• Tidak ada hasil yang ditemukan

ภาวะความจน : มายาภาพของการพัฒนา

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "ภาวะความจน : มายาภาพของการพัฒนา"

Copied!
3
0
0

Teks penuh

(1)

ภาวะความจน : มายาภาพของการพ ัฒนา

ผู ้ช่วยศาสตราจารย์

ชมพู โกติรัมย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ในกระแสโลกาภิวัฒน์ที่เชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจเข ้าด ้วยกันทั่ว โลก ได ้กลายเป็นทั้งโอกาสและภัยคุกคามสำาหรับประเทศต่าง ๆ ในยุค ปัจจุบัน ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศโลกที่สามล ้วนมีความยากจน ทั้งนั้น การพัฒนาเป็นสิ่งพึ่งปรารถนาอย่างยิ่งสำาหรับกลุ่มประเทศด ้อย พัฒนา หนึ่งในบรรดาแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนานั้น มักมุ่งประเด็นไป ยังความก ้าวหน ้าทางเศรษฐกิจเป็นหลัก แนวคิดดังกล่าวนี้ได ้กลาย เป็นแม่แบบการพัฒนาในช่วง 4 ทศวรรษที่ผ่านมาซึ่งตั้งอยู่บนพื้น ฐานความไม่สมดุลระหว่างสองภาคส่วน อุตสาหกรรม – เกษตรกรรม เพราะบางส่วนได ้รับการพัฒนา แต่ทางกลับกันบางส่วนยังสะท ้อนการ ด ้อยพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาในลักษณะนี้เป็นดังภาพมายาที่

ไม่ได ้ฉายภาพซ ้อนหลายมิติของสังคมให ้ปรากฎชัดกล่าวคือภายใต ้ มายาภาพแห่งการพัฒนาได ้สะท ้อนความยากจนบนเส ้นทางห่งกา

รพัฒนามาตลอด อนึ่งนั้นแม่แบบการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย ม ี ลักษณะพึ่งพิงจากต่างประเทศในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ทุน เทคโนโลยี

ตลาด เหล่านี้เป็นต ้น การพึ่งพิงจากภายนอกโดยใช ้ประเทศไทยเป็น ฐานการผลิตเพื่อส่งออกในฐานะมีทุนแรงงานตำ่า และทรัพยากรที่

สมบูรณ์ เมื่อกาลผ่านไป ระบบพึ่งพิงนี้ ได ้ทำาให ้ระบบเศรษฐกิจ ภายในประเทศอ่อนแอ เป็นความอ่อนแอสืบเนื่องจากการไม่พัฒนา เศรษฐกิจระดับฐานรากกล่าวคือ ฐานที่เป็นจุดแข็งของไทย ซึ่งมีอยู่

หลายอย่างด ้วยกัน เช่น อุตสาหกรรม การเกษตร หัตถกรรม อุตสาหกรรมบริการ รวมทั้งนวดแผนไทยที่กำาลังเป็นที่นิยมอยู่ใน ปัจจุบัน เป็นต ้น ล ้วนเป็นจุดแข็งที่สัมพันธ์กับฐานรากของสังคม ใน ส่วนของการพัฒนากำาลังคนเพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ มัก ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายเฉพาะแรงงานในระบบอุตสาหกรรม หรือภาค เมืองเพื่อเพิ่มผลผลิตอุตสาหกรรมเป็นด ้านหลัก ยังไม่สามารถดำาเนิน การถึงกลุ่มแรงงานในภาคเกษตรกรรมในส่วนชนบทซึ่งเป็นคนส่วน ใหญ่ของประเทศ เมื่อสะท ้อนภาพการพัฒนาจากอดีตยิ่งปรากฏชัดถึง ภาวะแห่งความยากจนเป็นทวีคูณ ตามข ้อมูลในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 (2546 – 2549) โดยที่ภาวะความจนมีแนว โน ้มลดลงมาตลอด ในช่วงก่อนวิกฤติ แต่กลับเพิ่มสูงขึ้นจากร ้อยละ

(2)

11.4 ของประชากรทั้งประเทศ หรือคิดเป็นจำานวนคนจน 6.8 ล ้าน คนในปี 2539 หลังจากนั้นเพิ่มขึ้นเป็นร ้อยละ 15.9 หรือคิดเป็น 9.9 ล ้านคนในช่วง 2544 ความยากจนที่ประเทศไทยกำาลังเผชิญอยู่นี้มีมูล เหตุจากความเต ิบโตทางเศรษฐก ิจบนความส ูญเส ียของภาค เกษตรกรรม และผลพวงจากการพึ่งพิงจากภายนอกเมื่อเศรษฐกิจ ของโลกที่เราไปพึ่งพิงได ้เกิดวิกฤติ ไทยย่อมอยู่ในกระแสวิกฤติของ โลกด ้วย ส่วนความวิกฤติอันเกิดจากภายในเกิดจากความเติบโตทาง เศรษฐกิจบนความสูญเสียของภาคเกษตรกรรมตามที่ได ้กล่าวไปแล ้ว การที่ชนบทสูญเสียอิสรภาพในเชิงเกษตรกรรมสืบเนื่องจากทรัพยากร ทางการเกษตรในชนบทถูกดูดมาป้อนภาคส่วนอุตสาหกรรม และแร งานในชนบทหันเหไปสู่ภาคอุตสาหกรรม แรงงานเกษตรกรรมมีแนว โน ้มเป็นผู ้สูงอายุ และนับว่าหาได ้ยากขึ้น ภ า ว ะ ค ว า ม ย า ก จ น เป็นภาวะของคนกลุ่มหน ึ่งท ี่ไม่มีโอกาสตามแม่แบบแห่งการ พ ัฒนาน ั้นเอง ซึ่งประกอบไปด ้วย

