• Tidak ada hasil yang ditemukan

Current Liabilities and Contingencies

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "Current Liabilities and Contingencies"

Copied!
54
0
0

Teks penuh

(1)

By Phanthip Yangklan

การบัญชีชั้นกลาง 2 Intermediate Accounting II

อ.เสาวล ักษ์ เลิศวรสิริกุล อ.สุวรรณี รุ่งจตุรงค์

อ.พรรณทิพย์ อย่างกล ั่น

(2)

By Phanthip Yangklan

การบรรยายคร ั้งที่ 1-2

หนี้สินหมุนเวียน และหนี้

สินที่อาจเกิดขึ้น

(Current Liabilities

and Contingencies)

(3)

By Phanthip Yangklan

หนี้สิน

(Liabilities)

หนี้สิน หมายถึง ภาระผูกพันในปัจจุบัน ของกิจการ ภาระผูกพันดังกล่าวเป็นผล ของเหตุการณ์ในอดีต ซึ่งการชำาระภาระ ผูกพันนั้น คาดว่าจะส่งผลให ้กิจการสูญ เสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิง

เศรษฐกิจ

(4)

By Phanthip Yangklan

การรับรู ้หนี้สินและการวัดมูลค่า องค์

ประกอบของงบการเงิน

แม่บทการบัญชีได ้กำาหนดว่าหนี้สินควรรับรู ้ใน งบดุลเมื่อ...

1. มีความเป็นไปได ้ค่อนข ้างแน่ที่กิจการจะ สูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิง

เศรษฐกิจในอนาคต และ

2.มูลค่าของภาระผูกพันที่ต ้องชำาระนั้น สามารถวัดค่าได ้อย่างน่าเชื่อถือ

(5)

By Phanthip Yangklan

การวัดมูลค่า คือ การกำาหนดจำานวนที่เป็น ตัวเงินเพื่อรับรู ้องค์ประกอบของงบการเงิน ในงบดุลและงบกำาไรขาดทุน

เกณฑ์ในการวัดค่า ได ้แก่...

ราคาทุนเดิม

ราคาทุนปัจจุบัน มูลค่าที่จะได ้รับ มูลค่าปัจจุบัน

(6)

By Phanthip Yangklan

ราคาทุนเดิม หมายถึง การบันทึกหนี้สิน ด ้วยจำานวนเงินที่ได ้รับจากการก่อภาระ ผูกพันหรือบันทึกด ้วยจำานวนเงินสดหรือ รายการเทียบเท่าเงินสดที่คาดว่าจะต ้อง จ่ายเพื่อชำาระหนี้สินที่เกิดจากการดำาเนิน

งานตามปกติ

ราคาทุนปัจจุบัน หมายถึง การแสดงหนี้

สินด ้วยจำานวนเงินสดหรือรายการเทียบ เท่าเงินสดที่ต ้องใช ้ชำาระภาระผูกพันใน ขณะนั้น

(7)

By Phanthip Yangklan

มูลค่าที่จะได ้รับ หมายถึง การแสดงหนี้

สินด ้วยมูลค่าที่ต ้องจ่ายคืนหรือด ้วย จำานวนเงินสดหรือรายการเทียบเท่า

เงินสดที่คาดว่าจะต ้องจ่ายเพื่อชำาระหนี้

สินที่เกิดจากการดำาเนินงานตามปกติ

มูลค่าปัจจุบัน หมายถึง การแสดงหนี้สิน ด ้วยมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่าย สุทธิ ซึ่งคาดว่าจะต ้องจ่ายในการชำาระหนี้

สินภายใต ้การดำาเนินงานตามปกติ

(8)

By Phanthip Yangklan

หนี้สิน

(Liabilities หนี้สินหมุนเวียน )

(Current Liabilities)

หนี้สินระยะยาว (Long-term

Liabilities)

