสวน ผูตองหาจึงไม

สามารถปรึกษานัดแนะและทําความตกลงกันได การใชสามัญสํานึกทํา ใหผูตองหาทั้งสองคนไมสามารถไววางใจการตัดสินใจของเพื่อนอีกคนที่

อาจจะชิงสารภาพและใหการเปนพยานความผิดของตน ทําใหตนตอง

(9)

ไดรับโทษจําคุกเพียงคนเดียว 10 ป แตเพื่อนจะไดรับการปลอยตัว โอกาสที่จะเกิดกรณีที่ 1 จึงมีนอยมาก และไมนาไววางใจ ยุทธศาสตร

การตัดสินใจตามสามัญสํานึก และไมอาจจะหลีกเลี่ยงได คือ ยุทธศาสตรสารภาพ เปนผลใหผูตองหาทั้งสองไดรับโทษจําคุกคนละ 5 ป

ยุทธศาสตรที่ไมอาจหลีกเลี่ยงไดนี้ มีผลใหผูตองหาทั้งสองเสีย ประโยชน ผูตัดสินใจปราศจากอํานาจควบคุมเงื่อนไขภายนอก จึง จําเปนตองเลือกยุทธศาสตรที่ทั้งสองฝายเสียประโยชนรวมกัน ประสพการณของผูตองหาทั้งสองยอมสอนใหเกิดความรวมมือใน ภายหลัง แตความรวมมือก็ไมใชยุทธศาสตรที่ถาวร

ตารางที่ 1 ทฤษฎีเกมความรวมมือของผูตองหาเพื่อหนีความหายนะ—

Prisoners’ dilemma

ยุทธศาสตร

ผูตองหา ข ไมสารภาพ สารภาพ

ไมสารภาพ 1, 1 10, 0

ยุทธศาสตร

ผูตองหา ก สารภาพ 0, 10 5, 5

ทฤษฎีเกมความลมเหลวของผูตองหา (Prisoners’ Dilemma) ใชอธิบายปรากฏการณเกี่ยวกับปญหาของสวนรวมไดดี เชน ปญหาการ ใชทรัพยากรสาธารณะรวมกันของคนจํานวนมาก ปญหาความเสื่อม โทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่ไมมีบุคคลมีกรรมสิทธิ์

ปญหาเหลานี้มีลักษณะเดียวกันคือบุคคลมีการตัดสินใจเปนอิสระ ไมมี

การสื่อสารเพื่อตกลงเกี่ยวกับกฎเกณฑหรือกติการะหวางกัน ทฤษฎีเกม

(10)

ความลมเหลวของผูตองหาจึงพยากรณวาเมื่อทุกฝายไมสามารถตกลง ความรวมมือกันผลลัพธคือทุกฝายรวมกันสูญเสียประโยชน ความ ลมเหลวของการตกลงรวมมือกันมีความหมายเชนเดียวกันกับการ เบียดเบียนกัน สาเหตุของความลมเหลวคือความเห็นแกประโยชนสวน ตนและสัญชาติญาณเอาเปรียบบุคคลอื่น ซึ่งเปนธรรมชาติของมนุษย

จึงเปนสัจจะธรรมที่สถานการณเชนนี้นําไปสูความหายนะ ซึ่งมนุษยทุก คนตระหนักได แตกลับเปนเสนทางที่ไมสามารถหลีกเลี่ยงได

การรวมมือกันเปนผลของการเรียนรูความสูญเสีย ความหายนะ แตสังคมที่มีพัฒนาการจนเปนปกแผนมั่นคงนับวาเกิดจากความรวมมือ มากกวาความเห็นแกตัว หรือเห็นแกประโยชนสวนตน ในดานตรงขาม สังคมที่ประสบแตความหายนะนับวาเปนสังคมที่ขาดการรวมมือกัน กําจัดปญหาการเอาเปรียบและเบียดเบียนซึ่งกันและกัน

