• Tidak ada hasil yang ditemukan

View of แหล่งเรียนรู้ของจังหวัดสระแก้ว เพื่อส่งเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "View of แหล่งเรียนรู้ของจังหวัดสระแก้ว เพื่อส่งเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21"

Copied!
12
0
0

Teks penuh

(1)

แหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21*

Learning Resources of Sakaeo Province for Education of 21

st

Century Promotion

ดวงสมร พิชัยคํา**

วรวุฒิ เพ็งพันธ***

ศรีวรรณ ยอดนิล****

บทคัดยอ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) สํารวจแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่

21 2) ศึกษาคุณลักษณะแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว ในการสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 3) ศึกษาแนวทาง การใชประโยชนแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมการเรียนการสอน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมัธยมศึกษาตอนปลาย การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบดวย การวิจัยเอกสาร การสํารวจพื้นที่ การสังเกตแบบไมมีสวนรวม และการสนทนากลุม ซึ่งผลการวิจัยพบวา

1. แหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ประกอบไปดวย แหลงเรียนรู

ประเภทบุคคล 10 คน แหลงเรียนรูประเภทกิจกรรมและวัฒนธรรม 12 กิจกรรม แหลงเรียนรูประเภท ทรัพยากรธรรมชาติ 24 แหง และ แหลงเรียนรูประเภทสถานที่และวัสดุอุปกรณ 12 แหง ซึ่งแหลงเรียนรูประเภทบุคคล เปนแหลงเรียนรูที่สําคัญที่สุดเปนทั้งผูสรางและผูไดใชประโยชน

2. คุณลักษณะแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 พบวามี 4 แหง ที่มี

คุณลักษณะของแหลงเรียนรูครบทั้ง 4 ประเภท และครอบคลุมทักษะการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ครบทั้ง 7 ทักษะ ดังนั้นแหลงเรียนรูดังกลาวถือไดวาเปนทุนทางสังคมของจังหวัดสระแกวที่สําคัญที่จะชวยพัฒนาการศึกษาใหเปนสังคม แหงการเรียนรูไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ไดแก ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษาสระแกว ศูนยฝกอาชีพและพัฒนา ราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแกว สหกรณโคนมวังน้ําเย็น จํากัด และโรงเรียนกาสรกสิวิทย

3. แนวทางการสงเสริมแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรม การเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มัธยมศึกษาตอนปลาย พบวาครูสามารถนํามาบูรณาการไดกับการสอน ครบทั้ง 8 กลุมสาระการเรียนรู ดังนั้นครูจึงมีบทบาทสําคัญในการใชประโยชนและแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อสรางชุมชน แหงการเรียนรูทางวิชาชีพสําหรับครู

คําสําคัญ : แหลงเรียนรู/ การศึกษาในศตวรรษที่ 21 Abstract

This research aimed to: 1) explore the learning resources of Sa Kaeo to support the learning in the 21st century. 2) study the characteristics of learning resources in Sa Kaeo to support the learning in the 21st century. 3) Study the use of learning resources in Sa Kaeo to support the learning in the 21st century for upper secondary education. The research results were;

*วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา

**นิสิตหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา

***อาจารยที่ปรึกษาหลัก อาจารย ดร. ภาควิชาการอาชีวศึกษาและพัฒนาสังคม คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา

****อาจารยที่ปรึกษารวม รองศาสตราจารย ดร. ภาควิชาการอาชีวศึกษาและพัฒนาสังคม คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา

New_1-8-62.indd 136

New_1-8-62.indd 136 2/8/2562 13:25:562/8/2562 13:25:56

(2)

1. Sources of learning in Sa Kaeo comprised of 10 humans as a resource, 12 types of activity based learning resources, 24 types of natural resources and 12 types of places and materials. Human learning resource is the most important source of learning both for creators and users.

2. Characteristics of Sa Kaeo learning resource to support 21st-century learning were found learning resources that covered all 4 aspects and cover 21st century 7 skills. These sources of learning were considered to be the social capital of Sa Kaeo province to help develop education into a learning society throughout the life, include Science Center for Education of Sa Kaeo, Thai Vocational Training and Development Center at Sa Kaeo border, Wang Nam Yen Dairy Cooperative Ltd and The Water Buffalo Agricultural School.

3. The guide line to promote learning resources in Sa Kaeo, to support 21st century learning for upper secondary education was that the teachers can utilize them to teach all 8 subject strands for building the profession learning community.