หนี้สินที่มีระยะเวลา การจ่ายชำาระภายใน

1ปี และต ้องชำาระ เป็นสินทรัพย์

หมุนเวียน หรือ การก่อให ้เกิดหนี้สิน

หมุนเวียนอื่นแทน

หนี้สินซึ่งมีระยะเวลา การชำาระคืนเกินกว่า 1

ปี หรือเกินกว่ารอบ ระยะเวลาดำาเนินงาน

ตามปกติของกิจการ

ประเภทของหนี้

สิน

(9)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินหมุนเวียน (Current

Liabilities)

หนี้สินที่

กำาหนด แน่นอน

(Having Contractu

Amount)al

หนี้สินที่เกิด ขึ้น

จากผลการ ดำาเนิน

งาน(Amoun t Depends Operationson

)

หนี้สินโดย ประมาณ(Am

ount Must Be Estimated)

คือ ภาระ ผูกพันที่

สามารถ

กำาหนดจำานวน ได ้อย่าง

แน่นอนหรือ ประมาณ จำานวนได ้ อย่างน่าเชื่อ

ถือ

คือ หนี้สิน เกี่ยวกับเงิน

เดือนและ ค่าแรงงาน

หนี้สินที่มี

ความไม่

แน่นอนเกี่ยว กับจังหวะ เวลา หรือ จำานวนที่ต ้อง

จ่ายชำาระ

(10)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินหมุนเวียนที่กำาหนดแน่นอน (Having Contractual Amount)

1. 1. เงินเบิกเกินบ ัญชี เงินเบิกเกินบ ัญชี

( ( Bank Overdraft) Bank Overdraft)

เงินเบิกเกินบัญชี คือ จำานวนเงินซึ่งผู ้เบิก เกินบัญชีเป็นหนี้ธนาคาร อันเกิดจากการสั่ง จ่ายเงินเกินกว่าจำานวนเงินที่ ฝากไว ้ ปกติจะ จัดทำาเป็นสัญญาเบิกเงินเกินบัญชี โดยการ จัดวางหลักประกัน

(11)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินหมุนเวียนที่กำาหนดแน่นอน (Having Contractual Amount)

2. 2. เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า

( ( Accounts Payable) Accounts Payable)

เจ้าหนี้การค้า เป็นหนี้สินที่เกิดจากการ ซื้อสินค้า ว ัสดุหรือบริการเป็นเงินเชื่อ และในการซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ ผู้ขาย ม ักจะให้เงื่อนไขการชำาระเงินแก่ผู้ซื้อ เช่น 2/10, n/30 การบ ันทึกบ ัญชีเกี่ยว ก ับการซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อมี 2 วิธี คือ 2.1 วิธียอดเต็ม (Gross Price Method)

2.2 วิธียอดสุทธิ (Net Price Method)

(12)

By Phanthip Yangklan

รายการ วิธียอดขายเต็ม วิธียอดขายสุทธิ

ม.ค. 1 บริษัทเอ ซื้อสินค้า

1,000 บาท เงื่อนไข 1/10, n/30

เดบิต ซื้อสินค ้า

1,000

เครดิต เจ ้าหนี้

การค ้า 1,000

เดบิต ซื้อสินค ้า 990

เครดิต เจ ้าหนี้

990 1,000-

(1,000*1%) -กรณีจ่ายชำาระ

หนี้ภายใน 10 วัน(ได ้รับส่วนลด 1%)

เดบิต เจ ้าหนี้

1,000

เครดิต เงินสด 990

ส่วนลด

รับ 10

เดบิต เจ ้าหนี้

990

เครดิต เงินสด 990

-กรณีจ่ายชำาระ หนี้เกินกว่า 10 วัน(ไม่ได ้รับ

ส่วนลด 1%)

เดบิต เจ ้าหนี้

1,000

เครดิต เงินสด 1,000

เดบิต เจ้าหนี้

990

ส่วนลดร ับที่สูญ เสีย(5) 10

เครดิต เงินสด 1,000

ตัวอย่างการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการซื้อ สินค ้าเป็นเงินเชื่อ

(13)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินหมุนเวียนที่กำาหนดแน่นอน (Having Contractual Amount)

3. 3. ต ั๋วเงินจ่าย ต ั๋วเงินจ่าย ( ( Note Note Payable)

