• Tidak ada hasil yang ditemukan

THE ACUTE EFFECTS OF REFORMER PILATES EXERCISES ON VASCULAR FUNCTION IN ELDERLY

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "THE ACUTE EFFECTS OF REFORMER PILATES EXERCISES ON VASCULAR FUNCTION IN ELDERLY"

Copied!
138
0
0

Teks penuh

Results showed that reformer Pilates conditions significantly increased drooling and drooling at 0 minutes post-condition, 10 minutes post-condition, 30 minutes post-condition and 60 minutes post-condition compared to baseline (P<0.05) and baPWV was significantly increased (P<0.05). only 0 min after status. Considering the difference between conditions, reformer Pilates showed higher FMD at 0 min post condition, 10 min post condition and 30 min post condition compared to the control condition (P>0.05).

สารบัญตาราง

กรอบแนวคิด

  • ผู้สูงอายุ
    • ความหมายของผู้สูงอายุ
    • การเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ
    • การดูแลผู้สูงอายุ
  • เซลล์ผนังหลอดเลือด
    • การวัดค่าการท างานของหลอดเลือด
  • พิลาทีส
    • การเปลี่ยนแปลงที่ระบบหัวใจและหลอดเลือด
    • ด้านระบบทางเดินหายใจ
    • การดูแลผู้สูงอายุด้านโภชนาการ
    • การออกก าลังกายในผู้สูงอายุ
    • โครงสร้างของหลอดเลือด
    • ความหมายและหน้าที่ของเซลล์บุหลอดเลือด (Endothelial cell)

เซลล์บุผนังหลอดเลือด

  • ความผิดปกติในการท างานของหลอดเลือด

สมการค านวณหาค่า FMD

  • ประวัติความเป็นมาของพิลาทีส
  • พิลาทีสเทคนิค
  • พิลาทีสบนผืนเสื่อ
  • รีฟอร์เมอร์พิลาทีส
  • งานวิจัยในประเทศ
  • งานวิจัยต่างประเทศ
  • การเก็บรวบรวมข้อมูล
  • ผ่านเกณฑ์ทดสอบ 2019-PAR-Q+
    • เครื่องวัดความดันโลหิต
    • ขั้นตอนการศึกษา

EDV), ปริมาตรเลือดในหัวใจห้องล่างซ้ายก่อนหัวใจมีการบีบตัว(end-systolic volume; ESV), และสัดส่วนการบีบตัวของหัวใจ(ejection fraction; EF) และใช้ค่าผลรวม 50 นาทีเป็นผลสรุปของ การศึกษา มีการตรวจวัดความดันโลหิต (Blood pressure; BP) ความเร็วของคลื่นชีพจรของท่อน แขนและข้อเท้า (Branchial ankle pulse wave velocity; baPWV) และการไหลเวียนของเลือด ผ่านขยายตัวของหลอดเลือด (Flow-mediated dilation; FMD) หลังการออกก าลังกายแบบพิลา ทีสแบบฉับผลัน ท าให้ค่า FMD เพิ่มขึ้นที่ P < 0.01 (Kyounghwa Jung et al.,2020). แบ่งเป็นการอบอุ่นร่างกายก่อนการฝึก 8-10 นาที และท าการออกก าลังกายแบบพิลาทีสทั้งหมด 16 ท่าออกก าลังกายแต่ละท่าฝึกกระท า 10 ครั้ง มีการจัดเก็บอัตราการเต้นของหัวใจตลอดช่วงการ ออกก าลังกายและความคุมความหนักให้กลุ่มตัวอย่างเท่าเทียบกันด้วยการหาค่า แรงกระตุ้นใน การฝึก จากสูตร TRIMP = ความหนักและจ านวนครั้งคูนด้วยระยะเวลาของการออกก าลังกาย (TD) โดยการส ารองอัตราการเต้นของหัวใจโดยเฉลี่ย (HRR) ดังนี้ (ก) TRIMP, a.u. C H O), ออกซิเดชันของกรดไขมัน(fatty acid oxidation; FAO),และค่าการจ่ายด้านพลังงาน(energy expenditure; EE) และการท างาน ของหัวใจ (อัตราการเต้นของหัวใจ(heart rate; HR), ปริมาณโรคหลอดเลือดสมอง(stroke volume : SV), อัตราการเต้นของหัวใจ (cardiac output; CO), ปริมาณเลือดที่อยู่ในหัวใจห้องล่างซ้าย( end-diastolic volume; EDV), ปริมาตรเลือดในหัวใจห้องล่างซ้ายก่อนหัวใจมีการบีบตัว (end- systolic volume; ESV), และสัดส่วนการบีบตัวของหัวใจ (ejection fraction; EF) และใช้ค่า ผลรวม 50 นาทีเป็นผลสรุปของการศึกษา มีการตรวจวัดความดันโลหิต (Blood pressure; BP) ความเร็วของคลื่นชีพจรของท่อนแขนและข้อเท้า (Branchial ankle pulse wave velocity; .. baPWV) และการขยายตัวของผนังหลอดเลือด (Flow-mediated dilation; FMD) หลังการออก ก าลังกายแบบพิลาทีสแบบฉับผลัน ค่าการขยายตัวของหลอดเพิ่มขึ้นที่ P<0.01.

