• Tidak ada hasil yang ditemukan

ศตวรรษที่21 ศตวรรษแห่งการแข่งขัน

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "ศตวรรษที่21 ศตวรรษแห่งการแข่งขัน"

Copied!
5
0
0

Teks penuh

(1)

ศตวรรษที่ 21 ปจจัยการผลิตที่ทาทาย กาวยางที่ตองปรับของไทย

ผศ. ชมพู โกติรัมย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

สังคมไทยไดมีการเปลี่ยนแปลงตามบริบทของโลกที่มีลักษณะขยายตัวทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บริการ ประกอบกับสภาพแวดลอมทางการเมืองในระดับโลกไดลดความตึงเครียดอันเกิดจากขั้วทางการเมืองได

กลายเปนกุญแจสําคัญเปดประตูประเทศตางๆใหหันมาแขงขันทางการคาแทนการสะสมยุทโธปกรณ เพื่อสราง อํานาจทางการทหารและการเมือง พรอมกันนั้นไดสรางสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจของโลกแบบใหม ใน ศตวรรษที่ 21 นี้ประชากรถือวาเปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุดในการแขงขันในโลกธุรกรรมสมัยใหม ทั้งนี้เพราะ โลกสมัยใหมไดเปลี่ยนฐานการผลิตจากทรัพยากรทางธรรมชาติไปเปนประชากรแทน ประชากรในฐานะเปนฐาน การผลิตเพราะจะตองใชเทคโนโลยี่และวิทยาการใหมๆบรรดาที่มีอยูในปจจุบันกาล เพื่อจัดการใหเกิดใหเกิด มูลคาสูงสุด ดังนั้นสิ่งแรกที่ควรรีบเรงคือจะตองพัฒนาคนรุนใหมใหมีศักยภาพอันเปนสากล และเปนคนดีใน ฐานะเปนทุนทางสังคมพื่อยกระดับประเทศเราใหอยูในระดับสากล นี่คือรูปลักษณแหงการแขงขันของสังคมโลก ในศตวรรษที่ 21 ศตวรรษที่ประเทศกําลังพัฒนาทั้งหลายเฉกเชนประเทศไทยถูกผนวกดึงเขาสูเวทีแหงการ แขงขัน เพื่อชวงชิงครอบครองทรัพยากรโดยมีความเปนมหาอํานาจทางเศรษฐกิจเปนเดิมพัน ศตวรรษที่ 21 มี

แนวโนมเปนสังคมอุตสาหกรรมสังคมที่มีการแขงขันเพื่อชิงความไดเปรียบในเชิงธุรกิจการคาสูง ปรากฎทั่วใน ทุกอนุภูมิภาคของโลก ในเวทีแหงการแขงขันของโลกปจจุบันมีปจจัยอยูหลายอยางเปนตัวแปรชี้ชัยชนะ ไมวาจะ เปนความพรอมในการบริหารจัดการ เงินทุน เทคโนโลยี่ที่มนุษยไดเอามาเปนเครื่องมือในการนําทรัพยากรที่มี

อยูมารับใชชีวิตของตน อนึ่งประชากรถือวาเปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุดของกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม อยางแทจริงในอันที่จะชี้ขาดการแขงขันในยุคแหงการเรงรัดและการทวีคูณของการแลกเปลี่ยนแหงศตวรรษ ปจจุบันอยางแทจริง ซึ่งกลาวไดวา การแขงขันในศตวรรษที่ 21 นี้ขึ้นอยูกับคุณภาพของประชากรในชาติ ประเด็น นี้หากจะกลับมาทบทวนดูประเทศไทยโดยลักษณะทางภูมิศาสตรแลวนับวามีความพรอมในทําเลที่ตั้งที่มีศักยภาพ พัฒนาใหเปนศูนยกลางเศรษฐกิจและประตูสูภูมิภาคนี้ มีความอุดมสมบูรณดวยรัพยากรธรรมชาติและมีพื้นฐาน ทางวัฒนธรรมที่มีลักษณะยืดหยุนสูงเอื้อตอการลงทุนจากนักลงทุนตางชาติ แตเราไมสามารถอาศัยจุดแข็ง ดังกลาวมาเปนขอไดเปรียบเทาที่ควรเพราะมีเงื้อนไขที่เปนอุปสรรคหลายประการ เชนความดอยทางดาน เทคโนโลยีวิทยาศาสตร ความไรเสถียรภาพทางการเมืองที่ดําเนินมาอยางตอเนื่องจากอดีตสูปจจุบัน รวมทั้งระบบ การศึกษาในฐานะเปนกระบวนสรางคุณภาพของประชากรสูระดับสากลที่ควรจะเปน เมื่อเรายังไมพรอมตาม มาตรฐานสากลที่กําหนดไวแตเราเปดประเทศสูการแขงขันอยางสากล ตรงนี้จึงทําใหประเทศเราประสบปญหา จากระบบสากล ดังนั้นสิ่งที่จําเปนอันดับตน ๆ