ทฤษฎีเกมความลมเหลวของผูตองหาใชอธิบายกําเนิดและ หนาที่ของรัฐบาลคือเปนบุคคลที่ไดรับมอบหมายใหเปนคนกลางทํา หนาที่บังคับใชกฏเกณฑและกติกากับสังคมดังนี้ (Mueller 1989; สม พจน กรรณนุช 2544)

นาย แดง เลี้ยงปศุสัตว—นาย ดํา ปลูกขาวโพด—ทั้งสองฝาย สามารถสรางความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ และมั่นคง มากขึ้น โดยตางได

ประโยชนรวมกัน เมื่อมีการแลกเปลี่ยนปศุสัตว กับ ขาวโพด อยางไรก็ดี

ทางเลือกสําหรับ นาย แดง กับ นาย ดํา มิใชมีเพียงการแลกเปลี่ยน ผลผลิต หรือสิ่งของของตนเทานั้น—นาย แดง อาจจะมีความคิดเอา เปรียบและเลือกที่จะขโมยขาวโพดของนาย ดํา (แทนที่จะเอาปศุสัตวไป แลก)—และ ในทํานองเดียวกัน—นาย ดํา ก็อาจมีความคิดเอาเปรียบและ

(11)

เลือกที่จะขโมยปศุสัตวของนาย แดง (แทนที่จะเอาขาวโพดไปแลก)—หรือ ทั้งนาย แดง และนาย ดํา เลือกที่จะตอบโตซึ่งกันและกันโดยการขโมย

การขโมยเปนเกมที่ไมสรางสรรค มีผูชนะและมีผูแพ สังคมไมได

ประโยชนเพิ่มขึ้น เนื่องจากผูชนะไดประโยชน หักออกดวยความเสียหาย ของผูแพไดผลลัพธเปนศูนย (Zero-Sum Game)—ในทางตรงขาม การ แลกเปลี่ยน หรือ การคา เปนเกมที่สรางสรรค เนื่องจากทั้งสองฝายลวน ไดประโยชนเพิ่มขึ้น และสังคมจึงไดประโยชนเพิ่มขึ้น (Positive-Sum Game) ทั้งนี้การแลกเปลี่ยน หรือ การคามีลักษณะของความรวมมือ จึง เรียกไดวาเปน เกมความรวมมือ (Cooperative Game) และเปนเกมของ สวนรวม (Collective Choice) ที่ทําใหทุกฝายไดประโยชน—ในกรณี

แลกเปลี่ยน—ทั้งสองฝายมีเศรษฐกิจดีขึ้น หรือไดประโยชนเพิ่มขึ้น โดย ทําใหเกิดความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ และมั่นคงทั้งสองฝาย—อยางไรก็ดี

ความรวมมือเปนพฤติกรรมที่ปราศจากความมั่นคง เนื่องจากมนุษยมีกิ

เลศเปนธรรมชาติ มีความอยากไดความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ และความ มั่นคงเหนือกวาผูอื่น และมีความปรารถนาที่จะมีอํานาจเหนือผูอื่น เพื่อ ดํารงความมั่นคงของตน ดังนั้นจึงทําใหทั้งสองฝายแสวงหาโอกาสที่จะ ลักลอบขโมยซึ่งกันและกันหากประสบโอกาส ซึ่งผลลัพธที่ไดคือ เศรษฐกิจของทั้งสองฝายเลวลง เกิดความสูญเสียความอุดมสมบูรณ

ความมั่งคั่ง และความมั่นคง—นักเศรษฐศาสตรในสมัยบุกเบิก เชน อดัม สมิธ (Adam Smith) ตระหนักในความสําคัญของผลประโยชนสวนรวม (Collective Interest) พอๆกับ ระบบตลาด และกลไกของระบบตลาด (Invisible Hand Market Mechanism)

(12)

การวิเคราะหเปรียบเทียบความสัมพันธเชิงการคา กับ ความสัมพันธเชิงโจรกรรมแสดงใน ตารางที่ 2