Payable)

ต ั๋วเงินจ่าย หมายถึง ตราสารทางการเงิน ชนิดหนึ่งที่บุคคลหนึ่งตกลงที่จะชำาระเงิน จำานวนหนึ่งที่แน่นอนให้แก่อีกบุคคลหนึ่ง ภายในเวลาที่กำาหนด ต ั๋วเงินจ่ายแบ่งเป็น 2 ประเภท

3.1 ต ั๋วเงินจ่ายชนิดมีดอกเบี้ย (Interest Bearing Notes)

3.2 ต ั๋วเงินจ่ายชนิดไม่มีดอกเบี้ย (Non Interest Bearing Notes)

(14)

By Phanthip Yangklan

3.1 ต ั๋วเงินจ่ายชนิดมีดอกเบี้ย (Interest Bearing Notes)

ตั๋วเงินชนิดนี้เกิดจากการออกตั๋วเงินเพื่อซื้อ

สินค ้า ณ วันที่ซื้อสินค ้าและออกตั๋วจะบันทึก

ด ้วยมูลค่าตามตั๋วเงิน และเมื่อถึงวันที่ตั๋วครบ กำาหนดต ้องจ่ายเงินตามเงินหน ้าตั๋วรวม

ดอกเบี้ย

ต ัวอย่าง ในวันที่ 1 ก.ย. 2548 บริษัทเอ ซื้อ สินค ้าราคา 50,000 บาท โดยออกเป็นตั๋ว

สัญญาใช ้เงิน มูลค่า 50,000 บาท อัตรา ดอกเบี้ย 12% อายุ 30 วัน (สมมติ 1 ปี มี

360 วัน) ให ้บันทึกรายการค ้าโดยบริษัทใช ้วิธี

การบันทึกบัญชีซื้อขายสินค ้าแบบต่อเนื่อง

(15)

By Phanthip Yangklan

2548

ก.ย. 1 เดบิต สินค้าคงเหลือ 50,000

เครดิต ต ั๋วเงินจ่าย 50,000

การบันทึก บัญชี

ต.ค. 1 เดบิต ต ั๋วเงินจ่าย 50 ,000

ดอกเบี้ย

จ่าย

(50,000*12%*30/360)

50 0

เครดิต เงินสด

50,500

(16)

By Phanthip Yangklan

3.2 ต ั๋วเงินจ่ายชนิดไม่มีดอกเบี้ย (Non Interest Bearing Notes)

ตั๋วเงินชนิดนี้เกิดจากการออกตั๋วเงินเพื่อขอกู ้ ยืมเงินจากธนาคาร โดยผู ้กู ้จะออกตั๋วเงิน

ชนิดไม่มีดอกเบี้ยเป็นหลักประกันและยอม ให ้ธนาคารหักส่วนลด ผลต่างระหว่างเงินสด ที่ได ้รับจากธนาคารและเงินหน ้าตั๋วคือ

ส่วนลดที่ธนาคารหักไว ้ บันทึกในบัญชี

ส่วนลดตั๋วเงินจ่าย

(17)

By Phanthip Yangklan

ต ัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 ธ.ค. 2548 บริษัทเอ ขอกู ้เงินจากธนาคารกรุงเก่า โดยออกเป็น

ตั๋วสัญญาใช ้เงินมูลค่า 100,000 บาท อายุ

90 วัน เป็นตั๋วชนิดไม่มีดอกเบี้ย โดย ธนาคารขอหักส่วนลดไว ้ 12%

2548

ธ.ค. 1 เดบิต เงินสด 97,000

ส่วนลดต ั๋วเงินจ่าย

(100,000*12%*90/360) 3,000

เครดิต ต ั๋วเงินจ่าย 100,000

การบันทึก บัญชี

(18)

By Phanthip Yangklan

รายการปร ับปรุง 2548

ธ.ค. 31 เดบิต ดอกเบี้ยจ่าย

(3,000*30/90) 1,000

เครดิต ส่วนลดต ั๋วเงินจ่าย 1,000งบดุล

31 ธ ันวาคม 2548

ต ั๋วเงินจ่าย 100,000

ห ัก ส่วนลดต ั๋วเงินจ่าย (3,000-1,000) 2,000 98,000

(19)