คือการปรับฐานคิดที่ยังออนลาของประชากรใหเขมแข็งโดยการ เรียนรูอยางลึกซึ้งในความเปนไทย และเรียนรูใหเทาทันสังคมโลกอยางระมัดระวังควบคูกับการยกระดับสูสังคม ขอมูลขาวสาร (Information Society ) การที่เราจะกาวสูสังคมแหงการเรียนรูไดนั้นจะตองกระทําในหลายมิติ

ลักษณะทางสังคมเศรษฐกิจในยุคปจจุบันซึ่งอยูในศตวรรษที่ 21 ศตวรรษที่มีการขยายตัวทาง เทคโนโลยี อุตสาหกรรมมากที่สุด ครั้งหนึ่งเราเคยชื่นชมเคื่องจักรในยุคอุตสหกรรมที่มาแทนที่แรงงานคนและ สัตวอันเปนปจจัยการผลิตในยุคกสิกรรม แตดูเหมือนวาเทคโนโลยีตางๆ ในยุคอุตสาหกรรมทั้งหลายเหลานั้น

(2)

กําลังจะหมดยุคเมื่อโลกกาวสูสตวรรษที่ 21 การขยายตัวและความกาวหนาของเทคโนโลยี่ดังกลาวไดมีผลให

สังคมโลกตางปรับตัวอยางรีบเรง เพื่อการดํารงคงอยูในกระแสการเปลี่ยนแปลงแบบผลิกผลัน เชนจากมีสายเปน ไรสาย จากเฉพาะทองถิ่นไปเปนครอบคลุมมีเครือขายทั่วทั้งโลกเหลานี้เปนตน กระแสการเปลี่ยนแปลงนี้มีความ เชี่ยวกรากกําลังทําลายขนบธรรมเนียม คานิยม ความเชื่อดั้งเดิม สังคมโลกกําลังเผชิญหนากับสภาพแวดลอมใหม

ที่กําลังเปนไปอยางตอเนื่องสูอนาคตหลายๆ ดานดวยกันพรอมๆ กัน ซึ่งตางจากเมื่อครั้งในอดีต ในปจจุบัน สังคมโลกอาศัยความกาวหนาทางเทคโลยี่เปนกุญแจเปดโลกกวางใบนี้ใหเชื่อมโยง ถายเทขอมูลวิทยาการตาง ๆ จากที่หนึ่งของสุดขอบโลกไปยังอีกที่หนึ่งของโลกใบนี้ภายในระยะเวลาอันสั้น โฉมหนาของโลกในศตวรรษที่

