• Tidak ada hasil yang ditemukan

ไทยในกระแสโลกาภิวัตน์ : การปรับจุดยืนที่ยั่งยืน

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "ไทยในกระแสโลกาภิวัตน์ : การปรับจุดยืนที่ยั่งยืน"

Copied!
13
0
0

Teks penuh

(1)

ไทยในกระแสโลกาภิว ัตน์ : การปร ับจุดยืนที่ย ั่งยืน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชมพู โกติร ัมย์

บทนำา

เมื่อโลกก ้าวสู่ศตวรรษที่ 21 ศตวรรษแห่งการเชื่อมโยง ประเทศต่างๆ ให ้ใกล ้ชิดกันมากยิ่งขึ้น หรือประเทศต่างๆ ได ้ก ้าวสู่

ระบบหนึ่งเดียวกัน ตามที่เรียกว่า โลกาภิวัตน์ (Globalization) นับ ได ้ว่าเป็นกระแสหลักของโลกแห่งยุคปัจจุบันในฐานะเป็นตัวจักรขับ เคลื่อนโลกใบนี้ภายใต ้เงื่อนไขเดียวกัน ประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่ง ของสังคมโลกซ ึ่งเต็มไปด ้วยกระแสแห่งการพลวัตอย่างสูง และ รวดเร็วทั้งในด ้านสภาพแวดล ้อม เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ซึ่งไม่

เคยเป็นมาก่อน การไหลบ่าของกระแสโลกาภ ิวัตน์นี้ ได ้เร่งให ้ ประเทศกำาลังพัฒนาทั้งหลายหันมาเปิดนโยบายทางเศรษฐกิจแบบ เสรี และดำาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจภายใต ้กฎกติกาอันเป็นสากล โดยมีเป้าหมายเดียวกัน คือ เพื่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การ พัฒนาประเทศตามนัยนี้ได ้กลายเป็นแม่แบบแห่งการพัฒนาของ สังคมโลกปัจจุบันอย่างแท ้จริง ประเทศไทยในกระแสแห่งการพลวัต เช่นนี้ เราจำาเป็นต ้องมีการปรับตัวเพื่อรับกับเงื่อนไขใหม่ของโลกเพื่อ จุดยืนที่ยั่งยืนได ้อย่างไร

ไทยในบริบทของโลก

สังคมโลกปัจจุบัน กำาลังอยู่ในกระแสที่เรียกว่า “โลกาภิวัต น์” ได ้ขยายอ ิทธ ิพลในช ่วง 25 ปีท ี่ผ่านมา โดยเร ิ่มจากระบบ เศรษฐก ิจก่อน กระแสโลกาภ ิวัตน์นั้นอาศัยความก ้าวหน ้าทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ การผ่อนผันกฎระเบียบการค ้า การเคลื่อนย ้าย ตลาดการเงินได ้อย่างเสรี ผลที่ตามมาก็คือ ประเทศต่างๆ ตกอยู่ใน อิทธิพลโลกาภิวัตน์ทุนนิยม อนึ่งการเปลี่ยนแปลงในประชาคมโลก ในยุคโลกาภิวัตน์นั้นเป็นไปอย่างรวดเร็วและมีความซับซ ้อนสูง ประเด็นตรงนี้ การที่ประเทศกำาลังพัฒนาทั้งหลายยังขาดความพร ้อม ยอมเผชิญกับภาวะบีบคั้นจากกระแสโลกาภิวัตน์ซึ่งนำาไปสู่ภาวะวิกฤติ

ทางเศรษฐกิจและสังคม ในทางกลับกัน กระแสโลกาภิวัตน์นี้ย่อมส่ง ผลดี และเปิดโอกาสกว ้างให ้กับกลุ่มประเทศพัฒนาที่มีความพร ้อม กระแสโลกภ ิวัตน์ถือว่าเป็นกระแสหลักในบร ิบทของโลก ซ ึ่งมี

ลักษณะตามที่คณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาและติดตามการแก ้ไข ปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศนำาเสนอมีประเด็นหลักๆ ดังนี้

(2)

1. เงื่อนไขทางการเมือง ประเทศพัฒนาแล ้วจะผลักดัน ค่านิยมระหว่างประเทศ ในรูปของประชาธิปไตย ส ิทธิมนุษยชนใน ระดับชาติ ซึ่งจะทำาให ้เกิดประโยชน์ระหว่างประเทศพัฒนาในขณะ เดียวกันประเทศกำาลังพัฒนามีแนวโน ้มไม่สมดุลในเงื่อนใขทางการ เมืองต่อไป

ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ชมพู โกติรัมย์

2. เงื่อนไขทางด้านระเบียบใหม่ กระบวนการโลกาภิวัต น์ ได ้ก่อให ้เกิดผลสองด ้าน คือ ก่อให ้เกิดตลาดใหม่ ๆ เครื่องมือ ใหม่ๆ เช่น อินเทอร์เนตและมัลติมีเดีย ก่อให ้เกิดผู ้มีบทบาทใหม่ๆ ใน ประชาคมโลก เช่น องค์กรเอกชน รวมทั้งก่อให ้เกิดกฎระเบียบใหม่ๆ ในสังคมโลก แต่อีกด ้านหนึ่งได ้ก่อให ้เกิดความไม่สมดุลในระบบการ พัฒนาของโลก เพราะทำาให ้ช่องว่างระหว่างประเทศพัฒนาแล ้วกับ ประเทศกำาลังพัฒนามีมากขึ้น รวมทั้งเป็นเหตุให ้สังคมและวัฒนธรรม ในหลายประเทศอ่อนแอลง นอกจากนี้การพัฒนาตามกระแสโลกกาภิ

วัตน์ที่เป็นอยู่ ได ้ให ้ความสำาคัญแก่งการพัฒนาคุณค่าของมนุษย์น ้อย มาก จากกระแสโลกาภิวัตน์ได ้ทำาให ้โลกอยู่ในบริบทเดียวกัน บริบท ที่เน ้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจแต่ขาดความยั่งยืนในมิติทางสังคม กล่าวคือ ชุมชนได ้ล ้มสลาย ว ิถีช ีว ิตของเกษตรกรรมถูกแทนที่

อุตสาหกรรม นี้คือภาพชีวิตของสังคมในสหัสวรรษใหม่สหัสวรรษที่

สังคมใกล ้ชิดกัน ไร ้สายไร ้พรมแดนทางข ้อมูลข่าวสาร แต่ถูกแทนที่

ด ้วยการไร ้ความเอื้ออาทร วัฒนธรรมท ้องถิ่นได ้แยกออกจากวิถีสังคม แทบสิ้นเชิง

3. เงื่อนไขของระบบเครือข่าย ผลจากโลกาภิวัตน์ได ้ ทำาให ้นโยบายภายนอก และนโยบายภายในมีความเกี่ยวโยงกันอย่าง ใกล ้ชิด ซึ่งทำาให ้กระบวนการกำาหนดยุทธศาสตร์และวางแผนพัฒนา ของประเทศต่างๆต ้องเปลี่ยนไปจากเดิม นัยประเด็นนี้ ประเทศที่มี

ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรมถูกบีบจากกระแสโลกาภิวัต น์ให ้มีนโยบายพัฒนาในบริบทเดียวกัน

4. เงื่อนไขเกี่ยวก ับกติกาของโลก เศรษฐกิจและสังคม ในกระแสโลกาภิวัตน์ ยังเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันถึงโครงสร ้างที่เหมาะ สมสำาหรับประเทศต่างๆ ในขณะเดียวกันประเทศต่างๆ จะต ้องปรับ บทบาทและพัฒนาขีดความสามารถภายใต ้กติกาของโลก ประเทศ พัฒนาแล ้วมีแนวโน ้มใช ้นโยบายเศรษฐกิจหลายกรอบ เช่น พหุภาคี

ภูมิภาคนิยม เป็นต ้น เพื่อให ้ได ้ประโยชน์ในกติกาของโลกเช ่นนี้

(3)

ประเด็นอยู่ที่เมื่อประเทศต่าง ๆเปิดประเทศพัฒนาตามบริบทของโลก จะมีความเหมาะสมในความเหลากหลายเพียงใด

5. เงื่อนไขทางด้านวิทยากากร ความรู ้หรือวิทยาการ ((Knowledge) มีความสำาคัญในด ้านการส่งเสริมขีดความสามารถ ในการแข่งขันในตลาดโลก อาจจะกล่าวได ้ว่าวิทยาการดังกล่าวนับว่า เป็นฐานแห่งการพัฒนาว ิทยาศาสตร ์ เทคโนโลย ี การศ ึกษา ทรัพยากรมนุษย์ การจัดการและการจัดองค์การอย่างแท ้จริง

6. เงื่อนไขระด ับโลก ในบริบทแห่งโลกปัจจุบันสู่อนาคต กำาลังอยู่ในประเด็นระดับโลก (Global issues) ทั้งในด ้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ไม่เว ้นแม ้แต่การศึกษา ล ้วนแต่อยู่ในระดับโลกทั้ง นั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ประเทศต่างๆ เตรียมความพร ้อมทั้งในการพัฒนา ภายในและเตรียมรับในการมีส่วนร่วมในการกำาหนดกระแสโลกดัง กล่าว1

1 ชัยยุทธ์ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์.เจาะมาตรการแก ้วิกฤติเศรษฐกิจ, กรุงเทพฯ : ร่วมด ้วยช่วย กัน.2543.หน ้า 162-164.

จากบริบทของโลกที่มีเงื่อนไขเช่นนี้ส่งผลให ้ไทยซึ่งอยู่ในกระแสดัง กล่าวหันไปเปิดรับการลงทุน การค ้าของทุนขนาดใหญ่จากภายนอก โดยลักษณะนี้อุตสาหกรรมได ้ย ้ายจากประเทศหนึ่งสู่ประเทศหนึ่ง การดำาเนินธุรกรรมมักเป็นผู ้ผลิตชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์ในฐานะเป็นส่วน ประกอบของบริษัทจากต่างชาติ และดำารงตนในฐานะเป็นส่วนหนึ่ง ของระบบเศรษฐก ิจในระดับโลก การขยายตัวทางเศรษฐก ิจใน ลักษณะดังกล่าวนี้แทบมิได ้เช ื่อมกับระบบเศรษฐก ิจโดยรวมใน ประเทศนั้นเลย เมื่อเป็นเช่นนี้เศรษฐกิจแห่งชาติได ้ถูกทำาลายจาก ระบบที่ใหญ่กว่า อนึ่งประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทยที่ดำารงชีพ ด ้วยระบบเกษตรกรรมและการตลาดภายในประเทศ มีส่วนผลักดันให ้ เศรษฐกิจภายในประเทศขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องได ้รับผลกระทบจาก นโยบายมุ่งขยายตัวทางเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมคือเมื่อแรงงาน จากภาคเกษตรกรรมได ้หันเหไปทางภาคอุตสาหกรรม ซ ึ่งทำาให ้ เศรษฐกิจภายในชาติได ้รับผลกระทบเป็นผลกระทบของคนส่วนใหญ่

ทั้งนี้เป็นเพราะนโยบายเปิดประเทศเสรีกับระบบระดับโลก ที่กล่าวมา นั้นสะท ้อนให ้เห็นว่าการขยายตัวทางเศรษฐกิจในบริบทของโลกแทบ ไม่ได ้เช ื่อมกับประชากรส่วนล่างของประเทศ ในฐานะผู ้สร ้าง เศรษฐกิจภายในชาติ แต่จะเอื้อประโยชน์แก่ชนชั้นกลางของประเทศ ในฐานะเป็นทรัพยากรมนุษย์ในระบบเศรษฐกิจระดับโลก ในประเด็นนี้

ชนชั้นกลางได ้เริ่มผลักดันตัวเองให ้ห่างหายจากสังคมและเศรษฐกิจ ในท ้องถิ่นมากขึ้น

(4)

แม่แบบการพ ัฒนาในกระแสโลกาภิว ัตน์

หากจะกล่าวถึงรูปแบบการพัฒนา ซ ึ่งเป็นที่รู ้จักกันเป็น อย่างดีในบริบทของโลกปัจจุบันคือ การพัฒนาสู่ภาวะทันสมัยหรือ การขยายตัวทางอุตสาหกรรม ในเวลาต่อมาได ้กลายเป็นแม่แบบการ พัฒนาของไทย ลักษณะเด่นของแม่แบบการพัฒนาประเภทนี้ คือ การได ้บรรลุถึงอัตราการเจริญเติบโตอย่างสูง โดยอิงตัวเลขจาก ผล ิตภัณฑ ์มว ลรว มประชา ชน (Gross National Product = GNP) และแม่แบบประเภทนี้ได ้มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน คือ การสร ้าง ความรุ่งเรืองโดยผนวกระบบเศรษฐกิจภายในประเทศเข ้ากับระบบ เศรษฐกิจของโลก แต่ในความเป็นจริงแล ้ว การบรรลุเป้าหมายเกี่ยว กับอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับสูง คือความมั่งคั่ง ซึ่ง ส่วนใหญ่แล ้วมักจะตกอยู่และถูกจัดสรรโดยชนช ั้นนำา ในขณะ เดียวกันปล่อยให ้ผลแห่งการเจริญเติบโตบางส่วนตกไปยังส่วนล่าง ของสังคม การเจริญเติบโตทางสังคมเศรษฐกิจในลักษณะนี้ได ้ขยาย ตัวควบคู่กับการเพิ่มความขัดแย ้ง และความแตกต่างในสังคม จากนัย แห่งการพัฒนาของไทยในกระแสโลกาภิวัตน์นี้ได ้สะท ้อนให ้เห็น ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล ้อม การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม บนความสูญเสียของวิถีเกษตรกรรม การกระจายรายได ้และความ มั่งคั่ง มีความไม่เป็นธรรมมากขึ้นทุกที การที่เอกชนมีอำานาจและเป็น อิสระจากกฎระเบียบมากขึ้น การวางแผนการพัฒนาเกี่ยวกับนโยบาย เศรษฐกิจมีบทบาทน ้อยลง2

2.วอลเดน เบลโล และคณะ.วิกฤติกระแสโลกาภิวัตน์.กรุงแทพ;ฯ; สำานักพิมพ์มูลนิธิเด็ก. 2542 .หน ้า 81,82.