Keywords : Learning Resources/ Education of 21st Century ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ประเทศไทยไดใหความสําคัญดานการศึกษาในฐานะกลไกหลักในการพัฒนาประเทศ ตามแผนการศึกษา แหงชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 วาดวยการวางเปาหมาย ระบบการศึกษา และทิศทางการจัดการศึกษา โดยจะมุงเนนจัด การศึกษาใหคนไทยทุกคนทุกวัยสามารถเขาถึงโอกาสและความเสมอภาคในการศึกษาที่มีคุณภาพ การศึกษาในชวง การศึกษาไทย 1.0-3.0 นั้นเปนยุคแหงการจัดการศึกษาใหกวางขึ้น ซึ่งแกปญหาดวยการจัดการศึกษาสําหรับลูกหลาน ขุนนางชั้นสูง แตระบบการเรียนในชวงนั้นยังเปนการเรียนแบบบอกจากผูสอนเพียงเทานั้นแตปจจุบันการศึกษาไทย 4.0 การศึกษาในยุคนี้จึงเปนการศึกษาเพื่อทําใหเศรษฐกิจดําเนินไปอยางเร็ว ประกอบกับวิวัฒนาการดานสื่อการเรียนรูที่เขา มาอยางแพรหลายผานชองทางสื่อดิจิตอลในรูปแบบตางๆซึ่งสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 25 กลาววารัฐตองสงเสริมการดําเนินงาน และจัดตั้งแหลงเรียนรูตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ไดแกหองสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ หอศิลป สวนสัตว สวนสาธารณะ สวน พฤกษศาสตร อุทยานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ศูนยการกีฬาและนันทนาการแหลงขอมูลและแหลงการเรียนรูอื่น อยางพอเพียงและมีประสิทธิภาพ

จากขอความที่กลาวมาสรุปไดวาแหลงเรียนรูมีความสําคัญในการสรางใหผูเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู และ สามารถสัมผัสเพื่อนําสูการปฏิบัติจริง เพื่อประโยชนในกระบวนการเรียนการสอน ในดานความคิดสรางสรรค และ ทักษะเพื่อนําไปสูการปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ทั้งนี้ศตวรรษที่ 21 ถือเปนชวงเวลาที่ทาทายความสามารถของคน เพราะ เปนยุคที่โลกตองการความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ประกอบกับการรับขอมูลขาวสารที่ไมมีที่จํากัด เพียงแค

คลิกที่ปลายนิ้ว เราก็สามารถเขาถึงทุกมุมของโลกได ซึ่งทั่วโลกแวดวงทางการศึกษาไดกาวผานพนรูปแบบการเรียนการ สอนที่ใชครูเปนศูนยกลาง มาเปนรูปแบบในแบบกระบวนทัศนใหม เรียกไดวาเปนการจัดการเรียนการสอนยุคฐานแหง เทคโนโลยี (อนงค สินธุสิริ, 2557) การศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21 จะมุงเนนสงเสริมใหผูเรียนมีคุณธรรม รักความเปน ไทย มีทักษะการคิดวิเคราะหสรางสรรค รวมทั้งมีทักษะดานเทคโนโลยี สามารถทํางานรวมกับผูอื่น และสามารถอยู

รวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีสันติครูยุคใหมตอง “ไมเนน” การสอน แตทําหนาที่สรางแรงบันดาลใจ คอยชี้แนะ แนวทางเกิดขึ้นในตัวของผูเรียน เนนการออกแบบกระบวนการเรียนรู เปนผูชี้แนะแนวการเรียนรู (Coaching) ในดาน

New_1-8-62.indd 137

New_1-8-62.indd 137 2/8/2562 13:25:562/8/2562 13:25:56

(3)

เนื้อหาสาระสําคัญที่ใช(วิจารณ พาณิช,2555) การจัดการเรียนรูสําหรับศตวรรษที่ 21 จะยึดหลัก 3R ไดแก Reading (อานออก), (W) Riting (เขียนได) และ (A) Rithmetics (คิดเลขเปน) และ 7C ไดแก 1) Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและทักษะในการแกปญหา) 2) Creativity and Innovation (ทักษะดานการสรางสรรคและนวัตกรรม) 3) Cross-cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจความตาง วัฒนธรรมตางกระบวนทัศน) 4) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทํางาน เปนทีม และภาวะผูนํา) 5) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะดานการสื่อสาร สารสนเทศ และรูเทาทันสื่อ) 6) Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร) และ7) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู) ปจจุบันแหลงเรียนรูจึงมี

ความสําคัญตอตัวผูเรียน ชวยใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ทําใหเกิดการเรียนรูอยางมีความสุข (ประสิทธิ์

พิทักษคชาวงศ, 2554)