21นี้สะทอนออกมาสูการปรับตัวภายใตเงื่อนใขการเปลี่ยนแปลงของโลกดังนี้กลาวคือ

1. สภาพแวดลอมทางการเมือง การเมืองในระดับโลกเริ่มคลี่คลายความตึงเครียดลงเมื่ออุดมการณทางการเมือง ที่เคยแบงแยกรัฐชาติ ชาติพันธุตาง ๆ ตามอุดมการณทางการเมือง สงผลใหสังคมโลกลดความหวาดระแวด ระหวางกัน ในศตวรรษที่ 21 นี้กลาวไดวาเปนชัยชนะของระบบการปกครองแบบเสรีนิยม ความเสรีทางการเมือง นี้เองไดเปดประตูประเทศตาง ๆ ใหกาวสูเศรษฐกิจระบบทุนเสรีนิยมและผลักดันใหประเทศตาง ๆ แขงขันใน ธุรกิจการคาภายใตกฎกติกาที่เรียกวาเสรีระดับโลก ไมเวนแมแตโลกสังคมนิยมเชนจีนก็ไมสามารถตานการไหล บาของระบบการคาเสรีได การเปลี่ยนแปลงการเมืองในระดับโลกเชนนี้ ทําใหประเทศตาง ๆ เรงเปดการคาเสรี

และเจรจาขอตกลงการคาเสรี(FTA)มากขึ้นเพื่อสรางอํานาจตอรองในการแขงขันทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี

2. สภาพแวดลอมเศรษฐกิจระดับโลก สังคมโลกในศตวรรษนี้เปดกวางทางการคา การลงทุนโดยมีลักษณะ เปนเครือขายครอบคลุมเปนไปอยางเรงรีบชนิดไมเคยเปนมากอนโดยอาศัยโอกาสที่เปดกวางทางการเมือง สภาพแวดลอมทางธุรกิจของโลกที่เปนอยูนี้บีบใหธุรกิจขนาดเล็ก หรือธุรกิจภายในชาติไดรับผลกระจากระบบ เครือขายที่มีทุนมากกวาเชิ่อมโยงสาขาไปในทองถิ่นตาง ๆ ไมเวนแมแตการศึกษาที่ตองปรับระบบการจัด การศึกษาเพื่อผลิตทรัพากรมนุษยสูตลาดแรงงานอยางเทาทันการผลิกผันของโลก

3. สภาพแวดลอมทางดานเทคโนโลยี เทคโนโลยีในศตวรรษที่ 21 นี้กลาวคือ เทคโนโลยีดานอวกาศ

เทคโนโลยีดานสารสนเทศ

เทคโนโลยีดานชีวพันธุกรรม เทคโนโลยี่เหลานี้เปนสวนหนึ่งของเทคโนโลยี่ระดับสูงซึ่งถาหากประเทศ ใดไดครอบครองและพัฒนาเทคโนโลยี่ดังกลาวอยางตอเนื่องแลว ทําใหไดเปรียบในเชิงธุรกรรมสมัยใหม

ประเทศที่มีความอุดมสมบูรณดวยทรัพยากรนั้นจะไดเปรียบเนื่องจากทรัพยากรเปนฐานการผลิต และคนก็อยู

กับธรรมชาติจึงกลาวไดวาทรัพยากรเปนฐานของชีวิต แตในปจจุบันฐานการผลิตไดเปลี่ยนไปจากเดิมมาก ประชากรไดเขามามีบทบาทในฐานะเปนฐานการผลิตเพราะเปนผูประดิษฐเทคโนโลยี่และนําเทคโนโลยี่มาใช

เปนเครืองมือในการประกอบธุรกรรมได ในศตวรรษที่ 21 นี้คงอาศัยความพรอมทางดานทรัพยากรทาง ธรรมชาติอยางเดียวเปนปจจัยชี้ขาดในการแขงขันไมได จะตองอาศัยทรัพยากรมนุษยเปนประเด็นนําในการ พัฒนา ประเทศที่มีความพรอม และพัฒนาประชากรใหมีความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยี่อันเปนนวัตกรรม ลาสุดนั้นจึงจะสามารถแปรขอมูลที่มีอยูในอวกาศอยางมากมายมาเปนเครื่องมือในการแขงขัน และปกปอง ทรัพยากรที่มีอยูยูมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดได

4. สภาพแวดลอมทางดานสังคม เมื่อสังคมโลกเชื่อมโยงสัมพันธกันมากขึ้นทําใหลักษณะความหลากหลาย ทางสังคมและวัฒนธรรมเกิดปะทะกันขึ้น องคความรูมีอยางมากมายเชื่อมโยงถายเทจากที่ไกล เรียกไดวาสังคม โลกเปดกวางทางองคความรู สถาบันการศึกษาไมไดเปนสถาบันที่ถายทอดความรูแกผูเรียนเพียงอยางเดียว