ลักษณะเหล่านี้เป็นได ้ทั้งเสริมโอกาสที่มีอยู่ให ้ขยายตัวมากขึ้น เช่น มีอาชีพใหม่ๆ และลดโอกาสที่มีอยู่น ้อยให ้น ้อยลงอีก เช่น มีคนจน เพิ่มขึ้น เหล่ามิจฉาชีพรูปแบบใหม่ๆ ซ ึ่งเกิดจากความยากจน ซ ึ่ง กล่าวรวมๆ แล ้ว คือ สายพันธุ์ใหม่ทางเศรษฐกิจ สังคม สายพันธุ์ใหม่

ที่จะสร ้างปรากฎการณ์ในสังคมโลกอย่างทั่วถึงที่กระแสโลกาภิวัตน์

ไหลลบ่าไปถึง หากจะให ้ไทยเราสามารถดำารงอยู่ได ้นั้น จำาเป็น ต ้องปรับตัวเพื่อรับกระแสที่มีความกดดันหลายอย่าง ซึ่งเป็นปฐมเหตุ

ของความแปลกแยก ซ ึ่งกล่าวได ้ว่า ความแปลกแยกของที่ส ืบ เนื่องจากสายพันธุ์ใหม่นั่นเองประกอบด ้วย

1. ความแปลกแยกด ้านแรงงาน สายพันธุ์ใหม่ของกระแส โลกาภิวัตน์นี้ ได ้นำาประเทศต่างๆ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศด ้อย พัฒนา มีแนวโน ้มขยายตัวทางภาคธุรกิจอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง ภายใต ้แรงกดจากเงื่อนไขต่างๆ ของบริบทโลกแห่งยุคปัจจุบัน ส่งผล

(5)

ให ้แรงงานภาคเกษตรกรรมลดลง และมักเป็นแรงงานผู ้สูงอายุ

เนื่องจากขาดแรงจูงใจในอาช ีพเกษตรกรรม แต่ในทางกลับกัน แรงงานในภาคอุตสาหกรรมซ ึ่งเป็นคนหนุ่มสาวเพิ่มขึ้น นี่คือความ แปลกแยกของแรงงานไทย วิถีการดำารงชีพที่ใช ้วิธีการหลายรูปแบบ (สงเคราะห์) กล่าวคือ ปลูกข ้าว ผัก เลี้ยงสัตว์ ทอผ ้า เพื่อยังชีพใน ครัวเรือน หรือซื้อขายภายในชุมชน ในลักษณะนี้ครัวเรือนหรือชุมชน เป็นฐานการผลิต คนในชุมชนเรียนรู ้วิชาชีพเพื่อยังชีพตามสภาพ แวดล ้อมของธรรมชาติ ในประเด็นฐานการผลิตอยู่ในครัวเรือนนี้

เป็นการสร ้างความเข ้มแข็งในชุมชนนั่นเอง ได ้ทั้งมิติเศรษฐกิจและ มิติสังคม กล่าวคือ เศรษฐกิจพออยู่ได ้ ชุมชนอบอุ่น นี่คือภาพชีวิต ของสังคมในอดีตที่กำาลังเลือนหายไปกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ แนวใหม่ตามแม่แบบของโลก ภาพเหล่านี้ได ้สะท ้อนให ้เห็นภาพของ แรงงานในภาคอุตสาหกรรมที่ได ้แยกส่วนจากชุมชน นับเป้นการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจบนความสูญหายของวิถีชนบท

2. ความแปลกแยกระหว่างเมืองกับชนบท เนื่องจากเมือง ใหญ่ได ้กลายเป็นฐานการผลิตในฐานะเป็นประเทศบริวาร ซ ึ่งเชื่อม กับระบบจากภายนอก ด ้วยเหตุนี้ทำาให ้เมืองใหญ่ๆ เช่น กรุงเทพฯ ได ้ กลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ซ ึ่งเป็นฐานที่

มั่งคั่งกว่าเมืองที่เล็กที่มีระดับการพัฒนาทมี่ตำ่ากว่า นี่คือความแปลก

แยกระหว่างเมืองกับชนบท

ผู้แพ้ผู้ชนะในกระแสโลกาภิว ัตน์

หากจะกล่าวถึงการแข่งขันภายใต ้กติกาของบริบทโลก ปัจจุบันนั้น จะต ้องชี้ประเด็นถึงปัจจัยชี้ขาดในสหัสสวรรษใหม่ด ้วย เพราะการที่ประเทศ, หน่วยงาน, บุคคล, ที่ครอบครองเทคโนโลยี

ร ะ ด ับ ส ูง โ ด ย เ ฉ พ า ะ ไ ม โ ค ร ช ีพ แ ล ะ ซ อ ฟ แ ว ร ์ ย ่อ ม ท ำา ใ ห ้ ประเทศ,หน่วยงาน,บุคคลนั้นม ีศักยภาพกำาหนด,สร ้างและใช ้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเปิดโอกาสให ้สามารถกุมชะตากรรมทาง เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองในกำามือได ้ นี่คือปัจจัยชี้ขาดแห่งโลก ยุคปัจจุบัน บนเส ้นแบ่งระหว่างผู ้แพ ้ผู ้ชนะ อนึ่งเพ ื่อให ้เข ้าใจ กระบวนการใหม่ของกระแสโลกาภิวัตน์ ต ้องพิจารณาบทบาทของ

เงื่อนไขจากบริบท ของโลก

- กติกาของโลก

สายพันธุ์ใหม่

- อาชีพใหม่

- ผลิตภัณฑ์

ใหม่

ความแปลกแยกใน สังคมไทย

- โอกาสที่มีอยู่เปิด กว ้าง

(6)

ธ น า ค า ร โ ล ก (World Bank) ก อ ง ท ุน ร ะ ห ว ่า ง ป ร ะ เ ท ศ (Enternational Monetary = FUND:IMF) และองค์การค ้าของ โลกด ้วย เนื่องจากองค์กรทั้งสามองค์กรนี้สัมพันธ์กับปัจจัยชี้ขาดแห่ง ชัยชนะแทบแยกไม่ออก เพราะองค์กรระหว่างประเทศเหล่านี้ได ้สร ้าง กฎเกณฑ์ว่าด ้วยการเคลื่อนย ้ายทุน และสินค ้าที่อำานวยประโยชน์แก่

บริษัทข ้ามชาติโดยเฉพาะองค์การค ้าโลกเป็นเสมือนรัฐบาลระดับโลก ในยุคใหม่ที่กำาลังทำาให ้กฎเกณฑ์ของประเทศต่างๆ กลายเป็นสากล เพราะฉะนั้นมีความเป็นไปได ้ในอนาคตอันใกล ้นี้ องค์กรที่เข ้มแข็ง ที่สุดมิใช่สหประชาชาติ แต่จะเป็นองค์กรการค ้าโลกต่างหาก กลุ่ม แรกที่ประสบความพ่ายแพ ้จากปัจจัยชี้ขาดนี้คือ กลุ่มเกษตรกรจาก ประเทศด ้อยพัฒนา เนื่องจากขาดโอกาสบนเวทีแห่งการแข่งขันภาย ใต ้กฎกติกาสากล และระบบเศรษฐกิจสารสนเทศยุคใหม่ เนื่องจากมี

