• Tidak ada hasil yang ditemukan

(1)หนังสือภาษาไทย กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "(1)หนังสือภาษาไทย กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์"

Copied!
23
0
0

Teks penuh

(1)

หนังสือภาษาไทย

กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์. (2544). คู่มือกฎหมายบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์การเงินการธนาคาร.

กุศล บุญยืน. (2515). ค าอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหนี้ . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์นิติบรรณาการ.

กําธร พันธุลาภ. (2518). ค าอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหนี้. เอกสาร ประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จี๊ด เศรษฐบุตร. (2522). หลักกฎหมายแพ่งลักษณะหนี้ (พิมพ์ครั้งที่ 15). แก้ไขเพิ่มเติมโดย รศ.ดร.

ดาราพร ถิระวัฒน์. กรุงเทพฯ : จัดพิมพ์โดยโครงการตําราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

_____. (2524). หลักกฎหมายแพ่งลักษณะนิติกรรมและหนี้ (พิมพ์ครั้งที่ 3). แก้ไขเพิ่มเติมโดย นายจิตติ ติงศภัทิย์. กรุงเทพฯ : จัดพิมพ์โดยคณะกรรมการสัมมนาวิจัยและห้องสมุด คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชนินทร์ พิทยาวิวิธ และชาญชัย ดํารงบุล. (2545). วิกฤติเศรษฐกิจ: ธุรกิจ NPL สถาบันการเงิน จะอยู่รอดได้อย่างไร (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : อักษรโสภณ.

ไชยยศ เหมะรัชตะ. (2539). กฎหมายว่าด้วยสัญญา (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทํานอง ดาศรี. (2544). ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ บทเรียนและประสบการณ์จากวิกฤติเศรษฐกิจไท.

กรุงเทพฯ : สายปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทย.

ปกรณ์ วิชยานนท์. (2545). สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) และการปรับโครงสร้างหนี้ใน ประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.

มานิต วิทยาเต็ม. (2544). ค าอธิบายกฎหมายบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย. กรุงเทพฯ : พิมพ์อักษร.

วงษ์ วีระพงศ์. (2515). ค าอธิบายลักษณะหนี้ พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรสารการพิมพ์.

วิชัย ตันติกุลานันท์. (2547). ค าอธิบายและวิเคราะห์ข้อเท็จจริงกฎหมายฟื้นฟู พัฒนา และปฏิรูป

ระบบสถาบันการเงิน. กรุงเทพฯ : พิมพ์อักษร.

(2)

วิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ. (2547). กฎหมายฟื้นฟูกิจการ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์หรรษา.

ศักดิ์ สนองชาติ. (2539). ค าอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมสัญญา.

กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์นิติบรรณาการ.

เสนีย์ ปราโมช, มร.ว. (2527). ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและหนี้ เล่ม 1 (ภาค 1-2) แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2478 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2505. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์

ไทยวัฒนาพานิช.

_____. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและหนี้ เล่ม 2 (ภาคจบบริบูรณ์).

พุทธศักราช 2478 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2505. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.

โสภณ รัตนากร. (2548). ค าอธิบายกฎหมายลักษณะหนี้ (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์

นิติบรรณาการ.

หยุด แสงอุทัย. (2535). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ประกายพรึก.

บทความภาษาไทย

กิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์. (2544, กรกฎาคม) กฎหมายบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (ตอนที่ 1).

วารสารการเงินธนาคาร,20 (231), หน้า 143-145.

_____. กฎหมายบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (2544, สิงหาคม) (ตอนที่ 2). วารสารการเงิน ธนาคาร,20 (232), หน้า 141-143.

กุลกานต์ ตันติเตมิท. (2544, เมษายน). การแก้ไขปัญหา NPLs โดยการจัดตั้ง AMC. วารสารการเงิน การคลัง,15 (48).

พิชิตพล เอี่ยมมงคลชัย และฤทธิชัย งดงาม. (2542, สิงหาคม). กลยุทธ์เจ้าหนี้ในการเลือกปรับ โครงสร้างหนี้/ฟื้นฟูกิจการ. วารสารการเงินธนาคาร,18 (208), หน้า 116-118.

_____. (2543, พฤษภาคม) ทางเลือก : เมื่อลูกหนี้ผิดข้อตกลงปรับโครงสร้างหนี้. วารสารการเงิน ธนาคาร,19 (217), หน้า 154-156.

_____. (2543, กันยายน). การแปลงหนี้เป็นทรัพย์สินของสถาบันการเงิน. วารสารการเงินธนาคาร,

19 (221), หน้า 143-145.

(3)

พิชิตพล เอี่ยมมงคลชัย และฤทธิชัย งดงาม. (2544, กรกฎาคม). ผลกระทบของกฎหมาย TAMC ต่อ สถาบันการเงิน (ตอนที่ 1). วารสารการเงินธนาคาร,20 (231), หน้า 151-153.

_____. (2544, สิงหาคม). ผลกระทบกฎหมาย TAMC ต่อสถาบันการเงิน (ตอนที่ 2). วารสาร การเงินธนาคาร,20 (234), หน้า 149-153.

_____. ( 2544, พฤศจิกายน). การปรับโครงสร้างหนี้โดยวีธีรีไฟแนนซ์. วารสารการเงินธนาคาร ,20 (235), หน้า 148-151.

วิโรจน์ พูนสุวรรณ. (2542, สิงหาคม). ทําไมลูกหนี้ไม่ยอมหนี้เซ็นสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้.