By Phanthip Yangklan

2549

มี.ค. 1 เดบิต ดอกเบี้ยจ่าย

(3,000*60/90) 2,000

เครดิต ส่วนลดต ั๋วเงินจ่าย 2,000

เดบิต ต ั๋วเงินจ่าย 100,000

เครดิต เงินสด 100,000

การบันทึกบัญชี ณ วันที่ตั๋วครบ กำาหนด

(20)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินหมุนเวียนที่กำาหนดแน่นอน (Having Contractual Amount)

4. 4. หนี้สินระยะยาวที่ครบกำาหนด หนี้สินระยะยาวที่ครบกำาหนด ชำาระภายในหนึ่งปี

ชำาระภายในหนึ่งปี ( ( Currently Currently Maturing Portion of Long- Maturing Portion of Long-

Term) Term)

เป็นหนี้สินที่มีกำาหนดระยะเวลาการชำาระ หนี้เกินกว่า 1ปี ซึ่งถือเป็นหนี้สินระยะ

ยาว แต่อาจมีเงื่อนไขในการชำาระหนี้ทุกๆ ปี ด ังน ั้นจึงต้องมีการโอนหนี้สินระยะยาว ที่จะต้องชำาระหนี้ ณ ว ันสิ้นปีให้กลายเป็น หนี้สินหมุนเวียน

(21)

By Phanthip Yangklan

ต ัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 ม.ค. 2548 บริษัทเอ ขอกู ้เงินจากธนาคารกรุงเก่า จำานวน

5,000,000 บาท มีระยะเวลา 5 ปี โดย

ตกลงผ่อนชำาระคืนเป็นงวด ๆ ละเท่ากัน ดัง นั้นการบันทึกบัญชีและการแสดงรายการใน งบการเงินเป็นดังนี้2548

ม.ค. 1 เดบิต เงินสด 5,000,000

เครดิต เงินกู้ระยะยาว 5,000,000

(22)

By Phanthip Yangklan

งบดุล

31 ธ ันวาคม 2548 หนี้สินหมุนเวียน

หนี้สินระยะยาวที่ครบกำาหนดชำาระ ภายในหนึ่งปี 1,000,000

หนี้สินระยะยาว

เงินกู้ระยะยาว 4,000,000

(23)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินหมุนเวียนที่กำาหนดแน่นอน (Having Contractual Amount)

5. 5. เงินปันผลค้างจ่าย เงินปันผลค้างจ่าย ( ( Dividends Payable) Dividends Payable)

เมื่อกิจการมีผลกำาไรจากการดำาเนินงานก็มัก จะมีการประกาศจ่ายเงินปันผลให ้ผู ้ถือหุ ้น ซึ่ง ณ วันที่บริษัทประกาศจ่ายเงินปันผล จะทำาให ้ กิจการมีภาระผูกพัน ดังนั้นกิจการจะต ้อง

บันทึกหนี้สินคือบัญชีเงินปันผลค ้างจ่ายและ ลดยอดส่วนของผู ้ถือหุ ้นในบัญชีเงินปันผล จ่ายหรือบัญชีกำาไรสะสม

(24)

By Phanthip Yangklan

ต ัวอย่าง ณ วันสิ้นงวดบัญชี ปี 2548 บริษัท เอ มีกำาไรสุทธิ 5,000,000 บาท ที่ประชุมมี

มติประกาศจ่ายเงินปันผลให ้กับผู ้ถือหุ ้นเป็นเงิน ทั้งสิ้น 300,000 บาท โดยบริษัทฯ จะจ่าย

เงินปันผลในวันที่ 31 มกราคม 25492548

ธ.ค. 1 เดบิต เงินปันผลจ่าย/กำาไรสะสม 300,000

เครดิต เงินปันผลค้างจ่าย 2549 300,000

ม.ค. 31 เดบิต เงินปันผลจ่ายค้างจ่าย 300,000

เครดิต เงินสด 300,000

การบันทึก บัญชี

(25)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินหมุนเวียนที่กำาหนดแน่นอน (Having Contractual Amount)