(3)

ดังเชนในอดีตอีกแลว ในกระแสแหงการการเปลี่ยนแปลงนี้กําลังเปนไปอยางรวดเร็วเกินกวาที่โครงสรางทาง สังคมจะปรับตัวไดทัน การเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยี่เปนดังเข็มวินาทีสวนการปรับตัวของโครงสราง สังคมโดยเฉพาะการปรับตัวที่จะเรียนรูเพื่อจัดการองคความรูตาง ๆ นั้นเปนดังเข็มชั่วโมง ดังนั้น สถาบันการศึกษาควรจัดการเกี่ยวกับองคความรูที่อยูในอวกาศใหเขาสูระบบการศึกษาภายใตการควบคุม และ กําหนดทิศทางใหเหมาะสมกับสภาพของสังคมที่เปนจริง มิฉะนั้นแลวจะเกิดการบริโภคขอมูลที่แปลกปลอม ความสําคัญของประชากรในสังคมเศรษฐกิจสมัยใหม

จากแนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมตามที่กลาวมานั้น นับแตนี้ไปการพัฒนาทรัพยากรมนุษย

นับวาเปนเรื่องที่สําคัญยิ่งอันเนื่องจากปญหากําลังคนโดยเฉพาะการขาดแคลนกําลังคนที่มีฝมือระดับกลางและ ระดับสูงเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี่ ปจจัยทรัพยากรมนุษยจึงกลายเปนปจจัย สําคัญประการหนึ่งในยุคโลกาภิวัตนแหงการแขงขันทั้งนี้เพราะขีดความสามารถของมนุษยยุคใหมคือ ทรัพยากรความรู ที่มิใชเปนเพียงแตความรูเพื่อความรูเทานั้นแตยังตองเปนความรูในเชิงประยุกตที่สามารถสั่ง สมเปนทักษะความเชี่ยวชาญเฉพาะดานชั้นสูงในแตละสาขา ซึงสัมพันธสอดคลองไปกับการพัฒนา อุตสาหกรรมเฉพาะแตละดานของประเทศ นอกจากทรัพยากรความรูแลว มนุษยยุคใหมควรจะตองมี

ความสามารถในเชิงริเริ่มสรางสรรค รวมทั้งการมีมาตรฐานทางจริยธรรมในการทํางานดวยองคประกอบ เหลานี้ประกอบกันเปนปจจัยที่กาวหนา ที่แตกตางไปจากปจจัยพื้นฐานดั่งเดิม อันไดแก แรงงานไรทักษะ การพัฒนาที่สําคัญจากการมุงเนนความเจริยเติบโตและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทสมาเปน การพัฒนา คนมากขึ้น

ประชากรคือฐานการผลิตสมัยใหม

สังคมโลกในศตวรรษนี้ไดถูกขับเคลื่อนตามสภาพแวดลอมในระดับโลกมากมาย เราจําเปนตอง ยกระดับประชากรของเราใหไดมาตรฐานสากล เพราะโลกของธุรกิจปจจุบันที่สังคมเราเขาไปเกี่ยวของทั้งใน บานเราหรือยายฐานการผลิตไปตางประเทศ สิ่งแรกที่รีบเรงพัฒนาคนรุนใหม คือ ศักยภาพที่เปนสากล (Global Competency) ขอนี้การที่ประเทศเราเปดประตูทางการคา มีกระแสการไหลเวียนของการลงทุนมายัง ประเทศเรา กําลังคนรุนใหมจะตองพัฒนาใหมีความพรอมระดับสากลในเรื่องการใชภาษาที่เปนสากล ในที่นี้