ตารางที่ 2 การประยุกตทฤษฎีเกมความลมเหลวของผูตองหา เพื่อ อธิบายความลมเหลวของการตกลงรวมมือทางการคา

ตารางที่ 2 แสดงใหเห็นเศรษฐกิจของ แดง และ ดํา ในชอง หมายเลข 1 เมื่อทั้ง แดง และ ดํา คาขายแลกเปลี่ยนสินคา สิ่งของ ระหวางกัน—หรือไมขโมยซึ่งกันและกัน

ในชองหมายเลข 4—เศรษฐกิจของทั้งสองฝายเลวลง—เมื่อทั้ง สองฝายเลือกที่จะขโมยซึ่งกันและกัน

ทั้งสองฝายมีเศรษฐกิจดีขึ้นเมื่อเปลี่ยนจากลักขโมยกันในชอง หมายเลข 4 ไปสู คาขายระหวางกัน หรือ แลกเปลี่ยนกัน ในชอง หมายเลข 1

แตจะเห็นวา—ในชองหมายเลข 2 และ 3—หากฝายหนึ่งฝายใด ขโมยจากอีกฝายได ก็จะทําใหเศรษฐกิจของตนดีกวาในชองหมายเลข 1—ความเห็นแกตัวหรือ กิเลศ เปนเหตุจูงใจใหมีการลักขโมยเกิดขึ้น—

ดํา

นิยมการคา นิยมขโมย

นิยม การคา

1

แดง (10—ปศุสัตว, 9—ขาวโพด) ดํา (8—ปศุสัตว, 6—ขาวโพด)

2

แดง (6—ปศุสัตว, 5—ขาวโพด) ดํา (10—ปศุสัตว, 9—ขาวโพด) แดง

นิยม ขโมย

3

แดง (10—ปศุสัตว, 10—ขาวโพด) ดํา (5—ปศุสัตว, 3—ขาวโพด)

4

แดง (7—ปศุสัตว, 5—ขาวโพด) ดํา (7—ปศุสัตว, 5—ขาวโพด)

(13)

และถาทั้งสองฝายแขงขันกันขโมย ก็จะเขาสูสถานะในชองหมายเลข 4 คือทําใหเศรษฐกิจเลวลงกวาในชองหมายเลข 1 ทั้งคู

เมื่อทั้งสองฝายเรียนรูวาเศรษฐกิจของตนจะดีขึ้นหากยุติการ แขงขันกันขโมยซึ่งกันและกัน—จึงแสวงหาความตกลงที่จะยุติการขโมย และกําหนดกติกาความรวมมือแลกเปลี่ยนสินคากัน การตกลงกันไดวา จะยุติการขโมยกัน เปนเงื่อนไขที่จะทําใหทั้งสองฝายรวมกันไดประโยชน

3. กําเนิดของรัฐบาล

ขอตกลงรวมมือกันยุติการขโมยจะไมสามารถยืนหยัดอยูไดหาก ปราศจากระบบคุมกัน หรือระบบรับประกัน—ดังนั้น—แดง และ ดํา ตระหนักในความจําเปนที่จะตองรวมเสียสละทรัพยสินบางสวน เพื่อจาง บุคคลที่สามที่จะไดรับมอบหมายใหคอยตรวจสอบ ดูแลกฎเกณฑและ กติกาของการตกลงยุติการลักขโมย เชน ตํารวจ ทหาร เจาหนาที่ดับเพลิง ดังนั้น บุคคลที่สามดังกลาวจึงมีความหมายสําหรับ แดง และ ดํา ในการ ชวยผดุงความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ความอุดมสมบูรณ และความมั่นคงของ ตน—และ ในสังคมที่มีสมาชิกจํานวนมาก บุคคลบางคนอาจจะนิยมเอา เปรียบจึงหลีกเลี่ยงหลบซอนไมยอมรวมสละทรัพยสินเปนคาใชจาย สําหรับการบริการสาธารณะดังกลาว แตลักลอบไดประโยชนจากบริการ ดังกลาวอยู เรียกวา ผูลักลอบไดประโยชน (Free Rider)