การพัฒนาเทคโนโลยีในระดับตำ่า ไม่สามารถแข่งขันในตลาดที่ถูก กำาหนดด ้วยมาตรฐานคุณภาพสากลได ้3 เมื่อศักยภาพไม่ถึงระดับ ความเป็นสากล แต่เปิดตัวรับกติกาสากล ในที่สุดจึงประสบความพ่าย แพ ้ในกติกาสากล นั่นหมายถึงสินค ้าจากเกษตรกรรมจึงพ่ายแพ ้แก่

สินค ้าอุตสาหกรรม และธุรกิจ องค์กรขนาดกลางเล็ก ในกลุ่มประเทศ กำาลังพัฒนาก็เป็นผู ้พ่ายแพ ้เช่นเดียวกัน นอกจากนั้นกลุ่มที่พ่ายแพ ้ กลุ่มสุดท ้ายจากระบบนี้คือ กลุ่มแรงงานและสิ่งแวดล ้อม การเคลื่อน ย ้ายทุนในภาวะเช่นนี้ถึงแม ้ไทยเราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์

ได ้ เราควรปรับตัวเพื่อปกป้องเศรษฐกิจของชาติ ด ้วยการตัดส ินใจ เชิงยุทธศาสตร์ในเรื่องการวิจัย และพัฒนาฝีมือแรงงาน ประการที่

สำาคัญเราต ้องให ้ความสนใจสัญญาณเตือนจากเงื่อนไขบริษัทโลก เพื่อเตรียมรับสภาวะการณ์ในอีก 10 ปีถัดข ้างหน ้า เศรษฐกิจและ สังคมไทยจะเข ้มแข็งเพียงใด ซึ่งหมายถึงจะต ้องปรับตัวหลายอย่าง ด ้วยกันซึ่งประกอบด ้วย

1.จะต ้องพัฒนาทักษะแรงงานให ้สูงขึ้น

2.จะต ้องมีการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีภายในประเทศ แทนการนำาเข ้าจากต่างประเทศ เพื่อเตรียมความพร ้อม สำาหรับยุคศตวรรษที่ 21 นี้ 4

หากไทยเราขาดการเตรียมตัวให ้พร ้อม ในระยะยาวอาจต ้องพบกับ ความพ่ายแพ ้กับประเทศในภูมิภาคเดียวกัน ซึ่งกำาลังกวดตามมาติดๆ เช่น ในเวียตนาม แม ้ในปัจจุบันมีระดับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ที่ตำ่ากว่าไทยก็จริง แต่เวียตนามมียุทธศาสตร์เพื่อรองรับสภาวะการณ์

ในอนาคต ไม่ว่าจะเป็น

(7)

วอลเดน เบลโลและคณะใว ิกฤต ิกระแสโลกาภ ิวัตน์.กรุงเทพฯ:สำานักพ ิมพ์มูลนิธ ิ เด็ก,2547.หน ้า 35

4 วอลเดน เบลโลและคณะ.วิกฤติกระแสโลกาภิวัตน์.กรุงเทพฯ:สำานักพิมพ์มูลนิธิเด็ก,2542.

หน ้า 40,41.

ระบบการศึกษา การพัฒนาทักษะแรงงาน นับว่ามีการปรับตัวเป็น อย่างดี

ไทยในกระแสโลกาภิว ัตน์

ตามที่ได ้นำาเสนอไปแล ้วคือเมื่อเงื่อนไขในกระแสการ เปลี่ยนแปลงของบริโลกนั้น ได ้บีบให ้ไทยเราต ้องมีนโยบายที่เปิด และเชื่อมกับระบบที่ใหญ่กว่า ณ เวลานี้อาจจะกล่าวได ้ว่าไทยเปิด ประตูสู่สากลทั้งๆ ที่ขาดความพร ้อมในหลายด ้านด ้วยกัน โลกาภิวัตน์

ทุนนิยมนั้น เกิดในประเทศพัฒนา โดยมีสหรัฐอเมริกาเป็นแกนนำา เสนอทฤษฎีการค ้าเสรีว่าจะช่วยสร ้างความมั่งคั่งและความเจริญรุด หน ้าแก่ชาวโลก พร ้อมกันนั้นได ้เสนอว่าการเมืองในศตวรรษที่ 19 เป็นสิ่งล ้าสมัยและได ้กลายเป็นอุปสรรคต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การทำาอะไรข ้ามรัฐหรือการลดบทบาทของรัฐ โดยองค์ระหว่าง ประเทศเป็นสิ่งที่จะต ้องรีบทำา เนื่องจากประเทศพัฒนาแล ้วเป็นผู ้ก่อ กระแส เพราะมีความพร ้อมสำาหรับกระบวนการโลกาภิวัตน์ 3 ประการ ประกอบด ้วย

1. มีบรรษัทข ้ามชาติอยู่มาก คือประเทศที่มีบริษัทย ้าย ฐานการผลิตไปยังประเทศต่างๆ ซึ่งมีลักษณะครอบงำาเศรษฐกิจท ้อง ถิ่น

2. มีการพัฒนาสู่ความเป็นเมือง คือมีประชากรเกือบ ทั้งหมดอาศัยอยู่ในเมือง

3. ม ีระบบเคร ือข ่ายคว า มมั่นคงหร ือประก ันส ังคม ครอบคลุมไปทั่วประเทศ

ปัจจัยสามประการนี้เป็นความพร ้อมที่จะผลักดันให ้เกิดกระบวนการ เชื่อมกับประเทศต่างๆ เพื่ออาศัยความพร ้อมนี้มาเป็นข ้อได ้เปรียบ หากพิจารณาประเด็นนี้แล ้วสะท ้อนมายังประเทศไทย จะพบว่าเรายัง ไม่พร ้อมมากนัก บริษัทที่มีเครือข่ายในต่างประเทศขนาดใหญ่ใน ระดับบรรษัทข ้ามขาติมีอยู่เพียงบริษัทเดียว คือกลุ่มซ ีพี ส่วนด ้าน ตลาดการเงินของไทยเรา ตามที่ธนาคารพัฒนาแห่งเอเซีย (ADB)

(8)

ประเมินว่า ขาดความมั่นคงมีประชากรส่วนใหญ่อยู่ในส่วนชนบท มี

เครือข่ายความมั่นคงจำากัดอยู่ในกลุ่มขนาดเล็ก การที่ไทยเราเปิด ประตูสู่กระแสโลกาภิวัตน์ขณะที่ยังไม่พร ้อมเห็นได ้ชัดกรณีการเปิด เสรีทางการเงิน5 ในสภาวะเช่นนี้เปรียบได ้กับความไม่พร ้อมในการ แต่งตัว เพราะอาบนำ้าเสร็จใหม่ๆ แล ้วมีคนมาเคาะประตู เมื่อเปิดประตู