หมายถึงภาษาอังกฤษ การมีทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ในขณะเดียวกันควรมีความรูสังคมเรา สังคมเขา เพื่อสามารถปรับรับใหเหมาะสมกับสภาพสังคมเรา ถือไดวากําลังคนของประเทศเราเปนจุดออนจาก อดีตที่ผานมา เนื่องจากระบบการศึกษาที่จัดอยูในปจจุบัน เปนระบบที่เปนไปตามแนวนโยบายของแผนการ ศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2520 นั้น อาจกลาวไดวาเปนระบบที่กําหนดขึ้นภายใตเงื่อนไขของสภาพ เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม ในชวงเวลาของการรางแผนการศึกษาผานมาหนึ่งทศวรรษแลว แตในปจจุบัน ความเปนจริงของสภาพสังคมและเศรษฐกิจ มีการพลวัตจากภายนอกสูงในรูปของการไลลาทางแรงงาน ดวย การยายฐานการผลิตไปยังแหลงตาง ๆ สภาพแวดลอมของสังคมโลกที่กลายพันธุเชนนี้ ระบบการศึกษาที่มีอยู

นั้นจึงไมเอื้อตอการพัฒนาประชากรของประเทศ ใหสามารถปรับตัวใหสอดคลองกับสภาพการเปลี่ยนแปลงที่

ผันผวนไปอยางรวดเร็ว ตลอดจนไมสามารถพัฒนากําลังคนใหสามรถนําการเปลี่ยนแปลงใหเหมาะสมได

หากเรายอมรับวาการศึกษาเปนกระบวนการหนึ่งที่ผลิตกําลังคนสูตลาดการงาน เราก็ควรถามตอไปวา ณ ปจจุบันตลาดมีความตองการและไมตองการอะไร เมื่อเปนเชนนี้มีความจําเปนที่ระบบการศึกษาจะตองมีการ ปรับจุดมุงหมาย และแนวทางการจัดการศึกษาเสียใหม เพื่อจุดยืนแหงการแขงขันในเวทีแหงโลก แหงยุค ศตวรรษปจจุบัน

(4)

หากศึกษาแนวปฏิรูปการศึกษาที่มีอยูในปจจุบัน เพื่อใหไดระบบที่พึงประสงคทามกลางความตีบตัน ในอดีต สูทางออกทศวรรษแหงการแขงขันของสังคมโลก เราจะตองมองภาพแหงการแขงขันดังกลาวดวย ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสื่อสารตามที่นําเสนอไปแลวขางตน หรืออาจจะกลาววาเทคโนโลยีและ วิทยาศาสตรเปนพื้นฐานอันมั่นคงประกันการแขงขันได ซึ่งจะตองวัดที่ประชากรในฐานะเปนปจจัยชี้ขาด ทามกลางสภาพแวดลอมของสังคมแหงยุคสมัยปจจุบัน

ผลมาจากการพัฒนาในอดีต ซึ่งบัดนี้ยอมรับกันแลววาเปนการพัฒนาไมถูกตอง เพราะไปเนนแตความมุง หมายทางเศรษฐกิจ มุงความเจริญพรั่งพรอมทางดานวัตถุจนเกินไป แมแตกระบวนการพัฒนาบัณฑิตถูกมองวา เปนหนึ่งในทรัพยากรซึ่งจะตองถูกแปรศักยภาพที่มีอยู(ในฐานะเปนทรัพยากร) ใหไดมูลคาเพิ่ม นั่นหมายถึงการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจดวยทุนทางสังคมลวนแตสงผลใหเศรษฐกิจขยายตัว เมื่อเศรษฐกิจดีสงผลใหสังคมไมมี

ปญหา(ปญหานอย) แนวคิดนี้จุดประกายการพัฒนาทางสังคมเศรษฐกิจเปนดานหลัก มากกวาการใชวัฒนธรรม ในฐานะเปนเครื่องมือพัฒนาคุณคาความเปนมนุษย ซึ่งสะทอนใหเห็นกระบวนการครอบงําทางวัฒนธรรม การ ไลลาทางเศรษฐกิจที่กําลังเปนอยูในยุคการแขงขันทางเศรษฐกิจนี้ ตรงนี้หากดูที่ประเทศไทยแลว ขึ้นอยูกับความ มั่นคงของฐานประชากร และกระบวนการพัฒนาประชากร จึงเปนหลักประกันในจุดยืนที่ถาวรในกระแสการไล