6. 6. เงินม ัดจำาและเงินประก ัน เงินม ัดจำาและเงินประก ัน

( ( Returnable Deposits and Returnable Deposits and Agency Obligation)

Agency Obligation)

เป็นเงินค่าสินค ้าหรือบริการบางส่วนที่กิจการ เรียกเก็บจากลูกค ้าก่อนที่ลูกค ้าจะได ้รับสินค ้า หรือบริการ ซึ่งเมื่อกิจการได ้รับเงินเป็นเงิน

มัดจำานั้น จะต ้องบันทึกไว ้เป็นหนี้สินที่บัญชี

เงินมัดจำารับ

(26)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินหมุนเวียนที่กำาหนดแน่นอน (Having Contractual Amount)

7. 7. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ( ( Accrued Accrued Expenses)

Expenses)

ค่าใช ้จ่ายค ้างจ่าย หมายถึง ค่าใช ้จ่ายที่เกิด ขึ้นแล ้วในระหว่างงวดบัญชี แต่ยังมิได ้จ่าย

เงิน และยังไม่มีการบันทึกบัญชี ณ วันสิ้นงวด กิจการจึงต ้องมีการบันทึกค่าใช ้จ่ายค ้างจ่าย ควบคู่กับการบันทึกค่าใช ้จ่าย

(27)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินหมุนเวียนที่กำาหนดแน่นอน (Having Contractual Amount)

8. 8. รายได้ร ับล่วงหน้า รายได้ร ับล่วงหน้า

( ( Unearned Revenue) Unearned Revenue)

เป็นรายได ้ที่กิจการได ้รับเงินจากลูกค ้าแล ้ว

แต่ยังไม่ได ้ให ้บริการแก่ลูกค ้า ดังนั้น ณ วัน สิ้นงวดหากกิจการพบว่าได ้ให ้บริการแก่ลูกค ้า แล ้ว กิจการจะต ้องทำาการปรับปรุงรายได ้รับ ล่วงหน ้าให ้กลายเป็นรายได ้ประจำางวด

(28)

By Phanthip Yangklan

ต ัวอย่าง วันที่ 1 ตุลาคม 2548 บริษัท เอ ได ้รับเงินค่าเช่าหน ้าร ้าน 12,000 บาท

สำาหรับระยะเวลาเช่า 1 ปี การบันทึกบัญชี

เป็นดังนี้2548

ต.ค. 1 เดบิต เงินสด 12,000

เครดิต รายได้ค่าเช่าร ับ ล่วงหน้า 12,000

รายการปร ับปรุง

ธ.ค. 31 เดบิต รายได้ค่าเช่าร ับล่วงหน้า 3,000

เครดิต รายได้ค่าเช่า

(12,000*3/12) 3,000

(29)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินที่เกิดขึ้นจากผลการดำาเนิน

งาน(Amount Depends on Operations)

1. 1. ภาษีเงินได้ห ัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้ห ัก ณ ที่จ่าย ( ( Withholding Tax) Withholding Tax)

เมื่อกิจการจ่ายเงินเดือน ค่าแรงงานหรือ ผลตอบแทนให้ก ับพน ักงาน ตาม

กฎหมายกำาหนดให้กิจการต้องทำาการ

ห ักภาษีและนำาส่งร ัฐบาลภายใน 7 ว ันน ับ ต ั้งแต่ว ันที่จ่ายเงิน ณ ว ันที่กิจการห ัก

ภาษีจากเงินเดือนพน ักงานไว้น ั้น ทำาให้

กิจการเกิดภาระผูกพ ันที่ต้องนำาเงินส่ง ร ัฐบาล

(30)

By Phanthip Yangklan

ต ัวอย่าง ณ วันที่ 31 มกราคม 2548 บริษัท เอ มีค่าใช ้จ่ายคือเงินเดือนจำานวน 100,000 บาท ซึ่งกิจการต ้องทำาการหัก ภาษี ณ ที่จ่ายไว ้ 5% แล ้วจึงจ่ายเงินสด