จังหวัดสระแกว มีประวัติความเปนมายาวนานนับ 4,000 ป ตั้งแตยุคหินใหม – ยุคโลหะ โดยมีการคนพบ วัตถุโบราณตางๆมากมาย เปนแหลงโบราณวัตถุ รวมไปถึงแหลงโบราณคดีตางๆ ซึ่งมีแหลงเรียนรูอยูจํานวนมาก แตยัง ไมพบวามีการรวบรวมแหลงเรียนรูไวอยางเปนระบบ และยังไมสามารถนําแหลงเรียนรูเหลานี้มาบูรณาการกับการศึกษา ในปจจุบันไดอยางมีประสิทธิภาพ (แผนพัฒนาจังหวัดสระแกว,2561-2564) ดังนั้นการสํารวจแหลงเรียนรูของจังหวัด สระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ซึ่งประกอบดวยสถานที่ศึกษาคือ จังหวัดสระแกว จึงมีความสําคัญอีก ทั้งการศึกษาวิจัยครั้งนี้ใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –2564) และ แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ.2560 -2579) ซึ่งมีนโยบายในการสรางความมั่นคงและเขมแข็งใหกับระบบเศรษฐกิจของ ประเทศ รวมทั้งสรางสังคมใหมีคุณภาพ มุงเนนใหคนเปนศูนยกลางการพัฒนา เพื่อสรางความมั่นคงของชาติ

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อสํารวจแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21

2. เพื่อศึกษาคุณลักษณะแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว ในการสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 3. เพื่อศึกษาแนวทางการใชประโยชนแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่

21 ในกิจกรรมการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมัธยมศึกษาตอนปลาย คําถามวิจัย

1. แหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 มีอะไรบาง

2. แหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 มีคุณลักษณะเปนอยางไร และมี

อะไรบาง

3. แนวทางการใชประโยชนแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการ กิจกรรมการเรียนการสอนมีแนวทางอยางไร

ขอบเขตการวิจัย

การวิจัยเรื่องแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 มีขอบเขตการศึกษา ดังนี้

1. ขอบเขตพื้นที่ที่ดําเนินการศึกษา คือ จังหวัดสระแกว

New_1-8-62.indd 138

New_1-8-62.indd 138 2/8/2562 13:25:562/8/2562 13:25:56

(4)

2. ขอบเขตผูรวมสนทนากลุม ดําเนินการในการสนทนากลุม (Focus group discussion) ผูรวมสนทนา กลุมเลือกอยางเจาะจง คือครูผูสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนจังหวัดสระแกว สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษาเขต 7 จํานวน 8 คน ในกลุมสาระวิชาการเรียนรูการศึกษาขั้นพื้นฐาน 8 กลุมดังนี้

1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 2. กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ

3. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4. กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

5. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

6. กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา 7. กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

8. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

3. ขอบเขตดานเนื้อหา

3.1 สํารวจแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ไดแกแหลงเรียนรู

ประเภทบุคคล แหลงเรียนรูประเภทกิจกรรมและวัฒนธรรม แหลงเรียนรูประเภททรัพยากรธรรมชาติ และแหลงเรียนรู

ประเภทสถานที่และวัสดุอุปกรณ

3.2 ศึกษาคุณลักษณะแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ไดแก

ลักษณะของแหลงเรียนรูที่สงเสริมทักษะการศึกษาในศตวรรษที่ 21

3.3 ศึกษาแนวทางการใชประโยชนแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่

21 ในกิจกรรมการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมัธยมศึกษาตอนปลาย ไดแก การบูรณาการความรู กลุมสาร การเรียนรู

กรอบแนวคิดในการวิจัย

กรอบแนวคิดการวิจัยเรื่องแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 มีขอบเขตการศึกษาดังนี้

คุณลักษณะการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (7C) (วิจารณ พานิช, 2555) - ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและทักษะในการแกปญหา - ทักษะดานการสรางสรรคและนวัตกรรม

- ทักษะดานความเขาใจความตางวัฒนธรรมตางกระบวนทัศน

- ทักษะดานความรวมมือ การทํางานเปนทีม และภาวะผูนํา - ทักษะดานการสื่อสารสารสนเทศ และรูเทาทันสื่อ

- ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู

แหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกวเพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (แผนพัฒนาจังหวัดสระแกว, 2560)

แนวทางการใชประโยชนแหลงเรียนรูของ จังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาใน ศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมการเรียนการ สอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มัธยมศึกษาตอนปลาย

New_1-8-62.indd 139

New_1-8-62.indd 139 2/8/2562 13:25:562/8/2562 13:25:56

(5)

ประโยชนที่รับจากการวิจัย

1. ไดขอมูลแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21

2. ไดทราบคุณลักษณะแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21

3. ไดแนวทางการสงเสริมการใชประโยชนแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษ ที่ 21 ในกิจกรรมการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมัธยมศึกษาตอนปลาย

นิยามศัพทเฉพาะ

แหลงเรียนรู หมายถึง แหลงขอมูลขาวสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ ความรูและกิจกรรมที่สนับสนุนใหผูเรียน แสวงหา ความรู และเรียนรูดวยตนเองตามอัธยาศัย ไดแก แหลงเรียนรูประเภทบุคคล แหลงเรียนรูประเภทกิจกรรม และวัฒนธรรม แหลงเรียนรูประเภททรัพยากรธรรมชาติ และแหลงเรียนรูประเภทสถานที่และวัสดุอุปกรณ

แหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว หมายถึง สถานที่ศึกษาเรียนรูภายในจังหวัดสระแกว ซึ่งเปนสถานที่ที่ใช

สงเสริมกิจกรรมการเรียนรู มีความสําคัญในทองถิ่นหรือมีความหมายตอชีวิตและทําใหเห็นคุณคา เพื่อเพิ่มศักยภาพของ ผูเรียนใหเกิดการพัฒนาในทุกๆดาน อีกทั้งเปนสถานที่นําไปสูการแลกเปลี่ยนเรียนรูตลอดชีวิต

การใชแหลงเรียนรูหมายถึง การนําความรูที่ไดจากแหลงเรียนรูมาประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอน ของโรงเรียนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษา และพลศึกษา กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ และกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

คุณลักษณะของแหลงเรียนรู หมายถึง แหลงเรียนรูที่ไดจากการศึกษาที่มีลักษณะเฉพาะที่สงเสริมทักษะการ เรียนรูทั้ง 7ดาน ไดแก ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและทักษะในการแกปญหา ทักษะดานการสรางสรรคและ นวัตกรรม ทักษะดานความเขาใจความตางวัฒนธรรมตางกระบวนทัศน ทักษะดานความรวมมือ การทํางานเปนทีม และ ภาวะผูนํา ทักษะดานการสื่อสารสารสนเทศและรูเทาทันสื่อ ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู

วิธีการดําเนินการวิจัย

การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยไดกําหนดขั้นตอนและวิธีการดําเนินการ วิจัยไว 3 ตอนมีรายละเอียดดังนี้

1. การสํารวจแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21

2. การศึกษาคุณลักษณะแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21

3. การศึกษาแนวทางการใชประโยชนแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่

21 ในกิจกรรมการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมัธยมศึกษาตอนปลาย การเลือกพื้นที่ในการศึกษา

จังหวัดสระแกวเปนพื้นที่ในการวิจัย ดวยเหตุผลดังตอไปนี้

1. ดานประวัติศาสตร จังหวัดสระแกวมีแหลงขอมูลที่สําคัญทั้งทางดานประวัติศาสตร ภูมิศาสตร และ ศิลปวัฒนธรรม นานนับ 4,000 ป ตั้งแตยุคหินใหม-ยุคโลหะ ที่ควรแกการศึกษา

2. ดานภูมิศาสตร จังหวัดสระแกวมีพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ 10 แหง และมีอุทยานแหงชาติ2 แหงไดแก

อุทยานแหงชาติปางสีดา และอุทยานแหงชาติตาพระยา ที่อุดมสมบูรณไปดวยปาไม แมน้ําลําธาร มีแหลงน้ําที่สําคัญ หลายสาย รวมไปถึงเปนเขตอรุรักษพันธุสัตวปาสงวนอีกดวย

New_1-8-62.indd 140

New_1-8-62.indd 140 2/8/2562 13:25:562/8/2562 13:25:56

(6)

3. ดานเศรษฐกิจ จังหวัดสระแกวมีเขตพื้นที่ติดกับประเทศกัมพูชา มีการนําเขาและสงออกสินคา ซื้อขาย แลกเปลี่ยน โดยมีจุดผานแดนที่สําคัญ 4 จุด คือจุดผานแดนถาวรบานคลองลึก อําเภออรัญประเทศ และอีก3จุดเปนจุด ผอนปรนชั่วคราว คือ จุดผอนปรนการคาบานเขาดิน – บานกิโล13 ระหวางอําเภอคลองหาดกับอําเภอเภาลูน จังหวัด พระตะบอง จุดผอนปรนการคาบานหนองปรือ – มาลัย ระหวางอําเภออรัญประเทศกับอําเภอมาลัย จังหวัดบันเตีย เมียนเจย และจุดผอนปรนการคาบานตาพระยา – บึงตากวน ระหวางอําเภอตาพระยากับอําเภอทมอพวก จังหวัดบัน เตียนเมียนเจย

4. ดานการศึกษา จังหวัดสระแกว มีหนวยงานรับผิดชอบการจัดการศึกษาทั้ง 3 รูปแบบ คือการศึกษาใน ระบบ การศึกษานอกระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งเปนไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.