1. โอกาสทางเศรษฐก ิจ เศรษฐกิจของคนจนส่วนใหญ่ของ

ประเทศไทยตามที่ วนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ กล่าวถึง คือ มีลักษณะ เป็นเมืองขึ้น เพราะคนจนส่วนใหญ่ในภาคเกษตรกรรมต ้องพึ่งพา ตลาดภายนอก ซึ่งมีการขูดรีดระดับโลก ในรูปแบบของการกำาหนด ราคาพืชผล และส่งออกยาปราบศัตรูพืช ปุ๋ย อนึ่งนั้น ที่ดินทำากินนับ ว่าเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจในชนบทเป็นอย่างมาก เมื่อขาดแคลนที่

ทำาก ินบวกกับที่ดินเส ื่อมคุณภาพ ปัญหาฝนแล ้ง ส ิ่งแวดล ้อมถูก ทำาลาย มูลเหตุเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการประกอบอาชีพของคน ชนบทเป็นอย่างยิ่ง ทำาให ้ชนบทที่ดำารงชีพด ้วยระบบเกษตรกรรมได ้ ล่มสลายไปด ้วย การล่มสลายของวิถีเกษตรกรรม คือการสูญหายลม หายใจของประเพณี วัฒนธรรมอันเป็นฐานของสังคมโดยรวม ภาวะ แห่งความจน คือภาวะที่ไม่สามารถพ ึ่งตนเองในการดำารงช ีพ คนจนในปัจจุบันนับว่ามีความรุนแรงกว่าอดีตมาก เนื่องจากความจน ได ้ซ ้อนด ้วยปัญหาขาดความอบอุ่นในครอบครัว ครอบครัวแตกแยก รวมทั้งชุมชนล่มสลายนี่คือความยากจนซำ้าซ ้อนเพราะขาดทั้งปัจจัย ยังชีพและขาดทุนทางสังคม ในส่วนของคนจนเมืองก็พัฒนาจาก คนจนชนบทที่ย ้ายถิ่นเข ้าสู่เมือง เมื่อเข ้าสู่เมืองโอกาสทางเศรษฐกิจ ก็มีไม่มาก การที่คนจนมีโอกาสทางเศรษฐกิจไม่มาก เพราะขาดการ ศึกษา การที่คนจนขาดการศึกษา ไม่ได ้หมายว่าเขาไม่สนใจเรื่องการ ศึกษา แต่เพราะเขาขาดโอกาสทางการศึกษาต่างหาก ตรงนี้มีความ เกี่ยวเนื่องอยู่หลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นสถานศึกษาในชนบทมีไม่พอ รวมทั้งมีดีไม่พอเมื่อเปรียบเทียบกับเมือง ระหว่างปากท ้องกับการ

(3)

ศึกษาเขาก็เลือกปากท ้องก่อน เพราะฉะนั้นคนจนคือคนขาดโอกาส เพราะระบบของสังคมไทยไม่เอื้ออำานวยให ้กับคนจนมากนัก ทาง เลือกพอมีสำาหรับคนจนในเมืองคือกลายเป็นชนชั้นแรงงานในเมือง

2. โอกาสทางการเมือง คนจนแทบไม่ได ้ประโยชน์อะไรมาก นัก จากการเติบโตทางเศรษฐกิจภายใต ้ระบบการเมืองที่ปกป้องผล ประโยชน์ของชนชั้นกลาง แม ้แต่การออกกฏหมายเพื่อพ ิทักษ์

อุตสาหกรรม อำานาจทางการเมืองสัมพันธ์กับเศรษฐกิจ ในส่วนของ การกำาหนดนโยบายยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนระบบ เศรษฐกิจ เมื่อชนชั้นล่างไม่มีโอกาสทางการเมืองไม่ได ้มีส่วนในการ กำาหนดทางเดินของตัว ย่อมทำาให ้ชนชั้นล่างจำาต ้องเดินในทิศทางที่

คนอื่นกำาหนดให ้ มีบางครั้งทางเดินที่ชนชั้นล่างเคยเดินแต่กลับถูก ชนชั้นปกครองมาบีบให ้หยุดเดิน หรือเดินบนเส ้นทางที่ตนไม่ถนัดเช่น ในกรณีการเวนคืนที่ทำากินเพื่อสร ้างเขื่อนผลจากการสร ้างเขื่อนนั้น ได ้ ไปทำาลายวิถีชีวิตของคนท ้องถิ่น พันธุ์ปลา อย่างเป็นลูกโซ่ตรงนี้ไม่