วารสารการเงินธนาคาร,18 (208), หน้า 119-120.

วิโรจน์ พูนสุวรรณ. (2544, กรกฎาคม). วิเคราะห์กฎหมาย TAMC (ตอนที่ 1). วารสารการเงิน ธนาคาร,20 (231), หน้า 146-147.

_____.(2544, สิงหาคม). วิเคราะห์กฎหมาย TAMC (ตอนที่ 2). วารสารการเงินธนาคาร,20 (232), หน้า 144-145.

_____. (2544, กันยายน). วิเคราะห์กฎหมาย TAMC (ตอนที่ 3). วารสารการเงินธนาคาร,20 (233), หน้า 143-144.

_____. (2544, ตุลาคม). วิเคราะห์กฎหมาย TAMC (ตอนที่ 4). วารสารการเงินธนาคาร,20 (234), หน้า 152-153 .

______. (2544, พฤศจิกายน). วิเคราะห์กฎหมาย TAMC (ตอนที่ 5). วารสารการเงินธนาคาร,20 (235), หน้า 143-144.

ธนาคารแห่งประเทศไทย.(2541, 2 มิถุนายน 2541). ประกาศ เรื่องหลักเกณฑ์ การปรับโครงสร้าง หนี้ของสถาบันการเงิน. เลขที่ ธปท.(ว) 1837/2541.

บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย. (2548). รายงานประจ าปี 2548. กรุงเทพฯ: ฝ่ายนโยบายและแผน บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย.

บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย. (2549). รายงานประจ าปี 2549. กรุงเทพฯ: ฝ่ายนโยบายและแผน บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย.

ประกาศคณะกรรมการบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (2545, 2 กรกฎาคม). เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และกระบวนการในการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ.

สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธ์. (2544, ตุลาคม-ธันวาคม). อํานาจทางกฎหมายในการบริหารสินทรัพย์ด้อย

คุณภาพของบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย. บทบัณฑิตย์,57, หน้า 34 - 43.

(4)

วิทยานิพนธ์/รายงานวิจัย

ไกรสร บารมีอวยชัย. (2544-2545). การปรับปรุงโครงสร้างหนี้ภายใต้กฎหมายล้มละลาย.

รายงานวิจัยการเศรษฐกิจ, วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 44.

จิระวัฒน์ พัฒนทรัพย์. (2548). การศึกษาและก าหนดกลยุทธ์เพื่อหาแนวทางในการแก้ไข ปัญหาการช าระหนี้ของลูกหนี้ด้อยคุณภาพของบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย.

การศึกษาอิสระ สาขาวิชาการจัดการ, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

ธนันชัย สุรพัฒน์. (2545). ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการปรับโครงสร้างหนี้ของธนาคารพาณิชย์

:ศึกษาเฉพาะกรณีสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดของคู่สัญญา. วิทยานิพนธ์นิติศาสตร มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

สันติ ศรีนุ่ม. (2547). ปัญหาในการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ อันเนื่องมาจากการโอนสินทรัพย์

ด้อยคุณภาพให้แก่ บสท.ตามพระราชก าหนดบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย พ.ศ. 2544.

เอกัตศึกษาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายเศรษฐกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เอกอัคร จิตตานนท์. (2545). การบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพตามพระราชก าหนดบรรษัท บริหารสินทรัพย์ไทย 2544 : ศึกษากรณีปรับโครงสร้างกิจการ. วิทยานิพนธ์นิติศาสตร มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กฎหมาย

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ.2483

พระราชกําหนดบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย. (2544, 8 มิถุนายน 2544). ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 118 (ตอนที่ 38 ก), หน้า 1-32.

พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกําหนดบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (2544, 26 กันยายน 2544). ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 118 (ตอนที่ 84 ก).

พระราชกําหนดบริษัทบริหารสินทรัพย์ จํากัด (2541, 23 สิงหาคม 2541). ราชกิจจานุเบกษา

ฉบับกฤษฏีกา เล่ม 115 (ตอนที่ 51 ก), หน้า 12.

(5)

เอกสารภาษาอังกฤษ

Act on efficient Disposal of Non-performing Assets of Financial Institutions and Establishment KAMCO

Bank Restructuring and Resolution Program [online]. Available from : http://www.bppn.go.id/ai bru restructure.asp [2002, November 29]

Coporate Debt Restructuring [online]. Available from :

http://www.bppn.go.id/ai amc restructure.asp [2002, November 29]

Corbin, Arthur Linton. (1952). Corbin on Contracts. St. Paul Minn : West Publishing.

De Becker, J.E. (1909). Annotated Civil Code of Japan. London : Butterworth.

_____. (1921). The Principles and Practise of the Civil Code of Japan. London : Butterworth.

Dimancescu, D. (1983). Deferred future : Corporate and world debt and bankruptcy. U.S.A.

: Ballinger publishing company.

Forrester, Ian S. Simon L.Geren, and Hans-Michael Ilgen, trans. (1975). The German Civil Code. Oxford : North Publishing.

Mann, Richard A. , Barry S. Roberts. (1999). Business law and the regulation of business : Bankruptcy 6

th

,U.S.A. : West educationai publishing.

Toncre’s,E. (1984). The action-step plan to avoiding business bankruptcy. NJ : Prentice- Hall Inc.

สื่ออิเลคทรอนิก (INTERNET)

บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย http://www.tamc.or.th กระทรวงการคลัง http://www.mof.go.th

ธนาคารแห่งประเทศไทย http://www.bot.or.th

Structure & Governance of IBRA [online].Available from : http://www.bppn.go.id/ai gi govnorgstruct.asp

Summary of the Pengurusan Danaharta Nasional Berhad (Amendment) Act 2000 [online].