2542 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 และจังหวัดสระแกวยังมีมหาวิทยาลัยเพื่อจัดการเรียนการสอนใน ระดับอุดมศึกษาอีกดวยมีทั้งหมด 4 แหงดวยกัน

ตอนที่ 1 การสํารวจแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21

การศึกษาวิจัยในขั้นตอนนี้เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative research)โดยใชวิธีการสํารวจพื้นที่ที่

ศึกษา (Area Survey) โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. การศึกษาในขั้นตอนนี้ใชวิธีการสํารวจพื้นที่ (Area Survey) โดยผูวิจัยเปนเครื่องมือสําคัญในการ ดําเนินการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยตองเตรียมตัวและศึกษาขอมูลจาก เอกสาร งานวิจัย บทความ เพื่อรวบรวมขอมูลในดาน คุณลักษณะของแหลงเรียนรู และบริบทของพื้นที่วิจัยเพื่อดําเนินการลงพื้นที่สํารวจแหลงเรียนรูตางๆ ในพื้นที่จังหวัด สระแกว

2. ขั้นเตรียมการ

2.1 การเตรียมตัวของผูวิจัย ผูวิจัยทําการเก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสาร หนังสือ บทความ และงานวิจัย ที่เกี่ยวของ รวมถึงเตรียมตัวลงเก็บขอมูลดวยตนเอง

2.2 การเตรียมตัวของผูวิจัย ในดานการเตรียมการศึกษาขอมูลดานบริบทพื้นที่ เพื่อลงพื้นที่สํารวจแหลง เรียนรูของจังหวัดสระแกว

2.3 ดําเนินการลงพื้นที่สํารวจแหลงเรียนรู ตามขอมูลที่ไดจากการศึกษา 3. การเก็บรวบรวมขอมูล

ผูวิจัยทําการเก็บรวบรวมขอมูล ตามขั้นตอนดังนี้

3.1 วิธีการศึกษาเอกสาร จากแผนพัฒนาจังหวัดสระแกว วารสารประชาสัมพันธจังหวัดสระแกว แผนผับ จากแหลงเรียนรูตางๆในจังหวัดสระแกว

3.2 การลงพื้นที่ดําเนินการศึกษาตามขั้นตอนโดยวิธีการสํารวจ จดบันทึกภาคสนาม (Field notes) ถายภาพ สัมภาษณ บันทึกวีดิโอ และการสังเกตแบบไมมีสวนรวม การบันทึกขอมูลจากการสํารวจ

4. การแปลผลขอมูล หลังจากการสํารวจ ผูวิจัยจะตองนําขอมูลมาวิเคราะหและสรุป ผลการสํารวจเชิง พรรณนาความ

5. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 5.1 ผูวิจัยเปนเครื่องมือสําคัญในการดําเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมขอมูล และมีเครื่องมือที่ใชในการ

วิจัยอื่นๆประกอบ ไดแก สมุดจดบันทึก กระดาษ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องบันทึกภาพ (VDO) และกลองถายภาพ 5.2 วิธีการสํารวจพื้นที่ (Area Survey) โดยจัดทําตาราง Check list เพื่อประกอบการสํารวจ โดยสราง จากการศึกษาขอมูลแหลงเรียนรูในจังหวัดสระแกว

New_1-8-62.indd 141

New_1-8-62.indd 141 2/8/2562 13:25:562/8/2562 13:25:56

(7)

ตอนที่ 2 การศึกษาคุณลักษณะแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 กระบวนการดําเนินงานมีดังนี้

1. ผูวิจัยวิเคราะหขอมูลจากขอคนพบในตอนที่หนึ่ง จากการจําแนกประเภทของแหลงเรียนรูโดยวิธีการ สํารวจแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 มาเปนกรอบแนวคิดในศึกษาคุณลักษณะ ของแหลงเรียนรู

2. เก็บรวบรวมขอมูลแหลงเรียนรู จากวารสาร สิ่งตีพิมพ และงานวิจัยตางๆที่เกี่ยวของกับแหลงเรียนรูที่ได

ศึกษา

3. นําเสนอขอมูลโดยการพรรณนาถึงคุณลักษณะแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาใน ศตวรรษที่ 21 โดยอภิปรายผลจากการวิเคราะหขอมูลในขอที่สอง

ตอนที่ 3 การศึกษาแนวทางการใชประโยชนแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาใน ศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมัธยมศึกษาตอนปลาย

การดําเนินการมีดังนี้

1. การสนทนากลุม (Focus group Discussion) ผูรวมสนทนากลุม เลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) จํานวน 8 คน โดยผูรวมสนทนากลุมคือ ครูผูสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายทั้ง 8 กลุมสาระการเรียนรู

กลุมละ 1 คนจากโรงเรียนในจังหวัดสระแกว สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 7 มีเกณฑการ คัดเลือก คือเปนครูที่มีประสบการณการสอนอยางนอย 3 ปขึ้นไป ใหผูรวมสนทนากลุมเสนอแนวทางการใชประโยชน

ของแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมการเรียนการสอน

2. วิเคราะหขอมูลจากขอคนพบตอนที่หนึ่งในดานเนื้อหา และนําขอมูลที่ไดมาเปนประเด็นในการสนทนา กลุม และสรุปขอมูลสําคัญ โดยระบุประเด็นใหไดมาซึ่งแนวทางการใชประโยชนแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อ สงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่ออภิปรายผลการวิจัย

3. การวิเคราะหขอมูลโดยการวิเคราะหเนื้อหา ตามวัตถุประสงคการวิจัย ผลการวิจัย

แหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21

ผลการสํารวจแหลงเรียนรูในจังหวัดสระแกว ผูวิจัยไดแบงแหลงเรียนรูออกเปน 4 ประเภท ดังนี้

1. แหลงเรียนรูประเภทบุคคล มีจํานวน 10 คน

2. แหลงเรียนรูประเภทกิจกรรมและวัฒนธรรม มีจํานวน 12 กิจกรรม 3. แหลงเรียนรูประเภทแหลงทรัพยากรธรรมชาติ มีจํานวน 24 แหง 4. แหลงเรียนรูประเภทสถานที่และวัสดุอุปกรณ มีจํานวน 14 แหง

คุณลักษณะแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21

จากการศึกษาคุณลักษณะแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว ในการสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 พบวา มีแหลงเรียนรู 4 แหงที่เขาเกณฑการสงเสริมทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (7C) ประกอบดวย

1. ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษาสระแกว

2. ศูนยฝกอาชีพและพัฒนาราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแกว 3. สหกรณโคนมวังน้ําเย็น จํากัด

4. โรงเรียนกาสรกสิวิทย

New_1-8-62.indd 142

New_1-8-62.indd 142 2/8/2562 13:25:572/8/2562 13:25:57

(8)

แนวทางการใชประโยชนแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมัธยมศึกษาตอนปลาย

3.1 ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษาสระแกว

3.1.1 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย - ดานการอาน - ดานการฟง 3.1.2 กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและ

วัฒนธรรม

- ดานศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

- ดานหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดําเนินชีวิตในสังคม 3.1.3 กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ - ดานภาษาเพื่อการสื่อสาร

- ดานภาษาและวัฒนธรรม 3.1.4 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร - ดานจํานวนและการดําเนินการ

- ดานเรขาคณิต

- ดานทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร

3.1.5 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร - ดานชีวิตกับสิ่งแวดลอม - ดานแรงและการเคลื่อนที่

- ดานโลกและดาราศาสตร กลุมดาว พลังงานและการ เคลื่อนที่

3.1.6 กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ - ดานทัศนศิลป

- ดานการใชสี การออกแบบ และการคิดอยางสรางสรรค

3.1.7 กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา - ดานการเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล

- ดานความปลอดภัยในชีวิตและการเสริมสรางสุขภาพ 3.1.8 กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ

เทคโนโลยี - การดําเนินชีวิตและการสรางอาชีพ

3.2 ศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนจังหวัดสระแกว 3.2.1 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย - ดานการฟง การดูและการพูด

- ดานการเขียน - ดานความเขาใจภาษา 3.2.2 กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและ

วัฒนธรรม - ดานประวัติศาสตร

- ดานภูมิศาสตร

3.2.3 กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ - ดานภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก 3.2.4 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร - ดานการวัดและความนาจะเปน

- ดานทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร

3.2.5 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร - ดานธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- ดานพลังงาน

New_1-8-62.indd 143

New_1-8-62.indd 143 2/8/2562 13:25:572/8/2562 13:25:57

(9)

3.2.6 กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ - ดานดนตรี

- ดานนาฏศิลป

3.2.7 กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา - ดานการเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย และการปองกันโรค - ดานการสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการปองกันโรค - ดานความปลอดภัยในชีวิต

3.2.8 กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ

เทคโนโลยี - ดานอาชีพ

- ดานการดํารงชีวิตและครอบครัว - ดานการออกแบบและเทคโนโลยี

3.3 สหกรณโคนมวังน้ําเย็น จํากัด

3.3.1 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย - ดานการฟง การดูและการพูด - ดานการอาน

- ดานการเขียน 3.3.2 กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและ

วัฒนธรรม - ดานศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม

- ดานหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดําเนินชีวิตในสังคม 3.3.3 กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ - ดานภาษาเพื่อการสื่อสาร

- ดานภาษาและวัฒนธรรม

- ดานภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก 3.3.4 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร - ดานพีชคณิต

- ดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร

- ดานจํานวนและการดําเนินการ 3.3.5 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร - ดานสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต

- การใชเทคโนโลยีและการผลิต - ดานชีวิตกับสิ่งแวดลอม 3.3.6 กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ - ดานรูปราง รูปทรง

- ดานดนตรี

3.3.7 กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา - ดานการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย

- ดานการสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการปองกันโรค - ดานความปลอดภัยในชีวิต

3.3.8 กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ

เทคโนโลยี - ดานการออกแบบและเทคโนโลยี

- ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ - ดานอาชีพ

New_1-8-62.indd 144

New_1-8-62.indd 144 2/8/2562 13:25:572/8/2562 13:25:57

(10)

3.4 โรงเรียนกาสรกสิวิทย

3.4.1 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย - ดานหลักการใชภาษา - ดานการเขียน - ดานการฟง 3.4.2 กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและ

วัฒนธรรม - ดานหนาที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดําเนินชีวิตในสังคม

- ดานศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม - ดานประวัติศาสตร

- ดานภูมิศาสตร

3.4.3 กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ - ดานภาษาเพื่อการสื่อสาร - ดานภาษาและวัฒนธรรม - ดานภาษากับความสัมพันธ

- ดานภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก 3.4.4 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร - ดานการวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน

- ดานการวัด

- ดานจํานวนและการดําเนินการ 3.4.5 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร - ดานพลังงาน

- ดานแรงและการเคลื่อนที่

- ดานดาราศาสตร

- ดานชีวิตกับสิ่งแวดลอม 3.4.6 กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ - ดานทัศนศิลป

- ดานนาฏศิลป

3.4.7 กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา - ดานชีวิตและครอบครัว

- ดานการเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล

3.4.8 กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ

เทคโนโลยี - ดานการดํารงชีวิตและครอบครัว

- ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - ดานการอาชีพ

อภิปรายผล

1. มนุษยเปนแหลงเรียนรูประเภทบุคคลที่สําคัญที่สุดเปนทั้งผูสรางและผูไดใชประโยชน

จากการสํารวจแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 นั้นพบวา มนุษยเปน ทรัพยากรประเภทบุคคลที่มีความสําคัญที่สุด ไดแก ครู ปราชญชาวบาน ชาวนา ชาวสวน ชาวไร พอคา ขาราชการ พระภิกษุสงฆ นักธุรกิจ ซึ่งเปนบุคคลที่สามารถถายทอดองคความรูไดดี เพราะการไดเรียนรูจากผูปฏิบัติจริง รูจริงจะ ชวยใหผูเรียนเห็นคุณคาและความสําคัญของมนุษยมากขึ้น แหลงเรียนรูประเภทกิจกรรมและวัฒนธรรม แหลงเรียนรู

ประเภททรัพยากรธรรมชาติ และแหลงเรียนรูประเภทสถานที่วัสดุและอุปกรณ ลวนเกิดขึ้นมาจากมนุษยทั้งนั้น มนุษย

ซึ่งเปนผูสรางองคความรูใหเกิดขึ้นมาตางๆ มากมาย ดังนั้นมนุษยจึงเปนแหลงเรียนรูประเภทบุคคลที่สําคัญที่สุด ที่ทําให

New_1-8-62.indd 145

New_1-8-62.indd 145 2/8/2562 13:25:572/8/2562 13:25:57

(11)

เกิดแหลงเรียนรูขึ้นมา ซึ่งสอดคลองกับ วรวุฒิ เพ็งพันธและกรรณิการ สัจกุล (2550) ไดทําวิจัยเรื่อง การวิเคราะห

คุณคาและบทบาทของตลาดน้ําในฐานะแหลงการเรียนรูของชุมชน : กรณีศึกษาตลาดน้ําดําเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี

ซึ่งพบวาแมคาตลาดน้ําเปนแหลงการเรียนรูของชุมชนประเภทบุคคลที่สําคัญ ที่ระบบการศึกษาควรนําไปใชในฐานะ แหลงการเรียนรู เพราะการไดเรียนรูจากการถายทอดของผูที่ปฏิบัติจริงและมีจิตวิญญาณในความเปนแมคาตลาดน้ํา ตลอดจนจิตวิญญาณในการจะรักษาไวซึ่งชุมชนแบบดั้งเดิมจะชวยใหบุตรหลานตระหนักถึงความสําคัญของคนในชุมชน มากกวาที่เปนอยู