ส่วนที่เหลือให ้กับพนักงาน ดังนั้นการบันทึก บัญชี คือ2548

ม.ค. 31 เดบิต เงินเดือน 100,000

เครดิต ภาษีห ัก ณ ที่

จ่าย(100,000*5%) 5,000

เงินสด(100,000-5,000) 95,000

(31)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินที่เกิดขึ้นจากผลการดำาเนิน

งาน(Amount Depends on Operations)

2. 2. เงินประก ันส ังคม เงินประก ันส ังคม

ตามพระราชบ ัญญ ัติประก ันส ังคม

กำาหนดว่าบริษัทจะต้องทำาการห ักเงิน ประก ันส ังคมจากลูกจ้างจำานวน 5%

จากเงินเดือนและกิจการจะต้องออกเงิน ประก ันส ังคมสมทบให้ก ับลูกจ้างอีกใน

จำานวนที่เท่าก ัน จากน ั้นกิจการจะต้องนำา เงินด ังกล่าวส่งสำาน ักงานประก ันส ังคม

ภายใน 15 ว ันน ับต ั้งแต่จ่ายเงินเดือน

(32)

By Phanthip Yangklan

ต ัวอย่าง บริษัท เอมีบัญชีเงินเดือนประจำา

เดือนมกราคม 2548 จำานวน 100,000 บาท โดยหักภาษี ณ ที่จ่าย 5% และหักเงินประกัน สังคม 5%ของเงินเดือน และกิจการได ้ออกเงิน สมทบในอัตราเดียวกัน การบันทึกบัญชีเป็น

ดังนี้2548

ม.ค. 31 เดบิต เงินเดือน 100,000

เงินประก ัน ส ังคม(100,000*5%) 5,000

เครดิต ภาษีห ัก ณ ที่

จ่าย(100,000*5%) 5,000 เงินประก ัน

ส ังคมค้างจ่าย 10,000

เงินสด(100,000-5,000-5,000) 95,000

(33)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินที่เกิดขึ้นจากผลการดำาเนิน

งาน(Amount Depends on Operations)

3. 3. เงินโบน ัสพน ักงานค้างจ่าย เงินโบน ัสพน ักงานค้างจ่าย ( ( Bonus Obligations) Bonus Obligations)

โบนัสเป็นผลตอบแทนที่กิจการจะจ่ายให ้กับ พนักงาน เมื่อกิจการมีผลการดำาเนินงานดีหรือ เพื่อเป็นการจูงใจให ้พนักงานมีความตั้งใจในการ ทำางาน ซึ่งเงินโบนัสถือเป็นค่าใช ้จ่ายของกิจการ

การบ ันทึกบ ัญชี ณ ว ันที่ประกาศจ่ายเงิน โบน ัส

เดบิต เงินโบน ัสจ่าย xx

เครดิต เงินโบน ัสค้างจ่าย xx

(34)

By Phanthip Yangklan

การคำานวณเงินโบนัสมีหลายวิธีดังนี้

1. คำานวณจากกำาไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได ้ แต่ก่อนหักโบนัส

2. คำานวณจากกำาไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได ้ และโบนัส

3. คำานวณจากกำาไรสุทธิก่อนหักภาษีเงินได ้ แต่หลังหักโบนัส

4. คำานวณจากกำาไรสุทธิก่อนหักภาษีเงินได ้ และโบนัส

ต ัวอย่าง บริษัท เอ มีกำาไรสุทธิก่อนหักโบนัส และภาษีประจำาปี 2548 จำานวน 5,000,000 บาท บริษัทฯ จึงประกาศจ่ายโบนัส 5% ณ วัน สิ้นปี(ภาษีเงินได ้นิติบุคคล 30%)

(35)

By Phanthip Yangklan

1. คำานวณจากกำาไรสุทธิหลังหักภาษีเงิน ได ้แต่ก่อนหักโบนัส

กำาหนดให้ B = โบน ัส

T = ภาษีเงินได้

สมการ B = 5%*(5,000,000- T) (1)