รัฐบาลกําเนิดขึ้นในสังคมมนุษยเพื่อทําหนาที่เปนบุคคลที่สาม สําหรับ แดง และ ดําในการกํากับดูแลขอตกลงระหวาง แดง และ ดํา รัฐบาลจึงประกอบขึ้นดวยบุคคลที่ทําหนาที่เกี่ยวกับกิจการสาธารณะ (Public Affairs) เชน การทํางานของ ตํารวจ ทหาร เจาหนาที่ดับเพลิง และอื่นๆ ซึ่งนักเศรษฐศาสตรนิยามผลผลิตหรืองานเหลานี้วา “ประโยชน

(14)

สาธารณะ (Public Goods)” เพราะมีคุณสมบัติที่ใหประโยชนกับ สวนรวม หรือปราศจากประโยชนสวนบุคคล และไมสามารถปดกั้นการ ใชประโยชนของบุคคลใดๆ—และความลมเหลวของการจัดการผลิต

“ประโยชนสาธารณะ” คือบุคคลผูรวมไดรับประโยชนจาก “ประโยชน

สาธารณะ” หาทางหลีกเลี่ยงการเสียสละทรัพยสินเพื่อเปนคาใชจายใน การผลิต “ประโยชนสาธารณะ” คือการหลีกเลี่ยงการเสียภาษี คําอธิบาย ปญหาความลมเหลวของการจัดการผลิต “ประโยชนสาธารณะ” คือการ ที่บุคคลในสังคมตางมีธรรมชาติเห็นแกตัว พยายามเล็ดรอดเอาเปรียบ หลบเลี่ยงการใหความรวมมือ หลบเลี่ยงการเสียสละทรัพยสินของตน เพื่อสนับสนุนกิจกรรมสาธารณะ แตกลับลักลอบไดประโยชนจากบริการ ของกิจกรรมสาธารณะ ซึ่งเปนการเคลื่อนจากแดนของชองหมายเลข 1 ไปยังชองหมายเลข 2 หรือ ชองหมายเลข 3 ใน ตารางที่ 2 ซึ่งเมื่อมี

บุคคลที่เล็ดรอดเอาเปรียบหลบเลี่ยงการใหความรวมมือ หลบเลี่ยงการ เสียสละทรัพยสินของตนเพื่อสนับสนุนกิจกรรมสาธารณะ แตยังคง ลักลอบไดประโยชนจากบริการของกิจกรรมสาธารณะ ไดสําเร็จ ก็จะเกิด เปนตัวอยาง นําไปสูการปฏิบัติตามของบุคคลอื่นๆ และเมื่อขยาย ขอบเขตกวางขวางขึ้น ก็ยอมกอใหเกิดความสูญเสียในลักษณะสวนรวม ในแบบจําลอง ตารางที่ 2 แมวา จะเปนที่ชัดเจนวา ในชอง หมายเลข 1 การคาขายแลกเปลี่ยนกันและไมขโมยกัน จะเปนทางเลือก ที่ดีที่สุดสําหรับสวนรวม—แตบุคคลผูมีกิเลศ ความเห็นแกตัว ยอมตอง แสวงหาโอกาสที่จะลักขโมย หรือ ชอบที่จะเคลื่อนไปสูชองหมายเลข 2 หรือ 3—ลักษณะเชนนี้ ทําใหเงื่อนไขในชองหมายเลข 1 เปนสภาวะ ปราศจากดุลยภาพที่ถาวร—แตสภาวะในชองหมายเลข 4 เปนสภาวะ

(15)

ดุลยภาพถาวร—หรือเรียกวาเปนยุทธศาสตรหลัก (Dominant Strategy)—แตเปนยุทธศาสตรของการแขงขันสูหายนะของสวนรวม

การทําใหเงื่อนไขในชองหมายเลข 1 บังเกิดขึ้น—จําเปนตองมี

ระบบคุมกันกติกาของสวนรวม—เมื่อจํานวนบุคคลที่อยูในเกมมีจํานวน นอย—การตรวจสอบพฤติกรรมการฉอโกงกระทําไดงาย—แตเมื่อมี