ลาของกระบวนการโลกกาภิวัฒนแหงศตวรรษที่ 21 นี้

การศึกษาประเภทนี้มุงพัฒนาคนในฐานทรัพยากร มนุษย เพื่อเพิ่มผลผลิต โดยมุงเศรษฐกิจเปนใหญ เพราะ ในยุคแหงการแขงขันของศตวรรษนี้เราตองเตรียมคนไทยใหพรอมรับความกาวหนาทางวิทยาการตาง ๆ เพราะ ประเทศไทยถูกกดดันจากสภาพแวดลอมของโลกที่เกิดขึ้นตลอดเวลา การสรางมูลคาเพิ่มใหแกคนไทยเปน สิ่งจําเปนที่สุด การที่จะพัฒนาคนหรือสรางมูลคาเพิ่มคือการพัฒนาประชากรใหสามารถเรียนรูเทคโนโลยีใหมๆ และสามารถเลือกรับความรูใหม ๆ รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ จากภายนอกไดอยางเหมาะสม การศึกษา ประเภทนี้มุงพัฒนาประชากรใหมีทักษะพื้นฐานสําหรับประกอบอาชีพในเชิงแขงขัน อันไดแก ความสามารถ ดานภาษา คํานวณ การอาน การสื่อสาร เทคนิคการจัดการ เปนตน ซึ่งจะตองฝกฝนทักษะความชํานาญพิเศษ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจที่ตองใชเทคโนโลยีสูงและชวยเสริมความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีการเกษตรในระบบ เศรษฐกิจภาคดั้งเดิม ซึ่งชวยใหคนสามารถพึ่งตนเองได ทั้งภาคเศรษฐกิจอุตสาหกรรมสมัยใหม และภาค เกษตรกรรม ระบบการศึกษาที่เสนอไปแลวนั้นนับวาสรางความสมดุลระหวางวิทยาการที่ทันสมัยในกระแส ธุรกรรมในสังคมโลก และสอดคลองกับสภาพสังคมไทย ซึ่งหากจะกลาวโดยสรูปถึงในสวนของระบบการศึกษา จะตองสรางผูที่จะจบการศึกษามีสมรรถภาพในเรื่อง 1. การใชคอมพิวเตอร 2. การใชภาษาตางประเทศ 3. แนววิธีที่ทราบการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเขาใจในเรื่องชนชาติ 4. การวิเคราะหขอมูล 5. แนว ทางการบริหารกิจการของตัวเอง

เนื่องจากสังคมโลกในปจจุบันเปนสังคมแหงคมรูที่ไรพรมแดน ทําใหศักยภาพที่จะประสบความสําเร็จมี

พอๆ กับศักยภาพที่จะลมเหลว แนวโนมขางตนจะเปนผลใหผูที่มีความรูทางเทคโนโลยี่เปนผูมีบทบาทเดนและ แนวโนมที่จะมีการเปลี่ยนแปลงจากที่เคยใชแรงงานเปนฐานหลักในการผลิตการใชเทคโนโลยี่การอุตสาหกรรม และการบริการ

กระบวนทัศนใหมที่จะนําไปยกระดับประเทศไทยไปสูการผลิตที่ใชแรงงานที่เนนทักษะรวมทั้งกาวสูการผลิต ที่ใชเทคโนโลยี่ ในที่สุดเนนการวิจัยและพัฒนากระบวนการผลิตสินคาเพื่อทันการเปลี่ยนแปลงในยุคปจจุบันซึง จะตองใชเวลานานนับสิบปทั้งนี้เพราะแรงงานของไทยในปจจุบันมักจะเปนผูที่จบการศึกษาจากภาคบังคับใน

(5)