Available from : http://www.danaharta.com.my/default.html

Kamco Overview [online]. Available from : http://www.kamco.or.kr/eng/overview/main1.htm

(6)

ภาคผนวก

(7)

สาระสําคัญของกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง

รายชื่อประเทศ

ประเทศไทย บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย

( บสท. )

เกาหลี

Korea Asset Management Corporation ( KAMCO )

อินโดนีเซีย

The Indonesian Bank Restructuring Agency ( IBRA )

มาเลเซีย

Pengurusan Danahata Nasional Berhad ( Corporation )

การจัดตั้งและเงินทุน 1.1 วัตถุประสงค์ของ บสท.

มีวัตถุประสงค์ในการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ ของสถาบันการเงินและบริษัทบริหารสินทรัพย์

ดําเนินการปรับโครงสร้างหนี้และปรับโครงสร้าง กิจการของลูกหนี้ซึ่งรับโอนมา ทั้งนี้ โดยการรับ โอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของสถาบันการเงินและ บริษัทบริหาร สินทรัพย์ รวมตลอดทั้งสิทธิอื่นใด เหนือทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันการชําระหนี้

สําหรับสินทรัพย์ด้อยคุณภาพนั้น หรือโดยการใช้

มาตรการอื่นใด เพื่อประโยชน์แก่การฟื้นฟู

เศรษฐกิจหรือความมั่นคงของประเทศและให้

รวมถึง

1) ถือกรรมสิทธิ์หรือมีสิทธิครอบครองหรือ มี

ทรัพย์สิทธิต่าง ๆ สร้าง ซื้อ จัดหา ขาย จําหน่าย เช่า

2) จัดตั้งบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดเพื่อ ประกอบธุรกิจใด ๆ อันเกี่ยวกับลูกหนี้ซึ่งรับ โอนมา ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการบริหารสิน สินทรัพย์ด้อยคุณภาพ

3) เข้าร่วมกิจการกับบุคคลอื่นหรือถือหุ้นใน บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดหรือนิติ

บุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่คณะกรรมการกําหนด

มีวัตถุประสงค์ในการ

 ส่งเสริมการจําหน่ายจ่ายโอนสินทรัพย์ด้อย คุณภาพของสถาบันการเงิน

 ส่งเสริมความพยายามที่จะทําให้ผู้ประกอบ กิจการที่อาจจะล้มละลายให้ดําเนินการตามปกติ

 ส่งเสริมและเพิ่มสภาพคล่องและความมั่นคงของ สถาบันการเงิน

KAMCO มีอํานาจดําเนินการดังต่อไปนี้

 รับสิทธิทั้งปวงเกี่ยวกับการดําเนินคดีทางศาลและ การยึดและจําหน่ายทรัพย์สิน

 ทํา Securitization

 ซื้อสินทรัพย์ด้อยคุณภาพและรับหุ้นอันเกิดจาก การโอนหนี้สินเป็นทุน

 รับจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ที่ออกโดยนิติบุคคล เฉพาะกิจเพื่อการแบ่งสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์

 ให้สินเชื่อหรือค้ําประกันไม่เกินจํานวนที่กําหนด

 ให้การสนับสนุนทางการเงินกับผู้ซื้อสินทรัพย์ที่

KAMCO รับโอนมา

 สงวนรักษาและรับชําระหนี้ของสินทรัพย์ด้อย คุณภาพ

 รับโอนสินทรัพย์ที่อยู่ภายใต้แผนปรับปรุงโครง สร้างหนี้ที่ทําขึ้นระหว่างลูกหนี้กับสถาบัน การเงิน (Self-rescue Plan)

IBRA มีหน้าที่ดังต่อไปนี้

 ปรับโครงสร้างหนี้ของธนาคารที่ได้รับการโอน มาจาก BANK Indonesia

 ชําระบัญชีสินทรัพย์ของธนาคารที่ได้รับโอนมา ทั้งสินทรัพย์ที่เป็นรูปธรรมและความรับผิด ต่าง ๆ ของลูกหนี้ผ่านทาง Asset Management Unit

 พยายามให้ได้มาซึ่งการชําระหนี้ที่ผ่าน กระบวนการชําระบัญชีสินทรัพย์แล้ว นอกจากนี้ IBRA สามารถตั้งหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อ ช่วยให้การทํางานของ IBRA เป็นไปอย่างราบรื่น เช่น ตั้ง Independent Review Committee ให้เป็นที่ปรึกษา ขององค์กร เป็นต้น และ IBRA สามารถแต่งตั้งหรือ โอนหน้าที่ให้บุคคลอื่นกระทําการแทนได้

IBRA มีอํานาจดําเนินการดังต่อไปนี้

 ดําเนินทางคดีต่อสินทรัพย์หรือหนี้ต่าง ๆ ในการ ปรับปรุงโครงสร้างหนี้

 ตั้งหน่วยงานหรือแผนกภายใน IBRA ในการ ควบคุม บริหาร หรือดําเนินการทวงกรรมสิทธิ์ใน สินทรัพย์หรือหนี้ในการปรับปรุงโครงสร้างหนี้

มีวัตถุประสงค์ในการ

 ช่วยเหลือสถาบันการเงินในการจําหน่าย จ่ายโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ

 ช่วยเหลือและส่งเสริมภาคธุรกิจ โดยเฉพาะกิจการที่ประสบปัญหาภาวะ ทางการเงิน และ

 ส่งเสริมการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของ ประเทศโดยการเพิ่มสภาพคล่องให้แก่ ระบบการเงิน

ทั้งนี้ Corporation จะดําเนินการเพื่อบรรลุ วัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้น โดยวิธีการ รูปแบบต่าง ๆ ซึ่งรวมทั้งรับโอนและการ จัดการสินทรัพย์และหนี้สิน การให้การ สนับสนุนทางการเงิน และการจําหน่ายจ่าย โอนสินทรัพย์และหนี้สินที่ได้รับโอนมา นอกจากอํานาจในการดําเนินการต่าง ๆ เป็น การทั่วไปตามที่ระบุในหนังสือบริคณห์สนธิ และข้อบังคั บและตามกฎหมาย Corporation ยังมีอํานาจในการดําเนินการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

 ดําเนินธุรกิจในรูปบริษัทบริหารสินทรัพย์

สาระสําคัญของกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง

รายชื่อประเทศ

ประเทศไทย บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย

( บสท. )

เกาหลี

Korea Asset Management Corporation ( KAMCO )

อินโดนีเซีย

The Indonesian Bank Restructuring Agency ( IBRA )

มาเลเซีย

Pengurusan Danahata Nasional Berhad ( Corporation )

4) ค้ําประกันสินเชื่อแก่ลูกหนี้ซึ่งรับโอนมาหรือ รับรอง รับอาวัล หรือสอดเข้าแก้หน้าในตั๋วเงิน 5) กู้หรือยืมเงิน

6) ออกหุ้นกู้ ตั๋วเงิน หรือตราสารแห่งหนี้

7) ให้กู้ยืมเงินแก่ลูกหนี้ซึ่งรับโอนมา

8) ถือพันธบัตรหรือตราสารของรัฐบาล องค์การ ของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยลงทุนของ

 จัดการหรือจําหน่ายสินทรัพย์ที่ไม่ได้ใช้

ดําเนินการหรือสินทรัพย์อื่นๆ ของ (Non Operating Asset) ที่สถาบันการเงินได้รับมา อันเนื่องมาจากการปรับโครงสร้างหนี้หรือ เป็นสินทรัพย์ที่สถาบันการเงินต้องการขาย เพื่อปรับปรุงสถานะภาพทางการเงิน

 จําหน่ายสินทรัพย์ที่ยึดครองหรืออายัดโดย

หรือสินทรัพย์ที่เป็นหรือกําลังจะเป็นกรรมสิทธิ์

ของธนาคารในการปรับปรุงโครงสร้างหนี้หรือ IBRA

 ดําเนินคดีต่อลูกหนี้ ธนาคาร สินทรัพย์ หนี้

และ/หรือสินทรัพย์ที่ถูกโอนมายัง IBRA

 ทบทวน เพิกถอน เลิกหรือเปลี่ยนแปลงข้อสัญญา ที่ผูกพันธนาคารในการปรับปรุงโครงสร้างหนี้

 รับโอนหรือได้มาซึ่งสินทรัพย์และหนี้สิน โดยวิธีการหรือรูปแบบใด ๆ

 จัดการบริหารให้การสนับสนุนทาง การเงิน รวมทั้งจําหน่ายจ่ายโอน สินทรัพย์หรือหนี้สินที่ได้รับมา

 กระทําการอื่นใดที่เกี่ยวเนื่องกับอํานาจที่ Corporation มีอยู่หรือจําเป็นเพื่อบรรลุ

(8)

กองทุนรวมที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

9) ซื้อ ซื้อลด หรือรับช่วงซื้อลดตราสารแห่งหนี้

หรือรับโอนสิทธิเรียกร้อง

10) กระทําการอื่นบรรดาที่เกี่ยวกับหรือเนื่องใน การจัดการให้สําเร็จตามวัตถุประสงค์

หน่วยงานราชการ

 จัดการและจําหน่ายสินทรัพย์ที่ได้รับโอนจาก หน่วยงานราชการ

 ชําระบัญชีบริษัทที่รัฐบาลถือหุ้นเกินกว่ากึ่งหนึ่ง

 เป็นทรัสต์ในส่วนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์

 ในกรณีที่มีความยากลําบากในการขายอสังหา ริมทรัพย์ให้มีอํานาจในการซื้ออสังหาริมทรัพย์

ข้างเคียงด้วย

 ให้เช่าสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์

 ส่งพนักงานไปทํางานกับบริษัทลูกหนี้ที่รับซื้อมา

กับบุคคลที่ 3 ที่ทาง IBRA เห็นว่าอยู่ในฐานะ เสียเปรียบ ซึ่งการตัดสินใจดังกล่าวต้องแจ้งแก่

คู่สัญญาที่เกี่ยวข้องทางไปรษณีย์ตอบรับ

 โอนหรือขายสินทรัพย์ หรือหนี้ต่าง ๆ ที่ได้รับ โอนมา ซึ่งผู้รับโอนหรือผู้ซื้อสินทรัพย์หรือหนี้

ต่างๆจะได้รับทั้งสิทธิหน้าที่ตลอดจน

ผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งคู่สัญญาเดิมมีอยู่ก่อน การโอนและ/หรือการขาย