จํานวนบุคคลในเกมจํานวนมาก—การตรวจสอบพฤติกรรมการฉอโกง กระทําไดยากหรือมีคาใชจายสูงเกินไป—บุคคลบางคนอาจจะฉวย โอกาสฉอโกง หรือ เอาเปรียบ เมื่อการตรวจสอบทําไดยาก—การบังคับ ใชกฎหมายและการลงโทษจึงมีความจําเปนสําหรับการดํารงรักษาความ มั่งคั่ง อุดมสมบูรณ และมั่นคงของสังคม

4. ปญหาผลประโยชนทับซอน

ทฤษฎีเกมความลมเหลวของผูตองหา ซึ่งอธิบายความลมเหลว ของการตกลงรวมมือทางการคาแสดงใหเห็นวาความรวมมือที่ยั่งยืนจะ เกิดขึ้นไดตอเมื่อมีบุคคลที่สามซึ่งเปนกลางไดรับมอบหมายใหทําหนาที่

กํากับดูแลขอตกลงระหวางนายดําและนายแดง หากมีฝายหนึ่งฝายใด กระทําละเมิดขอตกลง ทําใหมีการเบียดเบียนกันบุคคลที่สามที่เปน กลางไดรับมอบอํานาจใหชี้ความผิดและวินิจฉัยโทษฝายที่กระทําผิดได

การทําหนาที่ของบุคคลที่สามจึงตองมีความเปนกลาง ไมลําเอียงเขาขาง ฝายหนึ่งฝายใด หากลําเอียงเขากับฝายนายดําก็จะไมไดรับความ ไววางใจและการยอมรับจากฝายนายแดง และในทํานองเดียวกัน หาก ลําเอียงเขากับฝายนายแดงก็จะไมไดรับความไววางใจและการยอมรับ จากฝายนายดํา

(16)

ปญหาผลประโยชนทับซอนหมายถึงการที่บุคคลที่สามมี

ผลประโยชนทางเศรษฐกิจรวมอยูกับฝายนายดําหรือนายแดง หรือการที่

บุคคลที่สามเปนบุคคลที่นายดําหรือนายแดงควบคุมไดหรือบังคับบัญชา ได หรือไมเปนอิสระ

ในทํานองเดียวกันปญหาผลประโยชนทับซอนของนักการเมือง คือการที่นักการเมืองเปนเจาของธุรกิจหรือมีสวนไดสวนเสียกับธุรกิจ หากมีกรณีพิพาทระหวางธุรกิจของตนกับธุรกิจของคูแขง และธุรกิจของ ตนเปนฝายละเมิดขอตกลง นักการเมืองที่เปนเจาของธุรกิจยอมมี

สิ่งจูงใจใหวินิจฉัยการละเมิดขอตกลงของฝายธุรกิจตนเองใหเปน ประโยชนกับฝายธุรกิจของตนเอง ทั้งที่โดยหลักการจะตองมีหนาที่ความ รับผิดชอบกํากับดูแลขอตกลงระหวางธุรกิจที่เปนคูแขง ในหลักการ วิเคราะหเกมความลมเหลวของผูตองหา สถานการณเชนนี้จึงหมายถึง สถานการณที่ปราศจากบุคคลที่สาม การเดินยุทธศาสตรของผูเลนเกม จึงกาวเขาสูแดนในชองที่ 2 หรือชองที่ 3 ของ ตารางที่ 2 และเปนการ กาวไปสูแดนในชองที่ 4 คือมีความเสียหายกับทุกฝาย

ปญหาผลประโยชนทับซอนของนักการเมืองเปนความลมเหลว ของสังคม เมื่อใดที่สังคมมีนักการเมืองที่มีผลประโยชนทับซอน สถานการณเชนนี้แสดงใหเห็นความผิดปกติของสังคมหรือเปน สถานการณที่ผิดเพี้ยนไปจากทํานองครองธรรม และมีธรรมชาตินําไปสู