ต ้อนรับแบกผู ้มาเยือน ทำาให ้เจ ้าของห ้องยากนักที่จะสงวนท่าทีที่ควร สงวน ในที่สุดอาจนำาไปสู่ความสูญเสียพืชพันธุ์เขตร ้อนชื้นซึ่งมีค่าใน เชิงเวชภัณฑ์บางชนิดและภูมิปัญญาท ้องถิ่นเหล่านี้ เป็นต ้น ที่เป็นสิ่ง ที่ต ้องสงวนไว ้ในฐานะเป็นมรดกของชาติ

ไทยในภาวะถูกครอบงำาโดยมหาอำานาจเศรษฐกิจ

ก ร ะ แ ส โ ล ก า ภ ิว ัต น ์ห ร ือ ก า ร ค ร อ บ ง ำา โ ล ก โ ด ย อภิมหาอำานาจทางเศรษฐกิจ ดูเหมือนว่าระบบเศรษฐกิจของโลกที่

ทุกประเทศกำาลังพัฒนาได ้ดำาเนินไปในแนวทางเดียวกัน จริงๆแล ้ว เป็นเศรษฐกิจที่ผูกขาดและบงการโดยประเทศพัฒนาอุตสาหกรรมอยู่

เบื้องหลัง โดยผ่านบริษัทขนาดใหญ่

5 อนุช อาภาภิรม.ฤาจะสิ้นยุคโลกาภิวัตน์.กรุงเทพฯ:โครงการวิถีทรรศน์. 2542. หน ้า 29.

ซ ึ่งเร ียกว ่า ท ุนข ้ามชาต ิ (Transnational Coperation) กล ุ่ม ประเทศพัฒนาเป็นผู ้ผลิตและส่งออกสินค ้า

เกษตรที่ใช ้เทคโนโลยีชั้นสูงผลิต ให ้ทุนอุดหนุนเกษตรกรของตน และใช ้นโยบายกีดกันสินค ้าเกษตรจากประเทศอื่นๆ มีอำานาจต่อรอง ในตลาดโลกสูงกว่า และได ้ผลักดันให ้เกิดความคิดร่วมแก่ประเทศ ต่างๆ โดยการเปิดรับการลงทุนและการค ้าเสรี จะทำาให ้เกิดความ เจริญเติบโตหรืออีกอย่างก็คือ เสนอให ้มีการเปิดประเทศและการค ้า เสรี ซึ่งในนัยแฝงก็คือให ้ประเทศอื่นเปิดโอกาสอย่างเสรีแก่บรรษัท ข ้ามชาติจากประเทศรำ่ารวยไปแสวงหาผลประโยชน์ในนามการลงทุน ด ้วยความพร ้อมทำาให ้บรรษัทข ้ามชาต ิได ้ความมั่งคั่งมากกว่า ประชาชนเจ ้าของประเทศ แต่ทว่าในทางกลับกันกลุ่มประเทศด ้อย พัฒนาถูกกีดกันสินค ้าเกษตรสิ่งทอ เป็นการกีดกันภายใต ้ระบบเสรี

นั่นเอง จึงเกิดข ้อสงสัยว่า คำาว่า เสรี มีขอบเขตไปถึงไหน เสรีเพื่อ ใคร เพราะข ้อเท็จจริงที่ปรากฏคือ ประเทศมหาอำานาจเศรษฐกิจได ้ กีดกันทางการค ้า องค์การการค ้าโลก (WTO) เป็นเพียงเวทีเจรจาต่อ รองที่ประเทศมั่งคั่งกว่าต่อรองให ้ประโยชน์มากกว่า6 องค์การค ้าโลก บางครั้งก็ถูกกล่าวว่าเป็นเพียงตราประทับเพื่อความเป็นธรรมของ ประเทศมหาอำานาจทางเศรษฐกิจ การกล่าวหาในลักษณะนี้เกิดขึ้น หลังจากองค์การดังกล่าวประสบความล ้มเหลวการเจรจาที่เมืองเคน คูน(cancoon) ประเทศเมกซิโก เมื่อปี 2546 แต่ก็หาใช่จะมีข ้อเสีย

(9)

ไปหมดสำาหรับกระแสโลกาภิวัตน์ทุนนิยม ยังพอมีประโยชน์และเอื้อ โอกาสให ้บ ้างแก่ประเทศกำาลังพัฒนา แต่มักจะเอื้อประโยชน์แก่

ชนชั้นสูง-กลาง ที่เข ้าไปมีหุ ้นกับบรรษัทข ้ามชาติ ประโยชน์จากการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้น

การปร ับจุดยืนเพื่อความย ั่งยืน

ท่ามกลางกระแสสังคมที่พลวัตไปเช่นนี้ เราจำาเป็นต ้อง เลิกยึดถืออัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ หยุดการทุ่มเทเป็นพิเศษ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมมาสู่จุดยืนที่ยั่งยืน หมายความว่าจะต ้องนำา ระบบเศรษฐก ิจออกจากการช ี้เป็นช ี้ตาย โดยกลไกตลาดจาก ภายนอก และปรับโครงสร ้างเศรษฐกิจตามแนวทางสังคมมนุษย์

หมายถึงสังคมที่มั่นคงทางชุมชน และความมั่งคั่งทางรายได ้ โดยไม่

เอียงไปข ้างใดข ้างหนึ่งมาก มิฉะนั้นแล ้วจะทำาให ้สังคมเสียดุลภาพ เพราะยิ่งอัตราการเติบโตสูงขึ้น แต่เป็นความเจริญเติบโตที่เปราะบาง และไม่แท ้จร ิง ทำาให ้ทันสมัยแค่เปล ือกนอก การพัฒนาท ี่เส ีย ดุลยภาพเช่นนี้ทำาให ้จุดยืนตั้งอยู่บนความไม่ยั่งยืนในส ่วนของ ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีลักษณะการเติบโตแบบนี้ หรือ แบบที่เรียกว่านิคส์(nic)ที่ขาดความยั่งยืน เพราะได ้ก่อให ้เกิดการ เคลื่อนไหวจากจุดถ่วงดุลที่ควรจะเป็น เช่น สิ่งแวดล ้อมได ้เคลื่อน จากจุดยืนที่อุดมสมบูรณ์ เศรษฐกิจได ้ผกผันจากศักยภาพแห่งการพึ่ง ตนเองสู่การพึ่งพิงจากภายนอก เป็นต ้น อัตราการเติบโตเช่นนี้ถ ้ามอง ในแง่หนึ่งก็ไม่ได ้จริงแท ้อะไรตามที่ได ้กล่าวไปแล ้ว เพราะขาดการ พัฒนาพื้นฐานให ้เข ้มแข็ง ถึงจะมองการพัฒนาภาคอุตสาห-กรรมก็

เป็นเพียงการพัฒนาแค่ระดับตื้น เพราะไม่ลงไปยังระดับรากฐานที่

เหมาะสม เห็นควรมีแม่แบบดังนี้

1.เน ้นอัตราการเติบโตที่ตำ่าลง เพื่อความยั่งยืนทางสังคม และสิ่งแวดล ้อม

6 วิทยากร เชียงกูร.เศรษฐกิจไทยเศรษฐกิจโลก.กรุงเทพฯ:สายธาส,2545 หน ้า 82- 89.