โปรแกรมออกก าลังกายแบบรีฟอร์เมอร์พิลาทีส

  • ลักษณะของกลุ่มประชากร
  • ผลฉับพลันของ FMD ส าหรับเงื่อนไขควบคุม
  • ผลฉับพลันของ baPWV ส าหรับเงื่อนไขควบคุม

รูปที่ 21 แสดงการเปลี่ยนแปลงใน FMD ในช่วงเวลาต่างๆ: น้ำหนัก 60% จำนวนครั้งสูงสุด มันไม่ได้ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันใน FMD จากมุมมองของการฝึกแบบต้านทาน การศึกษานี้อาจแตกต่างจากงานของ (บุญสิทธิ์ et al., 2017) ในประเด็นความเร็วของการเคลื่อนไหวในการออกกำลังกายแต่ละครั้ง กลไกที่เป็นไปได้คือการออกกำลังกาย ความหนักต่ำ และความเร็วของการออกกำลังกาย การออกกำลังกายที่ค่อนข้างช้าสามารถมีผลทันทีในการเพิ่ม FMD (Tsuchiya, Morishima และ Ochi, 2022) คล้ายกับท่าออกกำลังกาย รีฟอร์มเมอร์พิลาทิส นอกจากนี้ การศึกษาภาวะความดันเลือดต่ำหลังออกกำลังกาย (PEH) ยังพบว่าความดันโลหิตลดลงชั่วคราว (30 นาที) ซึ่งมีรายงานว่าสัมพันธ์กับความดันโลหิตซิสโตลิก มีความเกี่ยวข้องกับโรค FMD (Quyyumi & Patel, 2010) (Mordi, Mordi, Delles, & Tzemos, 2016) และสัมพันธ์กับการลดความดันโลหิตขณะพักด้วยการออกกำลังกายเป็นเวลานาน (Moraes et al., 2012) กลไกทั้งสองของโหลดสสารและความเร็วในการฝึกพร้อมกับไดนามิกของความดันโลหิตอาจเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ FMD เพิ่มขึ้นอย่างกะทันหัน

การฝึกหายใจในอัตราที่ช้าและมีการปรับเปลี่ยนจังหวะการหายใจสามารถช่วย ลดความดันโลหิตได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการหายใจที่ลึกและช้าสามารถเพิ่มความไวของบาโร รีเฟล็ก (Baroreflex) และส่งต่อความผันแปรของอัตราการเต้นหัวใจ (Heart rate variability) นอกจากนี้การหายใจดังกล่าวยังเพิ่มอัตราการไหลของเลือดที่เส้นเลือดขนาดเล็กและลดความ ต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลายได้ (Grossman & Grossman, 2003) นอกจากการหายใจเข้า ลึกและช้า ด้วยวิธีการหายใจเข้าทางจมูกและหายใจออกทางจมูกแล้วยังมีการหายใจอีกรูปแบบ หนึ่งที่ช่วยกระตุ้นให้ร่างกายเกิดความนิ่ง และมีสติ (Mindfulness) ด้วยการหายใจเข้าทางจมูก และออกทางปาก (Pursed lips breathing) แบบช้าและเป็นจังหวะ มีการรายงานว่า การหายใจ ดังกล่าว ส่งผลต่อการลดลงของความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจ (Mitsungnern et al., 2021) ซึ่งการหายใจเข้าทางจมูกและหายใจออกทางปากเป็นรูปแบบที่คล้ายคลึงกับการออกก าลัง กายแบบรีฟอร์เมอร์พิลาทีส และส่งผลต่อการลดลงความดันโลหิตตัวบนที่ต ่ากว่าการหายใจแบบ อื่นๆ (Gholamrezaei, Van Diest, Aziz, Vlaeyen, & Van Oudenhove, 2021) การเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวอาจมีสาเหตุมาจากการลดลงของการท างานของระบบซิมพาเทติกที่มีต่อหลอดเลือด และ การเปลี่ยนแปลงของความดันโลหิตนี้เป็นตัวแปรที่ส าคัญของการเปลี่ยนแปลงค่าเครียดเฉือน (Share stress)และการกระตุ้นให้เกิดการผลิตไนตริกออกไซต์ในหลอดเลือด ซึ่งส่งผลต่อ FMD ได้. ฟอร์เมอร์พิลาทีสยังมุ่งเน้นไปที่การควบคุมการหายใจพร้อมกับการเคลื่อนไหว ไม่มีการกลั้นลม หายใจขณะออกก าลังกาย โดยจะหายใจเข้าทางจมูกและหายใจออกทางปาก แบบ Purse lip ตลอดการเคลื่อนไหว ดังนั้นการหายใจจึงอาจเป็นปัจจัยหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มขึ้นของ FMD แบบฉับพลันได้ กลไกที่เป็นไปได้ที่อาจส่งผลต่อการพัฒนาของ FMD แบบฉับพลันอาจจะ พยากรณ์การเปลี่ยนแปลงในระยะยาวภายหลังจากการฝึกได้ เนื่องจากมีรายงานการพบ.

บรรณานุกรม

Acute and chronic effects of isometric arm exercise on cardiovascular variables in hypertensive patients: a systematic review. Effects of pilates training method on balance and falls in older adults: a systematic review and meta-analysis of randomized controlled trials. Acute effects of exercise mode on arterial stiffness and wave reflection in healthy young adults: a systematic review and meta-analysis.

Beneficial effects of Tai Chi exercise on endothelial function and arterial stiffness in the elderly. Acute effects of lower and upper body resistance training on arterial stiffness, peripheral and central blood pressure in young normotensive women.

ประวัติผู้เขียน

Referensi

Dokumen terkait

However, clinically subjects with longer duration of tracheostomy cannula usage have higher risk for developing biofilms