ความขัดแยงในสังคม และนําไปสูความสูญเสียกับทุกฝาย โดยหลักการ นักการเมืองมีหนาที่เปนบุคคลที่สามทําหนาที่กํากับดูแลขอตกลงของ สังคม เชน กรณีขอตกลงระหวางนายดําและนายแดงใน ตารางที่ 2 ซึ่ง ขอตกลงหมายถึงกฎหมาย กฎเกณฑ กติกาของสังคม นักรัฐศาสตร

(17)

นิยามขอตกลงระหวางนายดําและนายแดงวา “ขอตกลงของสังคม (Social Contract)” 7 และบุคคลที่สามผูมีภารกิจกํากับดูแลขอตกลงของ สังคมคือกําเนิดของรัฐบาล

คํากลาวอางที่วาการเมืองคือการเขาสูอํานาจเพื่อปกปอง ผลประโยชนและเปนความชอบธรรมที่นักธุรกิจจะเขาสูอํานาจการเมือง เพื่อปกปองผลประโยชนของตนและพวกพองจึงเปนแนวความคิดที่

ผิดพลาด ไมสอดคลองกับหลักการ “ขอตกลงของสังคม (Social Contract)” ซึ่งเปนขออธิบายกําเนิดของรัฐบาล เวนแตจะเปนขอยกเวน สําหรับบุคคลที่ไมตองการมีสังคมที่ดีและมีความสงบเปนระเบียบ เรียบรอย หรือบุคคลที่มีแนวคิดประชานิยมโดยใชการครอบงําบุคคล สวนใหญของสังคมดวยลาภยศและผลประโยชนทางเศรษฐกิจโดยไมใส

ใจบุคคลสวนนอย ความหมายที่ถูกตองของการเมืองคือการเปนคน กลางที่ทําหนาที่จัดระเบียบของสังคมอยางเปนธรรม คือการกํากับดูแล ขอตกลงของสังคม (Social Contract) เพื่อบังคับใหทุกคนในสังคมแสดง

7 Social contract theory (or contractarianism) is a concept used in philosophy, political science and sociology to denote an implicit agreement within a state regarding the rights and responsibilities of the state and its citizens, or more generally a similar concord between a group and its members, or between individuals. All members within a society are assumed to agree to the terms of the social contract by their choice to stay within the society without violating the contract; such violation would signify a problematic attempt to return to the state of nature. It has been often noted, indeed, that social contract theories relied on a specific anthropological conception of man as either "good" or "evil" ดู

Wikipedia (2006), “Social Contract”, http://en.wikipedia.org/wiki/Social_contract, research on 24 July 2006,

(18)

พฤติกรรมในแดนของการรวมมือกัน หรือในแดนที่ 1 ของ ตารางที่ 2 และเปนผลใหสังคมมีแตผูชนะ

5. การปกปองสิทธิและเสรีภาพของมนุษย

หลักฐานทางโบราณคดีแสดงใหเห็นวารอยละ 99 ของ ประวัติศาสตรของมนุษยชาติ8 มนุษยมีการดํารงชีวิตโดยการเก็บเกี่ยว พืช ผลไม และลาสัตว ซึ่งมีอยูในธรรมชาติ แสวงหาความสะดวกสบาย ใหกับรางกายโดยการใชซากสัตวเปนเครื่องนุงหมปองกันรางกายจาก การเปลี่ยนแปลงของอากาศ แสวงหาที่หลบภัย เชน รมไม โพลงไม ถ่ํา หรือ ชะงอนหิน และปราศจากความรูเกี่ยวกับการแกปญหาโรคภัยไข