2. ให ้ความสำาคัญแก่ภาคเกษตรกรรมในฐานะเป็น รากฐานระบบเศรษฐกิจ

3. กระจายคืนความมั่งคั่งสู่สังคมทุกภาคส่วน

ความสำานึกที่จะเสวงหาแนวทาง เพื่อเป็นแม่แบบการพัฒนา เป็นเรื่อง ของอจินตนาการที่จะมองเห็นการเปลี่ยนแปลงของโลก โลกนี้ได ้ เปลี่ยนแปลงไป แต่ในระบบการศึกษาของเรายังขังตัวเองอยู่ในโลก

(10)

เก่า ตรงนี้เราก็ต ้องปลดตัวเองออก นี่เป็นเงื่อนไขที่สำาคัญ แนวคิดว่า เศรษฐก ิจพอเพียง น่าจะเป็นแม่แบบการพัฒนาของไทยในยุค ปัจจุบันอย่างแท ้จริง หากจะกล่าวถึงระบบเศรษฐกิจพอเพียง ทุกคน มักจะมุ่งไปท ี่ไร่นาหรือภาพของชนบท แต่แท ้ท ี่จร ิงแล ้วระบบ เศรษฐกิจพอเพียงในสถานการณ์โลกปัจจุบัน เราจะต ้องเข ้าใจว่า ณ ปัจจุบันเรากำาลังในบริบทไหนของโลก ไม่ใช่เป็นบริบทของชุมชน ชนบทหรือเกษตรกรมีชีวิตอยู่ในโลกอย่างโดดเดี่ยว แต่ในความเป็น จริงแล ้วกำาลังอยู่ในโลกของการเชื่อมโลกกับสังคมอื่น อย่างกว ้าง ขวางตามกระแสโลกาภิวัตน์ กระแสที่นำาเราไปสู่เส ้นทางเศรษฐกิจ เชลยหร ือเส ้นทางแห ่งการไล ่ล ่า จะเห็นว ่าปัญหา ของท ้อง ถิ่น,ประเทศ,โลก มีความเกี่ยวข ้องกัน ดังนั้นจะต ้องนิยามความหมาย

“เศรษฐกิจพอเพียง” “การพัฒนาชนบท” ปรับเปลี่ยนตามบริบทของ โลกไปด ้วย เราจะต ้องมองให ้เห็นตัวที่ก่อปัญหา มองให ้เป็นเพื่อนำา มาวิจัยเป็นองค์ความรู ้พัฒนาประเทศ ไม่ใช่เพื่อตอบสนองความ ต ้องการแบบพอก ินพอใช ้เท่านั้น แต่จะต ้องแสวงหาแม่แบบท ี่

สามารถตอบปัญหา รวมทั้งหาจุดยืนในกระแสโลกาภิวัตน์ได ้ด ้วย นั่น คือกระบวนพัฒนาอย่างมีขั้นตอนภายใต ้ระบบเศรษฐกิจพอเพียง จาก พออยู่พอกินมีศักยภาพในการพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจได ้ยกระดับการ พัฒนาเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติซ ึ่งเกิดจากระบบการ พัฒนาไม่ไปกระทบระบบนิเวศน์จนนำาไปสู่ขั้นตอนสุดท ้าย คือ เศรษฐกิจชุมชน 7 อนึ่งฐานคิดเพื่อทางออกของสังคมไทยตามที่

ศาสตราจารย์เสน่ห์ จามริก พูดถึงประกอบด ้วย

1.ฐานทางเศรษฐกิจ 3.ฐานทางปัญญา

2.ฐานทางสิ่งแวดล ้อม 4. ฐานทางสิ่งแวดล ้อม 5.ฐานชุมชน

จากฐานทั้งสี่ประการนี้มีปฎิสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มจากการ แสวงหาความรู ้ วิทยาการใหม่ๆ มาต่อยอดภูมิปัญญาไทยแล ้วมาปรับ เป็นระบบเศรษฐกิจที่ฐานของคนส่วนมาก เพื่อให ้ชุมชนอยู่ได ้ การ ขยายตัวทางอุตสาหกรรมบริการมีการขยายตัวแต่พอดี ไม่ใช่มีการ ขยายตัวอย่างรวดเร็วเกินกว่าจะปรับโครงสร ้าง และระยะ โดยเฉพาะ ระบบการศึกษาจะปรับตัวได ้ทัน การเติบโตในลักษณะเช่นนี้เป็นความ เจริญเติบโตครอบโครงสร ้างเดิม หรือกล่าวอีกอย่างคือ การเจริญ เติบโตที่ลอกเลียนแบบ ซ ึ่งไม่ 7ว ิทยากรกร เช ียงกูร.เศรษฐก ิจไทย เศรษฐกิจโลก. สายธาร,2545.ใช่

(11)

กิดจากการพัฒนาฐานคิดของสังคมเราเอง เช่น ทางลัดเลียนแบบ เพื่อยกระดับกรุงเทพฯ เป็นศูนย์กล

างแฟชั่น มีการยกขบวนเหล่านางแบบแสดงลีลาในเวลาคำ่าคืนริมฝั่ง แม่นำ้าเจ ้าพระยา โดยมีวัดพระแก ้วเป็นฉากหลัง เกิดคำาถามว่าการจัด งานนี้เกิดจากฐานคิดใด ฐานคิดเพื่อดึงเม็ดเงินจากต่างชาติในรูปของ นักท ่องเท ี่ยว การชอบปิ้ง การกระต ุ ้นเพ ื่อให ้เก ิดการพัฒนา อุตสาหกรรมแฟชั่น พัฒนาการออก

แบบเย็บตัดผ ้าไทยสู่กรอบสากล ถ ้าเป็นเช่นนั้น ก็เท่ากับเป็นการต่อย อดแนวคิดโลกาภิวัตน์ทุนนิยมโลก

หรือมีความเป็นเชลยทางความคิดนั่นเอง ส่วนในมิติทางสังคมเกิด อะไรบ ้างกับสังคมไทยที่มีนางแบบ

เดินแบบในรูปลักษณ์โชว์ เต ้า หรือเต ้าหกจากกรณีศึกษานี้สะท ้อนให ้ เห็นถึงการไม่ได ้ปรับโครงสร ้างและระบบเพื่อรับกับกระแสในระดับ

โลก

จากสองจุดยืนภายใต ้กระแสโลกาภิวัตน์นั้นมีความแปลกแยกกันใน ตัว โดยเริ่มจากระบบเศรษฐกิจไม่

เน ้นความมั่งคั่งของเง ินตรา แต่สะสมในรูปของมูลค่าธาตุแท ้ (Intrinsic Value) ใ น ร ูป ข อ ง ท ี่ด ิน ท ี่ม ีศ ัก ย ภ า พ ใ น ก า ร ผลิต,สัตว์,ภูมิปัญญา,ความสัมพันธ์ของมนุษย์ โดยทั่วไปแล ้วไม่