 รับช่วงหรือซื้อสินทรัพย์หรือหนี้ในการปรับปรุง โครงสร้างหนี้ทั้งหมด หรือแต่บางส่วน โดยตรง หรือโดยอ้อม หรือผ่านทางการขายทอดตลาด การรับช่วงหรือซื้อสินทรัพย์หรือหนี้ดังกล่าวต้อง ทําอย่างชั่วคราวจนกว่า IBRA จะแต่งตั้งคู่สัญญา ที่จะมาเป็นผู้ซื้อที่แท้จริง ในกรณีที่รับช่วงหรือ ซื้ออสังหาริมทรัพย์ IBRA ต้องทําหนังสือ ข้อกําหนดการซื้อดังกล่าว และบันทึกในหนังสือ ที่ดินและโฉนดที่ดิน

วัตถุประสงค์ของ Corporation

สาระสําคัญของกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง

รายชื่อประเทศ

ประเทศไทย บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย

( บสท. )

เกาหลี

Korea Asset Management Corporation ( KAMCO )

อินโดนีเซีย

The Indonesian Bank Restructuring Agency ( IBRA )

มาเลเซีย

Pengurusan Danahata Nasional Berhad ( Corporation )

1.2 สถานะขององค์การ บริหารสินทรัพย์

มีฐานะเป็นนิติบุคคล ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ (ไม่ได้เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วย งบประมาณและกฎหมายอื่น) โดยแบ่งทุน ออกเป็นหุ้น ๆ ละเท่า ๆ กัน

มีฐานะเป็นนิติบุคคลประเภท Corporation มีสถานะเป็นนิติบุคคลประเภทบริษัท

( Corporation)ซึ่งจัดตั้งภายใต้กฎหมาย เกี่ยวกับบริษัท ค.ศ. 1965 ( The Companies Act 1965)

1.3 ทุน/การเพิ่มทุน

1.3.1 วิธีการ  ออกหุ้นเพิ่มทุน โดยได้รับอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรี

 ไม่นําหลักเกณฑ์ตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในส่วนที่

เกี่ยวกับการเสนอขายหุ้นต่อประชาชนมา บังคับใช้

 สามารถกําหนดราคาหุ้นที่จําหน่ายสูงกว่า มูลค่าหุ้นได้ (มี premium)

 บสท. ต้องลงโฆษณารายละเอียดเกี่ยวกับการ เสนอขายหุ้นในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

และในหนังสือที่แพร่หลายอย่างน้อย 1 ฉบับ

 มีเงินทุน 1 Trillion won ลงทุนโดยวิธีการถือหุ้น โดยสถาบันการเงิน โดยรัฐบาลอาจให้การ สนับสนุนด้านเงินทุนและค่าใช้จ่ายตามที่รัฐบาล เห็นสมควร

KAMCO จะจัดตั้งกองทุนที่เรียกว่า Non-performing Claim Resolution Fund โดยมีแหล่งที่มาของเงินทุน ดังกล่าวต่อไปนี้

 เงินที่ได้รับจากสถาบันการเงินตามสัดส่วนของ สินทรัพย์ไม่ก่อให้เกิดรายได้

 กระทรวงการคลังเข้าซื้อและถือหุ้น ทั้งหมดใน Corporation โดยจะเริ่ม ดําเนินการในวันที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลังจะกําหนด

 การถือหุ้นโดยกระทรวงการคลังมี ลักษณะเดียวกับบริษัทโฮลดิ้ง โดย กระทรวงการคลังมีสิทธิและอํานาจใน ฐานะผู้ถือหุ้นของ Corporation ตามที่ ระบุในหนังสือบริคณห์สนธิและ ข้อบังคับของ Corporation

 ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลในรูปการ

(9)

ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน  เงินของ KAMCO

 เงินสนับสนุนจากรัฐบาล

 ระดมทุนโดยวิธีการออกพันธบัตร ซึ่งอาจค้ํา ประกันโดยรัฐบาลก็ได้

 กู้ยืมรวมกิจการเงินกู้ยืมจากธนาคารกลาง

 กําไรจากการดําเนินการ

โดยกองทุนมีฐานะเป็นหน่วยงานรัฐบาลโดยมี

KAMCO เป็นผู้บริหารกองทุน โดยใช้เงินกองทุน ในการรับโอนสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้

ค้ําประกัน โดยรัฐบาลจะออกหนังสือค้ํา ประกันตาม Section 14 ของ Financial Procedure Act 1957

สาระสําคัญของกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง

รายชื่อประเทศ

ประเทศไทย บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย

( บสท. )

เกาหลี

Korea Asset Management Corporation ( KAMCO )

อินโดนีเซีย

The Indonesian Bank Restructuring Agency ( IBRA )

มาเลเซีย

Pengurusan Danahata Nasional Berhad ( Corporation )

1.3.2 ผู้มีสิทธิซื้อหุ้น เพิ่มทุน

 เสนอขายให้กับประชาชนหรือบุคคลใด ๆ ก็ได้โดยต้องเข้าชื่อซื้อหุ้นเพิ่มทุนตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ บสท. กําหนด

 หากเสนอขายไม่หมด กองทุนเพื่อการฟื้นฟู

และพัฒนาระบบสถาบันการเงินจะเป็นผู้รับ ซื้อไว้

2. คณะกรรมการและการ บริหาร

2.1 คณะกรรมการ บรรษัทบริหาร สินทรัพย์

อํานาจหน้าที่

1) กําหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงาน บุคคลเงินตอบแทนและค่าใช้จ่ายอื่นของ บสท.

2) กําหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดซื้อ จัดจ้าง การเงิน ทรัพย์สินและการบัญชี รวมทั้งการ ตรวจสอบและสอบบัญชีภายในของ บสท.

3) กําหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงานและ การดําเนินกิจการของ บสท.

4) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขในการ เข้าร่วมกิจการกับบุคคลอื่นหรือถือหุ้นใน บริษัทจํากัด บริษัทมหาชน หรือนิติบุคคลอื่น 5) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขและ

กระบวนการในการบริหารสินทรัพย์ด้อย คุณภาพ

6) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขใน การรับรู้และคํานวณผลกําไรหรือผลขาดทุน ของการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของ

คณะกรรมการมีทั้งสิ้น 11 คน และมีอํานาจ ดังต่อไปนี้

 จัดทําและแก้ไขข้อบังคับในการปฏิบัติงาน

 จัดทําและแก้ไขงบประมาณ

 จัดทําและแก้ไขการบริหารกองทุนสินทรัพย์ด้อย คุณภาพ

 กําหนดแผนงานยอดการออกหุ้นกู้หรือพันธบัตร

 รับโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพ อสังหาริมทรัพย์

หลักทรัพย์

 รับโอนบริษัทในเครือของลูกหนี้

IBRA จะประกอบด้วยประธาน 1 คน และรอง ประธานไม่เกิน 4 คน โดยประธานจะทําหน้าที่เป็น ผู้แทนของ IBRA ทั้งในศาลและนอกศาล ประธาน จะเป็นผู้กําหนดข้อบังคับในการบริหารการ ดําเนินงานการแต่งตั้ง ตลอดจนสิทธิและหน้าที่ของ เจ้าพนักงานของ IBRA

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นผู้แต่งตั้ง คณะกรรมการซึ่งมีสมาชิก 9 คน

ประกอบด้วย

 ประธาน( Non-executive Chairman) 1 คน

 กรรมการผู้จัดการ ( Managing Director) 1 คน

 เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานของรัฐบาลกลาง 2 คน

 ตัวแทนจากภาคเอกชน 3 คน

 ตัวแทนจากชุมชนที่ดูแลด้านงานระหว่าง ประเทศ(International Community) 2 คน

คณะกรรมการมีหน้าที่หลักในการรับผิดชอบ ด้วยนโยบายและการบริหารกิจการภายใน

(10)

บสท.

สาระสําคัญของกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง

รายชื่อประเทศ

ประเทศไทย บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย

( บสท. )

เกาหลี

Korea Asset Management Corporation ( KAMCO )

อินโดนีเซีย

The Indonesian Bank Restructuring Agency ( IBRA )

มาเลเซีย

Pengurusan Danahata Nasional Berhad ( Corporation )

7) พิจารณาให้ความเห็นชอบงบประมาณของ บสท.

8) แต่งตั้งที่ปรึกษา คณะที่ปรึกษา หรือ อนุกรรมการเพื่อดําเนินการใด ๆ แทน คณะกรรมการ

9) ออกข้อบังคับหรือหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขในเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวเนื่อง กับการบริหารงานหรือดําเนินกิจการของ บสท.

และธุรกิจของ Corporation นอกจากนี้ คณะกรรมการยังมีอํานาจหน้าที่ใด ๆ ที่ระบุ ไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิและข้อบังคับของ Corporation

2.2 คณะกรรมการ บริหาร (แต่งตั้ง โดยคณะ กรรมการ

บรรษัทบริหาร สินทรัพย์)

อํานาจหน้าที่

ดําเนินการเกี่ยวกับการบริหารสินทรัพย์ด้อย คุณภาพตลอดจนกําหนดกรอบและวิธีการในการ บริหารงานตามนโยบายของคณะกรรมการในเรื่อง ต่าง ๆ ต่อไปนี้

1) อนุมัติหรือวินิจฉัยสั่งการในการดําเนินการ ปรับโครงสร้างหนี้และปรับโครงสร้างกิจการ ของลูกหนี้ การจําหน่ายทรัพย์สินที่เป็น หลักประกันการชําระบัญชีของลูกหนี้ตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ บสท.

กําหนด

2) ติดตามและประเมินผลการบริหารสินทรัพย์

ด้อยคุณภาพและดําเนินงานทั่วไปเพื่อให้

สอดคล้องกับนโยบาย กรอบ และวิธีการที่วาง ไว้

3) แต่งตั้งที่ปรึกษา คณะที่ปรึกษา หรือ อนุกรรมการ เพื่อปฏิบัติการใด ๆ แทน คณะกรรมการบริหาร

4) อนุมัติแต่งตั้งพนักงานบริหาร

 กรรมการผู้จัดการจะดํารงตําแหน่งเป็น หัวหน้าเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร (CEO) ของ Corporation และดูแลด้วยการ บริหารงานทั่วไป

 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาจ แต่งตั้งกรรมการคนใด ๆ ให้ดําเนินการ ตามที่จําเป็นหรือเห็นสมควรเพื่อบรรลุ วัตถุประสงค์ของ Corporation

สาระสําคัญของกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง

รายชื่อประเทศ

ประเทศไทย บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย

( บสท. )

เกาหลี

Korea Asset Management Corporation ( KAMCO )

อินโดนีเซีย

The Indonesian Bank Restructuring Agency ( IBRA )

มาเลเซีย

Pengurusan Danahata Nasional Berhad ( Corporation )

5) ว่าจ้างบุคคลอื่นเพื่อดําเนินการในการบริหาร สินทรัพย์ด้อยคุณภาพ

6) จัดให้มีระบบ ข้อมูล และจัดหาข้อมูลที่จําเป็น ให้ผู้เกี่ยวข้อง

(11)

7) จัดหาแหล่งเงินทุนและพันธมิตรร่วมทุน เพื่อ ประโยชน์ในการปรับโครงสร้างกิจการของ ลูกหนี้

8) รายงานผลการดําเนินงานในการบริหาร สินทรัพย์ด้อยคุณภาพต่อคณะกรรมการทุก รอบ 3 เดือน

9) รับผิดชอบและดําเนินการต่าง ๆ ตามที่ได้รับ มอบหมายจากคณะกรรมการ

3. การโอนสินทรัพย์ด้อย คุณภาพให้แก่ บสท.