2. ความสําคัญของแหลงเรียนรูเพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 อยางตอเนื่องตลอดชีวิต จากการศึกษาคุณลักษณะแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 พบวา สังคมปจจุบันเปนสังคมยุคขอมูลขาวสาร ความรูและวิทยาการใหมๆ ที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา จากสภาพการเรียนการ สอนที่มีครูเปนผูถายทอดความรูและวิทยาการตางๆ แตเพียงอยางเดียว ยังไมเพียงพอสําหรับผูเรียน ครูจะตองสงเสริม ใหผูเรียนแสวงหาความรูตนเองและจะตองจัดบรรยากาศการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ นอกเหนือจากการเรียนรูใน หองเรียน แหลงวิทยาการ ชุมชนเปน ทางออกที่มีความสําคัญและมีประโยชนตอการนํามาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เปนอยางยิ่งใหเปนแหลงเรียนรูที่สงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

3. บทบาทของครูกับการบูรณาการการใชประโยชนแหลงเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรู เพื่อสงเสริม การศึกษาในศตวรรษที่ 21

จากการศึกษาแนวทางการใชประโยชนแหลงเรียนรูของจังหวัดสระแกว เพื่อสงเสริมการศึกษาในศตวรรษที่

21 ในกิจกรรมการเรียนการสอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มัธยมศึกษาตอนปลาย นั้นพบวาทุกกลุมสาระการเรียนรู

สามารถใชแหลงเรียนรูประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนได โดยเฉพาะแหลงเรียนรูประเภทสถานที่และวัสดุอุปกรณ

ซึ่งพบวามีอาชีพหลายอาชีพเพราะจังหวัดสระแกวเปนแหลงเกษตรกรรมและแหลงโบราณสถาน จึงมีอาชีพที่

หลากหลาย ที่ควรศึกษาหาความรู สามารถนําไปใชไดกับทุกกลุมสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ครูผูสอนอาจใหผูเรียนเขียนชื่อพันธุไม หาคําแปล แตงคําประพันธ หาคําประพันธที่ปรากฏชื่อพันธุไมนั้นๆ มาฝกอาน ออกเสียง ฝกเขียนคัดลายมือ เขียนตามคําบอก เขียนเรียงความ ฝกพูดบรรยาย ลักษณะของพันธุไม ฝกโตวาที เกี่ยวกับ พันธุไม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ใหผูเรียนศึกษาคนควา เกี่ยวกับคานิยม ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรมเกี่ยวกับภูมิปญญาที่ใชในศูนยแหลงเรียนรู ฝกการเขียนรายงานจากการสํารวจ สภาพทาง ภูมิอากาศ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ฝกการวาดภาพ ระบายสี แลเงา ตามสถานที่ตางๆ เชน วัด โบราณสถาน สถานที่ตางๆในโรงเรียน ศาลา ตึก อาคารเรียน รวมไปถึงเรียนรูชนิดของดนตรีที่ทําจากวัสดุ อุปกรณตางๆ ที่ทําใหเกิด เสียงไพเราะ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ฝกออกแบบและสรางสิ่งของ เครื่องมือ เครื่องใชที่ทํา จากวัสดุเหลือใช เรียนรูอาชีพที่ตองพึ่งพาอาศัยจากวัสดุเหลือใช และการนําผลผลิตจากธรรมชาติมาทําเปนอาหาร โดย การนําผลผลิตมาใชถนอมอาหาร เพื่อเก็บรักษาไวไดนาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ใหผูเรียนเรียนรู

คําศัพท และแตงประโยคคําถาม จากสิ่งของหรือวัตถุจากแหลงเรียนรูนั้นๆ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรครูให

ผูเรียนฝกนับจํานวน การคํานวณ ของพันธุไม ฝกการวัดและการคาดคะเน ขนาดและความสูงของสิ่งของในแหลง เรียนรู ฝกหาตําแหนง ระยะทางทิศทาง ขนาด พื้นที่ รูปรางของสิ่งของ ฝกคํานวณรายรับ-รายจาย ที่เกิดภายในศูนย

แหลงเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรใหผูเรียนประดิษฐสิ่งของจากวัสดุเหลือใช และดูทิศทางกระแสลม แรง แสงสองสะทอนใหเกิดความรอนแกวัตถุ ใหผูเรียนเกิดกระบวนการเรียนรูและมีความคิดสรางสรรค และกลุมสาระการ เรียนรูสุขศึกษา พลศึกษา การดูแลสุขภาพตนเองใหแข็งแรงอยูเสมอ รับประทานอาหารที่มีประโยชน และออกกําลัง กายสม่ําเสมอ สามารถนํามาประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนได ทั้งนี้เนื่องจากสาระการเรียนรูตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน สวนใหญมีมาตรฐานการเรียนรูที่สอดคลองกับธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ แหลง

New_1-8-62.indd 146

New_1-8-62.indd 146 2/8/2562 13:25:572/8/2562 13:25:57

Referensi

Dokumen terkait

The implementation of TPACK through 4C in 21st century learning for elementary school teachers in the Wahidin Sudiro Husodo Cluster, Jumapolo District, was