สามารถแบ่งแยกออกจากชุมชนได ้ ระบบเศรษฐกิจนัยนี้เริ่มจาก ฐานรากซึ่งจะทำาให ้มีความมั่นคงในระดับล่าง แม ้ไม่อาจก ้าวสู่ระดับ สูงได ้ แต่ฐานล่างไม่ถูกทำาลาย ส่วนเศรษฐกิจสมัยใหม่ของเรา ดำารง อยู่ในฐานท ี่เป็นแต่เพียงร่องรอยของอ ีเล็กทรอนิคส ์ในเครื่อง คอมพิวเตอร์ สายลวดในการสื่อสารและคลื่นอากาศ เศรษฐกิจสังคม สมัยใหม่นี้ ในไม่ช ้าจะสูญเสียจิตสำานึกของสถานที่และชุมชน เกิด การหลั่งไหลอย่างมโหฬารของประชาชนที่ถูกช่วงช ิงทรัพยากร อพยพเข ้าสู่เมืองใหญ่และกลายเป็นส่วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจภาค

กระแสโลกาภิ

วัตน์

ปรับแม่แบบการ พัฒนา

จุดยืนที่

ยั่งยืน การพัฒนาลอก

เลียนแบบ

จุดยืนที่

เสียดุล

(12)

ซึ่งเชื่อมต่อกับระบบภายนอกระบบที่เน ้นเป้าหมายที่รายได ้มวลรวม ของชาต ิ มีการแข่งขันเพื่อผลผล ิตที่สูงสุด ได ้กลายมาเป็นส ิ่ง ทดแทนเยื่อใยสัมพันธ์ต่อชุมชน ความล ้มเหลวของงานพัฒนาที่

กำาลังดำาเนินอยู่ในปัจจุบันเห็นได ้ชัดจากช่องว่างระหว่างเมืองกับ ชนบท ถูกถ่างให ้กว ้างมากขึ้น ตลอดจนการล่มสลายของสังคมและ สิ่งแวดล ้อมในอัตราที่สูงขึ้นจากความล ้อมเหลวดังกล่าว ผลักดันให ้ เกิดความพยายามในการที่จะแสวงหาทางเลือกในการสร ้างจินตนรา การ (Vision) แห่งความก ้าวหน ้าของมนุษย์ชาติที่คงอยู่บนรากฐาน ของความเที่ยงธรรมและความยั่งยืนของสังคม8

ความย ั่งยืนต ั้งอยู่บนรากฐานที่ย ั่งยืน

ในขณะที่ประเทศไทยกำาลังก ้าวสู่กระแสโลกาภิวัตน์ จำา ต ้องเปิดรับเงื่อนไขต่างๆ จากภายนอกแต่ทั้งนี้ควรปรับรับเพื่อรุกอย่าง มีประสิทธิภาพ แทนที่ตั้งรับฝ่ายเดียว เมื่อนั้นคงถูกขับออกจาก

8 ANGOC TRED ASIA AND PCD FORUM.ทางเศรษฐฏิจนิเวศวิทยาและจิตวิญญาณ.กรุงเทพฯ:มูลนิธิสานแสงอรุณ,ไม่ปรากฎปีที่

พิมพ์.หน ้า 33.

ระบบก็เป็นได ้ การปรับตัวในครั้งนี้ควรเน ้นหนักการพัฒนาแบบยั่งยืน (Sus-Tainable Development) พร ้อมกันนั้นควรจำากัดการเปิด ประเทศมิให ้มากเกินไปเพื่อให ้เรามีความพร ้อมและเรียนรู ้อย่างเท่า ทันไปในตัว เนื่องจากโลกาภ ิวัตน์ทุนนิยมนั้นมีลักษณะแข่งขัน พัฒนาวิทยาการเทคโนโลยี นวตกรรมใหม่ๆ

เพื่อเสริมสร ้างศักยภาพในการแข่งขัน เพื่อความเป็นเลิศ เมื่อฐานคิด เป็นเช่นนี้ส่งผลให ้เกิดการไล่ล่า ครอบงำาบีบคั้นกลุ่มประเทศด ้อย พัฒนาทั้งหลาย ระบบดังกล่าวนี้ได ้เลือกสรรวัตถุดิบ ทรัพยากรบุคคล ที่ดีที่สุดให ้อยู่ในวงจรการแข่งขัน ฉะนั้นจึงมีคนกลุ่มน ้อยอยู่ในปลาย ยอดของหอคอย แต่รากฐานซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศที่ต ้อง ปรับตัวอย่างมากหากต ้องการให ้สังคมไทยตั้งอยู่อย่างมั่นคง รากฐาน ที่มั่นคงควรมีลักษณะดังนี้

1. ความมั่นคงทางชุมชน ความมั่นคงดังกล่าวเกิดจาก การผลักดันให ้ไกหลักของชุมชนมีบทบาทอย่างสัมพันธ์กันคือ

- องค ์กรทางสาสนา ควรสร ้างภูม ิคุ ้มกันทาง วิญญาณ เป็นหลักทางความดีมีกิจกรรมนำาพา ชุมชน เพื่อความมั่นคงทางจิตวิญญาณ

- องค ์กรชุมชน ควรมีระบบเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาสืบทอดภูมิปัญญาการทำามาหากินกับทำา

(13)

มาหายายภายในชุมชนเอง เพื่อให ้คนในชุมชน รักในถิ่นมาตุภูมิ ร่วมกันสร ้างชุมชน

- องค ์กรศ ึกษา ควรมีการปรับการเรียนในสอง ระดับคือ เรียนองค์ความรู้อ ันเป็นสากล เพื่อทัน ต ่อ ก ร ะ แ ส โล ก แ ล ะ ส ร ้า งอ ง ค ์ค ว า ม ร ู้จ า ก ภูม ิปัญญา รู้ในท ้องถ ิ่นน ั้น ๆ เช ่น ชุมชน เกษตรก็มีทรัพยากรทางเกษตรของท ้องถิ่นนั้นๆ ในอันที่จะมาเพิ่มศักยภาพการผลิตและตลาดง ท ้องถิ่นอย่างกลมกลืน หากทำาได ้เช่นนี้ในทุก ระดับการศึกษาแล ้วเท่ากับว่า การศึกษาเป็นสิ่ง จำา เ ป็ น ใ น ฐ า น ะ ส ร ้า ง ท ร ัพ ย า ก ร ท ั้ง ใ น ภ า ค อุตสาหกรรมบริการและเกษตรกรรมยั่งยืน

จากสามกลไกหลักคือวัด บ ้าน โรงเรียน ซ ึ่งมีอยู่แล ้วในทุกภูมิภาค ของไทย หากแต่ว่าเรามาปรับเงามืดของทัศนะเกี่ยวกับการพัฒนา ตามแม่แบบของโลกอย่างเหมาะสม และมากำาหนดแนวทางเดินร่วม กันโดยดึงเป้าหมายหลักของแต่ละกลไก คือสร ้างจิตวิญญาณให ้อยู่

ร่วมกันสร ้างเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน และสร ้างองค์ความรู ้จาก ระดับรากฐานสู่สากล การปรับตัวเช่นนี้น่าจะเป็นการสร ้างความมั่นคง ในระดับรากฐาน แต่ในความเป็นจริงแล ้วสังคมไทยนับว่ามีจุดแข็งใน เรื่องชุมชนอยู่แล ้ว หากแต่ว่าได ้ถูกกกระแสจากภายนอก ในรูปของ แม่แบบการพัฒนามาขยายอิทธิพลสู่ฐานความคิดและได ้ส่งผลให ้ อ่อนแอและล่มสลายไปบ ้างในบางส่วน