3.1 ประเภทสินทรัพย์

ที่ บสท. สามารถ รับซื้อรับโอนได้

สินทรัพย์ที่ บสท. สามารถรับโอนได้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังต่อไปนี้

กลุ่มที่ 1

1.1 สินทรัพย์ด้อยคุณภาพทั้งหมด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2543 ของสถาบันการเงินหรือ บริษัทบริหารสินทรัพย์ที่มีกองทุนฟื้นฟู

หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจถือหุ้นเกิน ร้อยละ 50 ของทุนจดทะเบียนที่ช าระแล้ว

สินทรัพย์ด้อยคุณภาพ หมายถึง สิทธิเรียกร้องที่เกิด จากการให้สินเชื่อของสถาบันการเงิน ซึ่งไม่มีการ ชําระหนี้ตรงตามกําหนดหรือที่กําหนดโดย คณะกรรมการว่ามีแนวโน้มอย่างยิ่งว่าจะเรียกชําระ หนี้ไม่ได้ โดยพิจารณาจากผลการดําเนินงานสถานะ ทางการเงินและรายได้ของลูกหนี้

ทั้งนี้ ให้ KAMCO ดําเนินการรับโอนสินทรัพย์

ดังต่อไปนี้ก่อน

 สินทรัพย์ด้อยคุณภาพที่ถือว่ามีความสําคัญของ

Corporation มีอํานาจในการรับโอนหรือเข้า ซื้อสินทรัพย์ประเภทต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

 สินเชื่อ (Credit Facility) หรือการให้ เงินกู้ประเภทต่าง ๆ และในรูปแบบใด ๆ ที่ได้ทําหรือเกิดขึ้นตามหลักการ ธนาคารของศาสนาอิสลาม ( Islamic Banking Concepts) /การค้ําประกันหนี้ ของบุคคลใด ๆ การกระทําหรือธุรกรรม ที่ธนาคารกลางแห่งมาเลเซียลงประกาศ กําหนด

สาระสําคัญของกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง

รายชื่อประเทศ

ประเทศไทย บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย

( บสท. )

เกาหลี

Korea Asset Management Corporation ( KAMCO )

อินโดนีเซีย

The Indonesian Bank Restructuring Agency ( IBRA )

มาเลเซีย

Pengurusan Danahata Nasional Berhad ( Corporation )

โดยต้องเป็นสินทรัพย์ด้อยคุณภาพที่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(ก) สินทรัพย์จัดชั้นสูญ (ข) สินทรัพย์จัดชั้นสงสัยจะสูญ (ค) สินทรัพย์จัดชั้นสงสัย (ง) สินทรัพย์จัดชั้นต่ํากว่ามาตรฐาน

 คณะกรรมการบริหารโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการ บสท. จะกําหนดให้โอน สินทรัพย์ตาม (1) (ก), (ข) เฉพาะที่มีเจ้าหนี้

เกิน 1 รายก็ได้มาให้แก่ บสท. ก็ได้ แต่

สถาบันการเงินหรือบริษัทบริหารสินทรัพย์

ซึ่งเป็นเจ้าหนี้หรือผู้รับโอนหนี้จากสถาบัน การเงิน แล้วแต่กรณี ต้องรายงานการ ดําเนินการเกี่ยวกับสินทรัพย์ด้อยคุณภาพที่

สาธารณะ

 สินทรัพย์ด้อยคุณภาพที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้

เสียจํานวนมาก

 สินทรัพย์ด้อยคุณภาพที่สามารถขายได้ทันที

เนื่องจากไม่มีข้อจํากัดใด ๆ ในการขาย KAMCO จะไม่รับโอนสินทรัพย์ที่มีบุริมสิทธิอัน เหนือกว่าอันเป็นที่คาดการณ์ได้ว่าการรับโอนจะไม่

คุ้มค่าเกินกว่าที่ระบุไว้ในข้อบังคับการทํางานของ KAMCO

ให้ถือเป็นสินเชื่อ (Credit Facility) ตาม Banking and Financial Institution Act 1989

 ทรัพย์สิน ( Property) ทั้ง สังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์

 ธุรกิจต่าง ๆ

 กิจการต่าง ๆ

 สิทธิ ประโยชน์ และหน้าที่ต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องหรือเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย์ ประเภทต่าง ๆ ที่กล่าวข้างต้น

(12)

เหลือให้ บสท.ทราบตามเวลาที่ บสท.