เจ็บ (Nomadic Way of Life) และเมื่อผานพนยุคน้ําแข็งเมื่อประมาณ 15,000 ถึง 8,000 ป กอนคริตศักราช จนถึง 10,000 ถึง 6,000 ป กอน เริ่มตนคริตศักราช เทคโนโลยีของมนุษยจึงวิวัฒนาการเขาสูการ เพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตวเปนอาหาร ไมมีความจําเปนตองเดินทาง ระยะไกลเพื่อหาอาหาร แตมีการอยูรวมกันเปนสังคม หมูบาน และเมือง วิถีชีวิตดังกลาวทําใหมีการแบงงานกันทํา และมีเวลาวางและพลังเหลือ ใชและมากพอที่จะสรางอาณาจักร อํานาจ ทําสงคราม ประวัติศาสตรใน ยุคนี้ ประมาณ 1,200 ถึง 500 ป กอนคริตศักราช เชน อารยธรรมในยุค เมโซโปเตเมีย (Mesopotamia) ซึ่งเปนสังคมที่มีที่ตั้งอยูบริเวณแมน้ําไท กรีส (Tigris) และ ยูเฟรตีส (Euphrates) จึงเปนเรื่องของการทําสงคราม และการยึดครอง

8

(19)

การประมาณการที่นาสนใจ คือ มนุษยในยุคเก็บเกี่ยวผลิตผล ตามธรรมชาติและลาสัตวตองการใชพลังงานระหวาง 2,000 to 5,000 กิโลแคลลอรีตอคนตอวัน ในยุคเริ่มตนสังคมและการเกษตร ตองการใช

พลังงาน 20,000 กิโลแคลลอรีตอคนตอวัน ในยุคเริ่มตนอุตสาหกรรม ตองการใชพลังงาน 60,000 กิโลแคลลอรีตอคนตอวัน และในยุค อุตสาหกรรมสมัยใหม ตองการใชพลังงาน 120,000 กิโลแคลลอรีตอคน ตอวัน 9

การแบงงานกันทํากอใหเกิดการแลกเปลี่ยน กอใหเกิดความ ชํานาญเนื่องจากบุคคลที่เลือกที่จะผลิตสิ่งของเครื่องใชหรือใหบริการใด ยอมเปนผูที่ผลิตงานนั้นๆไดดีกวาผูอื่น จึงไดรับความไววางใจ และสิ่งของ ที่ผลิตไดรับความนิยม กฎเกณฑสําหรับการแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นตาม ธรรมชาติ เชน เสื้อผา 1 ชุด แลกกับแปงสําหรับทําขนมปง 5 กิโลกรัมเปน ตน การแลกเปลี่ยนขยายขอบเขตจากภายในชุมชนเล็กๆ ออกไปสูระหวาง ชุมชน และระหวางภูมิภาค และระหวางทวีป ทําใหการแลกเปลี่ยนมีความ ซับซอน เชื่อมโยงเปนเครือขายขนาดใหญ สิ่งจูงใจสําหรับการแลกเปลี่ยน ในระยะเริ่มตนของการอยูรวมกันเปนสังคมคือความสะดวกสบาย ความ อุดมสมบูรณ ความไมขาดแคลน ความตองการความปลอดภัยจาก อันตรายของธรรมชาติ ซึ่งโดยสรุปความตองการของมนุษยที่พัฒนาใหมี

การแลกเปลี่ยนคือความมั่นคง สิ่งจูงใจสําหรับการแลกเปลี่ยนในระยะ ตอมา ซึ่งมีการแลกเปลี่ยนที่ซับซอน คือ ความมั่งคั่งสวนบุคคล ขยายออก ไปสูความมั่งคั่งของชุมชน และความมั่งคั่งของประเทศ อยางไรก็ดีภัย

9Ecotao Enterprises (2006), “Human Evolution”, Available online at http://www.ecotao.com/holism/huevo/, Research on 24 July 2006

(20)