ระดบประถม (ป 4-6 )ตามลําดับซึ่งตรงนี้ตองรอภาคบังคับมัธยมตน (ม.3) หรือมัธยมปลายในอนาคต (ม.6) เมื่อ ตรงนั้นตลาดแรงงานในสังคมโลกคงไปไกล ตรงนี้ถือวาเปนปญหาใหญของไทยที่จะตองผลักดันนโยบาย การศึกษาใหทันการผลิกผันของโลก และโลกแหงความเปนจริงของสังคมอุตสาหกรรมบริการ (แรงงานทักษะ ฝมือ) ดวยซึ่งเปนการเตรียมความพรอมในการพัฒนาประเทศ เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน และสามารถ ปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนไปเนื่องจากปจจุบันแหลงเรียนรูกวางไกล ซึ่งฐานดั้งเดิมสังคมเราคือสังคม แหงความเอื้ออาทร สังคมที่มีจินตนาการทางคุณคาความดีสูง เหตุที่กลาวเชนนี้เพื่อใหการยกระดับประเทศไทยสู

ระดับสากลโดยไมทิ้งฐานคิดแหงความเปนไทยดวย มิฉะนั้นแลวความแปลกแยกเชิงความคิดจะทวีความรุนแรง มากขึ้นโดยเฉพาะในกลุมคนที่เรียกวาคนรุนใหม

หากวาคาดหวังใหการศึกษาทําหนาที่เปนสื่อพัฒนาประชากรอยางแทจริง เราตองปลดตัวเองใหอิสระจาก วัฒนธรรมการลอกเลียนอารยธรรมตะวันตก ซึ่งทรงพลังนุภาพยิ่งทางเทคโนโลยี แตทวาตองอยูในสภาวะสะดุด หยุดลงชะงักงันในวิวัฒนาการทางจิตสํานึกรับรูและเรียนรู หรืออีกนัยหนึ่งชะงัดงันในความกาวหนาทางการ เรียนรูและภูมิปญญาดังกลาว สําหรับในกรณีหลังหมายถึงความรูในฐานะเปนอิสระภาพหรือการปลดปลอยให

พนกระแสอํานาจอวิชชาที่เปนอยู กลาวคือเปนการปรับกระบวนทัศนเพื่อการแสวงหาความรู มิใชเพียงเพื่อการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทามกลางการบั่นทอนทําลายเพื่อนมนุษยและธรรมชาติดังเชนที่กําลังเปนอยูในนามของ เศรษฐกิจตลาดเสรี การศึกษาเปนเรื่องใหญ หากจัดการไมถูกแลวจะทําใหผูเรียนเกิดมิจฉาทิฐิ สงผลใหการ พัฒนาไมสมบูรณ เพราะการศึกษาจะทําหนาที่ในการพัฒนาคนใหพรอมแกปญหาและรวมสรรสรางพัฒนาสังคม การศึกษาจะตองจับหลักของตนเองใหได พรอมกับศึกษาผูอื่น (สังคมอื่น) อยางรูเทาทัน เพื่อใหสามารถโยง ขึ้นมาสูการคิดวางแผนสําหรับอนาคตอยางไดผลดีเพื่อใหเราอยูไดในยุคแหงการแขงขันแหงศตวรรษปจจุบัน

สรุปไดวา การศึกษาเปนรากฐานสําคัญในการเตรียมประชากรใหพรอมที่จะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง เพื่อที่จะดํารงอยูในสังคมไดอยางเปนสุข การศึกษาคือสรางพลังปญญาแกประชากร เพื่อพรอมรับกับปญหา ตาง ๆ ทั้งในเรื่องเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ดังนั้น การศึกษาจึงถือไดวาเปนเครื่งมือสําคัญสําหรับพัฒนา ประชากรเพื่อเตรียมความพรอมในยุคศตวรรษปจจุบัน แตทั้งนี้การศึกษาจะตองตั้งอยูบนพื้นฐานของคุณคาที่

แทจริง ในความเปนมนุษย ในฐานะเปนหลักความคิดเชิงคุณภาพ

Referensi

Dokumen terkait

จุดยืน ระหวางกลุม ผลประโยชน อุดุมการณ กับการจับขั้วทางการเมือง ผศ.ชมพู โกติรัมย มหาวิทยาลัยศรีปทุม ในหวงเวลากอนอรุณรุงทางการเมืองเริ่มสางทําใหพอเห็นกลุมตางๆ