กําหนด และบสท. จะสั่งให้สถาบันการเงิน หรือบริษัทบริหารสินทรัพย์ ซึ่งเป็นเจ้าหนี้

โอนสินทรัพย์ทั้งหมดหรือบางรายให้แก่

บสท. เมื่อใดก็ได้

 คณะกรรมการ บสท. จะกําหนดให้สถาบัน การเงินโอนสินทรัพย์ตาม (1) (ค) และ (1) (ง) บางส่วนหรือเฉพาะรายก็ได้

สาระสําคัญของกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง

รายชื่อประเทศ

ประเทศไทย บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย

( บสท. )

เกาหลี

Korea Asset Management Corporation ( KAMCO )

อินโดนีเซีย

The Indonesian Bank Restructuring Agency ( IBRA )

มาเลเซีย

Pengurusan Danahata Nasional Berhad ( Corporation )

1.2 สินทรัพย์ที่จะโอนไปยัง บสท. ให้รวมถึง สินทรัพย์ที่มีการฟ้องคดีอยู่ในศาลโดยยังไม่

มีคําพิพากษา โดยให้ศาลสั่งจําหน่ายคดีออก จากสาระบบความ แต่ไม่รวมถึงสินทรัพย์ที่

ศาลล้มละลายสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดหรือสั่ง อนุมัติแผนฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้แล้ว กลุ่มที่ 2

2.1 สินทรัพย์ด้อยคุณภาพของสถาบันการเงิน หรือบริษัทบริหารสินทรัพย์ของเอกชนที่มี

ลักษณะดังต่อไปนี้

(ก) สินทรัพย์ด้อยคุณภาพที่มีอยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2543 ของสถาบันการเงิน หรือบริษัทบริหารสินทรัพย์ซึ่งมี

ทรัพย์สินเป็นหลักประกันการชําระหนี้

และเป็นสินทรัพย์ด้อยคุณภาพที่ถูกจัด ขั้นตอนตามข้อ 1.1 ก) – ง) (ข) ลูกหนี้ซึ่งรับโอนมาดังกล่าวเป็นนิติ

บุคคลและมีฐานะเป็นลูกหนี้ของถาบัน การเงินหรือบริษัทบริหารสินทรัพย์

ตั้งแต่สองรายขึ้นไป ไม่ว่าจะมีบุคคล ธรรมดาเป็นลูกหนี้ในฐานะผู้ค้ําประกัน ด้วยหรือไม่ก็ตาม

(ค) มูลค่าของสินทรัพย์ด้อยคุณภาพตาม บัญชีของทุกสถาบันการเงินและบริษัท บริหารสินทรัพย์รวมกันสําหรับลูกหนี้

(13)

แต่ละรายเป็นจํานวนเงินตั้งแต่

สาระสําคัญของกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง

รายชื่อประเทศ

ประเทศไทย บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย

( บสท. )

เกาหลี

Korea Asset Management Corporation ( KAMCO )

อินโดนีเซีย

The Indonesian Bank Restructuring Agency ( IBRA )

มาเลเซีย

Pengurusan Danahata Nasional Berhad ( Corporation )

ห้าล้านบาทขึ้นไป และ (ง) สินทรัพย์ด้อยคุณภาพนั้นยังมิได้มีความ

ตกลงเป็นหนังสือปรับโครงสร้างหนี้

ใหม่แล้วภายในสามสิบวันนับแต่วันที่

พระราชกําหนดนี้ใช้บังคับ และมิได้

เป็นสินทรัพย์ด้อยคุณภาพที่ศาลมีคําสั่ง เห็นชอบด้วยแผนฟื้นฟูกิจการของ ลูกหนี้ตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย แล้วก่อนวันที่พระราชกําหนดนี้ใช้

บังคับคณะกรรมการ บสท. จะ กําหนดให้รับโอนเฉพาะสินทรัพย์ด้อย คุณภาพที่ถูกจัดชั้นตาม 1.1 (ก) หรือ (ข) หรือสินทรัพย์ด้อยคุณภาพตาม 1.1 (ค) และ (ง) ซึ่งเปลี่ยนไปเป็นสินทรัพย์

ด้อยคุณภาพตาม 1.1 (ก) หรือ (ข) ใน หรือก่อนวันที่ พรก. นี้ใช้บังคับก็ได้

2.2 กรณีของสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของสถาบัน การเงินหรือบริษัทบริหารสินทรัพย์เอกชนที่

มีการฟ้องคดีอยู่ในศาลต้องเป็นสินทรัพย์ที่

ศาลยังไม่ได้มีคําพิพากษา โดยให้ศาลสั่ง จําหน่ายคดีออกจากสาระบบความแต่ไม่

รวมถึงกรณีที่ศาลมีคําสั่งพิทักษ์ทรัพย์

ชั่วคราวหรือเด็ดขาดหรือให้ความเห็นชอบ แผนฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้แล้วซึ่งการโอน มานั้นรวมถึงหนี้ของนิติบุคคลอื่นที่นิติบุคคล ผู้เป็นลูกหนี้หรือผู้ถือหุ้นข้างมากของนิติ

บุคคลที่เป็นลูกหนี้มีหุ้นอยู่เกินร้อยละ 50 สาระสําคัญของกฎหมาย

ที่เกี่ยวข้อง

รายชื่อประเทศ

ประเทศไทย บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย

( บสท. )

เกาหลี

Korea Asset Management Corporation ( KAMCO )

อินโดนีเซีย

The Indonesian Bank Restructuring Agency ( IBRA )

มาเลเซีย

Pengurusan Danahata Nasional Berhad ( Corporation )

และหนี้ที่ผู้บริหารของลูกหนี้หรือบุคคลอื่น ยอมงานเข้าเป็นหนี้เพื่อประโยชน์ของลูกหนี้

หรือของนิติบุคคลอื่นนั้น หรือเพื่อชําระหนี้

หรือดอกเบี้ยของลูกหนี้หรือของนิติบุคคลอื่น นั้นด้วย

Referensi

Dokumen terkait

Figure 1: Conceptual Framework Contact history Online learning readiness Psychological impact Depression Anxiety Stress Resources Internet speed Contact history Tested for