ธรรมชาติ เชน น้ําทวม ความแหงแลง แผนดินไหว เปนตน และความ ขัดแยงระหวางชุมชน หรือประเทศ เปนเงื่อนไขสําหรับความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ และความมั่งคั่ง จึงเกิดความพยายามที่จะหลีกเลี่ยงปญหา ความไมมั่นคง มีการสะสมความมั่งคั่ง มีการศึกษาวิจัยสาเหตุ ปจจัยที่จะ ดํารงความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ และความมั่นคง เพื่อพัฒนาเครื่องมือใน การจัดการ จึงเกิดการพัฒนาวิทยาการเพื่อศึกษากระบวนการของระบบ เศรษฐกิจ คือ เศรษฐศาสตร ดังนั้นเศรษฐศาสตร คือ วิทยาการซึ่ง ประกอบดวยทฤษฎีสําหรับการพยากรณพฤติกรรมของสังคมเกี่ยวกับการ แลกเปลี่ยน การคา วัตถุสิ่งของ เครื่องมือ และบริการ ซึ่งสังคมประกอบขึ้น จากการอยูรวมกันของบุคคล ผลผลิตที่เปนวัตถุสิ่งของและบริการที่มีการ แลกเปลี่ยน คาขาย จึงเปนสิ่งที่มีคุณคา เนื่องจากเปนประโยชนสําหรับ การดํารงชีวิตอยางมั่นคง อุดมสมบูรณ ลดปญหาจากภัยธรรมชาติ ทําให

สังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

การอยูรวมกันของมนุษยและมีความสัมพันธทางเศรษฐกิจและ การคาระหวางกันทําใหมีความขัดแยงและการเรียนรูความสูญเสียของ ความขัดแยง และการเรียนรูการแกปญหาความขัดแยงโดยการมีขอตกลง ความขัดแยงเกิดจากสัญชาติญาณยึดถือเอาผลประโยชนสวนตนเปน สําคัญ (Self-Interest) ของมนุษย ทําใหมีความคิดหาโอกาสเอาเปรียบ เพื่อใหไดผลประโยชนมากกวาเดิม การเรียนรูการแกปญหาความขัดแยง โดยการมีขอตกลงเกิดจากสมดุลระหวางขั้วความขัดแยง และหาก ปราศจากสภาวะสมดุลระหวางขั้วความขัดแยง ยอมทําใหปราศจากการ แกปญหาความขัดแยงโดยการมีขอตกลงเนื่องจากฝายที่มีอํานาจครอบงํา ไมไดรับความเสียหายมากพอจากการตอบโต เมื่อสังคมไมอยูในสภาวะ

Referensi

Dokumen terkait

*Corresponding author: zainidin@umt.edu.my ARTICLE INFO ABSTRACT Article History: Received 8 JULY 2021 Accepted 7 JUNE 2022 Available online 29 SEPTEMBER 2022 Section Editor:

Alotaibi College of Computer and Information Sciences, King Saud University, Riyadh, Saudi Arabia Received 30 December 2009; accepted 4 July 2010 Available online 8 December 2010

ABSTRACT The taxonomical study of the family Gramineae in Phu Rua National Park, Loei Province was examined by collecting specimens in the field between July 2004 and July 2006.. Five

DESIGNING AUTOMATED SORTING MACHINE FOR ESCARGOT Page 65 of 91 Adrian Tanadi REFERENCES [1] “TOMRA,” Optical Sorting Machine, [Online].. Available:

02, July 2023, pp: 52-64 available online at: https://ejurnal.teknokrat.ac.id/index.php/jice ANALISIS PERBANDINGAN DAYA DUKUNG PONDASI TIANG PANCANG BERDASARKAN DATA N-SPT DAN

International Journal of Trend in Scientific Research and Development IJTSRD Volume 7 Issue 4, July-August 2023 Available Online: www.ijtsrd.com e-ISSN: 2456 – 6470 Processed Food

Kaharuddin Nasution No 113, Pemberhentian Marpoyan, Pekanbaru 28284, Indonesia Received 14 April 2021; revised 20 June 2021; accepted 25 June 2021 Available online 10 July 2021

79/E/KPT/2023 Available online at https://publikasi.polije.ac.id/index.php/jipt ARTICLE INFO Received: 11 July 2023 Accepted: 16 August 2023 Published: 17 October 2023 Kata