จากรากฐานที่ย ั่งยืนสู่ทิศทางและเป้าหมายในอนาคต

สำาหรับท ิศทางและเป้าหมายตามที่คณะกรรมาธ ิการ ว ิสามัญศ ึกษาและต ิดตามการแก ้ไขปัญหาว ิกฤต ิเศรษฐก ิจของ ประเทศได ้กำาหนดไว ้มีดังนี้

1.หนึ่งระบบสองกลไก: การผสมผสานเศรษฐกิจพอเพียง กับเศรษฐกิจการตลาด

2.เป้าหมายเชิงโครงสร ้าง ควรได ้ดุลยภาพ: เพิ่มสัดส่วน ภายในประเทศ, SMEs การกระจายรายได ้

3.สังคมความรู ้หรือสังคมวิทยาการ

4.พัฒนาระบบเศรษฐกิจไทยให ้เป็นระบบเศรษฐกิจสังคม ที่ดีและมีประสิทธิภาพมากที่สุดในภูมิภาคที่สามารถ แข่งขันได ้ในตลาดโลก

5.เป็นสังคมเปิด สังคมหลักประกันและสังคมคุณธรรม

(14)

6.พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแบบยั่งยืนและความเจริญ เติบโตบนจุดยืนที่ยั่งยืน

7.ส่งเสริมสร ้างศักยภาพและขีดความสามารถในการมี

ส่วนร่วมในการจัดการและกำาหนดกติกาโลก9 บทสรุป

ประเทศไทยในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของสังคมโลก ซึ่งอยู่ใน ศตวรรษแห่งการเปลี่ยนแปลง มีเงื่อนไขต่างๆ ทั้งในด ้านเศรษฐกิจ การเมืองโลก และความก ้าวหน ้าทางเทคโนโลยี อันเป็นนวตกรรม ล่าสุดของสังคมมนุษย์ เงื่อนไขต่างๆ ดังกลื่าวได ้ทำาให ้โลกใบนี้ถูก เชื่อมเข ้าสู่ระบบเดียวกับภายใต ้กติกาอันเป็นสากล มีผลให ้ประเทศ ต่างๆ ต ้องปรับกระบวนทัศน์ในการพัฒนาและนโยบายภายในให ้ สอดคล ้องกับนโยบายภายนอก การปรับจุดยืนเพื่อกำาหนดทางเดินใน รูปของนโยบายนั้นล ้วนมีนัยตามแม่แบบการพัฒนาอันเป็นสากล คือ การพัฒนาเพื่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยใช ้องค์กรระดับ นานาชาติมาเปิดเจรจาเพื่อให ้ประเทศต่างเปิดเสรีทางการค ้า เพื่อ แลกกับความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นำาความมั่งคั่งสู่ประเทศชาติ

อั้นเป็นเป้าหมายหลักที่ประเทศกำาลังพัฒนาทั้งหลายจะไปให ้ถึง แต่

เนื่องจากระบบของโลกดังกล่าวเป็นระบบที่มีการแข่งขันอย่างเสรี

ความเป็นเสรีนี้เองได ้เปิดช่องทางให ้ประเทศพัฒนาแล ้วแสวงหาโอ กาสใหม่ๆ เพื่อความเจริญเติบโตทางสังคมเศรษฐกิจ แต่ในทางกลับ กันสำาหรับประเทศด ้อยพัฒนาเฉกเช่นประเทศไทยที่ขาดความพร ้อม ในเงื่อนไขต่างๆ ในบริบทโลกนั้น และขาดการปรับตัวที่เหมาะสม สำาหรับการเปิดตัวสู่เวทีแห่งการแข่งขัน ในกระแสโลกาภิวัตน์ทุนนิยม โลก ในอดีตสู่ปัจจุบันทำาให ้ไทยเราไม่ได ้ใช ้โอกาสจากกระแสโลกาภิ

วัตน์นั้นให ้เป็นประโยชน์มากนัก ดังนั้นทำาให ้โอกาสนั้นกลายเป็น ความบีบคั้นหรือภัยคุกคามต่อเศรษฐกิจและสังคมไทยอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นการปรับจุดยืนบนเส ้นทางเดินที่เหมาะสมด ้วยฐานคิดเพื่อเป็น องค์ความรู ้มาเป็นนโยบายนำาพาประเทศสู่ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ สังคมโดยจุดประกายแห่งการพัฒนาโดยการพัฒนาชุมชนในฐานเป็น ฐานรากของสังคมให ้มีภูมิคุ ้มกันทางจิตวิญญาณ เศรษฐกิจพอเพียง และวิจัยองค์ความรู ้จากท ้องถิ่นสู่ระดับสากล หากทำาได ้เช่นนี้ทำาให ้ รากฐานมีความมั่นคงและสามารถดำารงอยู่อย่างยั่งยืนในกระแสโลกา ภิวัตน์ได ้ ทั้งในระดับชุมชน-สังคม-ประเทศ อย่างได ้ดุลยภาพ

(15)

9 ชัยยุทธ์ ปัญญาสวัสดิ์สุทธิ.เจาะมาตรการแก ้วิกฤติศรษฐก ิจ.กรุงเทพฯ:ร่วมด ้วยช่วย กัน.2543. หน ้า 168.

บรรณานุกรม

ช ัย ย ุท ธ ป ัญ ญ ส ว ัส ด ิ์ส ุท ธ ิ์.เ จ า ะ ม า ต ร ก า ร แ ก ้ว ิก ฤ ต ิ เศรษฐกิจ,กรุงเทพฯ:ร่วมด ้วยช่วยกัน,2543.

ว อ ล เ ด น เ บ ล โ ล แ ล ะ ค ณ ะ.ว ิก ฤ ต ิก ร ะ แ ส โ ล ก า ภ ิว ัต น์,กรุงเทพฯ:สำานักพิมพ์มูลนิธิเด็ก,2547.

วิทยากร เชียงกูร.เศรษฐกิจไทยเศรษฐกิจโลก. สายธาร,2545.

เสน่ห จามริก.การวิจ ัยเพื่อท้องถิ่น.สำานักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2543.

(16)

อนุช อภาภ ิรม.ฤาจะส ิ้นสุดยุคโลกาภ ิว ัตน ์.โครงการว ิถ ีทร รศน์,2547.

ANGO, IRED,ASIA AND PED FOROM,เศรษฐกิจนิเวศวิทยา และจิตวิญญาณ. มูลนิธิสานแสงอรุณ,ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์.

Referensi

Dokumen terkait

X =4.52 ส่วนองค์ประกอบทีเหลือ 3 องค์ประกอบ อยู่ ในระดับมาก คือ วิธีการให้บริการวิชาชีพ X =4.38 จุดมุ่งหมายในการบริการวิชาชีพ X =4.37 และเนือหา ของการบริการวิชาชีพ X =4.33 2.2