ทราบว่าการสร ้างเขื่อนนั้นได ้ผลคุ ้มหรือไม่ ? แต่ที่แน่ ได ้พลังงาน เพิ่มเติม เพื่อป้อนสู่อุตสาหกรรมในเมืองเป็นส่วนมาก นี่คือผลของการ ขาดโอกาสทางการเมืองซึ่งเป็นเหตุของความยากจนที่ระบบไม่ได ้เปิด กว ้างมากนักสำาหรับชนชั้นล่าง ดังนั้นคนจนจึงเป็นฝ่ายถูกกระทำาและ ถูกขับออกนอกระบบเศรษฐกิจทุนนิยมที่กำาลังเป็นอยู่ในปัจจุบัน

3. โอกาสทางส ังคม

ในยุคสมัยที่สังคมให ้ความสำาคัญเศรษฐกิจระบบเงินตรามา กกว่าเศราฐก ิจแบบพ ึ่งพากันในชุมชนเดียวกัน การพ ึ่งพาระบบ เศรษฐกิจจากภายนอกทำาให ้ความสัมพันธ์ในชุมชนลดความสำาคัญลง เงินเป็นตัวกำาหนดชนชั้นของสังคมนับว่าสร ้างระบบความได ้เปรียบเสีย เปรียบในสังคมเป็นยิ่งนัก เช่น ในกรณีการจัดสรรงบประมาณสู่ท ้องถิ่น เพื่อความเจริญของท ้องถิ่นนั้น ระบบก็ไม่เอื้อต่อชนชั้นล่างมากนัก เพราะไม่มีโอกาสเข ้าไปจัดสรรทั้งนี้เพราะขาดอำานาจทางการเมือง ภาวะความจนคือคนที่ไม่มีโอกาสเนื่องจากระบบไม่เอื้ออำานวยให ้ ดังนั้นการแก ้ปัญหาคนจนจึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่รัฐบาลจะต ้องแก ้ไข ระบบที่เอื้ออำานวยให ้คนจนได ้ใช ้ศักยภาพของตนเพื่อให ้พึ่งตนเองได ้ ด ้วยปัจจัยยังชีพขั้นพื้นฐานที่จำาเป็นเป็นต ้นว่าอาหารการกิน ที่อยู่

อาศัย ยารักษาโรค และเครื่องนุ่งห่ม การจัดทำาโครงการของรัฐบาล ปัจจุบันนับว่าสอดคล ้องกับความดีเป็นขั้นพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็น 30 บาทรักษาทุกโรค บ ้านเอื้ออาทร เหล่านี้เป็นตน และที่น่าศึกษาเป็น

(4)

อย่างยิ่ง คือการเปิดโอกาสให ้คนจนเข ้าถึงแหล่งเงินทุนด ้วยการแปลง ทรัพย์สินเป็นทุน ซึ่งเป็นทุนของท ้องถิ่นโดยตรง ดังนั้นในตอนท ้ายนี้

ขอชี้ประเด็นลงไปว่า ระบบการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจไทยตามแม่

แบบทุนนิยมโลก ได ้ทำาให ้ระบบเศรษฐกิจชุมชน (ชาตินิยม) ล่ม สลายและแม่แบบการพัฒนาดังกล่าว ทำาให ้ชนบทขาดศักยภาพในการ พึ่งตนเองทางเศรษฐกิจภาวะคนจนคือคนที่ขาดโอกาส หลักการของ การแก ้ไขความยากจนคือการแก ้โครงสร ้างทั้งหมดของประเทศ ไม่ว่า จะเป็นกฏหมาย – การบริหาร ที่เป็นอุปสรรคต่อการมีโอกาสของคน ส่วนมากของประเทศ อนึ่งนั้น สำาหรับคนจนอีกมิติหนึ่งคือ คนจน เพราะขาดส ิ่งเกินสิ่งตำ่าเป็น แสวงหาเกินความพอดีขยายวงสู่การ รบกวนผู ้อื่น คนจนประเภทนี้จะแก ้ไขจากองค์กรของรัฐไม่ได ้ เห็นควร เป็นเรื่องขององค์กรของศาสนา เข ้ามาบำาบัดจิตวิญญาณให ้สงบลง ต่างหาก.

Referensi

Dokumen terkait

สิทธิ หน ้าที่ เสรีภาพของคนไทยในรัฐธรรมนูญ ผศ.ชมพู โกติรัมย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บนส ้นทางการพัฒนาประชาธิปไตยของไทยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา เป็นเส ้นทางที่ประชาชนต ้องต่อสู ้ บางครั้งต

ว่าด้วยหน้า ใช้หน้าให้เป็น ผศ.ชมพู โกติรัมย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วันนี้ผู ้เขียนตั้งใจนำาเสนอบทความที่เกี่ยวกับหน ้า ท ั้งหน้าเนื้อ หน้าท ี่ หน้าธรรม ซ ึ่งทั้งหมดได