T =

30%*(5,000,000-B) (2)

ด ังน ั้น B = 177,664.97

T = 1,446,700.51

(36)

By Phanthip Yangklan

การบ ันทึกบ ัญชี

เดบิต เงินโบน ัสจ่าย 177,664.97

เครดิต เงินโบน ัสค้างจ่าย 177,664.97

เดบิต ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1,446,700.51

เครดิต ภาษีเงินได้นิติบุคคล ค้างจ่าย 1,446,700.51

(37)

By Phanthip Yangklan

2. คำานวณจากกำาไรสุทธิหลังหักภาษีเงิน ได ้และโบนัส

สมการ B = 5%*(5,000,000- T-B) (1)

T =

30%*(5,000,000-B) (2)

ด ังน ั้น B = 169,082.13

T = 1,449,275.36

(38)

By Phanthip Yangklan

3. คำานวณจากกำาไรสุทธิก่อนหักภาษีเงิน ได ้แต่หลังหักโบนัส

สมการ B = 5%*(5,000,000- B) (1)

T =

30%*(5,000,000-B) (2)

ด ังน ั้น B = 238,095.24

T = 1,428,571.43

(39)

By Phanthip Yangklan

4. คำานวณจากกำาไรสุทธิก่อนหักภาษีเงิน ได ้และโบนัส

สมการ B = 5% * 5,000,000 (1)

T =

30%*(5,000,000-B) (2)

ด ังน ั้น B = 250,000

T = 1,425,000

(40)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินโดยประมาณ(Amount Must Be Estimated)

1. 1. หนี้สินค่าประก ันคุณภาพ หนี้สินค่าประก ันคุณภาพ สินค้า

สินค้า ( ( Product Product Warranty Estimated Warranty Estimated

Liabilities) Liabilities)

การรับประกันคุณภาพสินค ้าถือเป็นบริการหลัง การขายและเป็นภาระผูกพันของกิจการที่มีต่อ ลูกค ้า ในกรณีที่สินค ้าที่ขายไปนั้นเกิดความ ชำารุดเสียหาย โดยส่วนใหญ่ผู ้ขายมักจะให ้ ลูกค ้านำาสินค ้ามาซ่อมที่กิจการ ดังนั้นกิจการ จึงต ้องทำาการประมาณการค่าใช ้จ่ายหาก

ลูกค ้านำาสินค ้ามาซ่อม

(41)

By Phanthip Yangklan

วิธีการบ ันทึกบ ัญชีของการร ับประก ัน

คุณภาพสินค้า แบ่งออกเป็น 2 กรณี

คือ

1. วิธีการประก ันคุณภาพสินค้าโดย บ ันทึกเป็นค่าใช้จ่าย (Expenxe

warranty accrual method)

2. วิธีการประก ันคุณภาพสินค้าโดย บ ันทึกเป็นรายได้รอการต ัดบ ัญชี

(Sales warranty accrual method)

(42)

By Phanthip Yangklan

1. วิธีการประก ันคุณภาพสินค้าโดย บ ันทึกเป็นค่าใช้จ่าย (Expenxe warranty accrual method)

วิธีนี้ ณ วันที่ขายสินค ้า เมื่อบันทึกการขาย สินค ้าแล ้วจะต ้องทำาการบันทึกค่าใช ้จ่ายในการ รับประกันคุณภาพสินค ้าพร ้อมกับหนี้สิน โดย ทำาการประมาณการจำานวนเงินที่คาดว่าจะเกิด ขึ้นจากการรับประกันคุณภาพสินค ้า

และเมื่อลูกค ้านำาสินค ้ามาซ่อมกิจการจึงจะ ทำาการบันทึกลดยอดหนี้สินลงตามค่าใช ้จ่ายที่

เกิดขึ้นจริง

(43)

By Phanthip Yangklan

ต ัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2548 บริษัท เอ ขายเครื่องปรับอากาศจำานวน 5 เครื่อง ราคา เครื่องละ 20,000 บาท โดยบริษัทฯ รับประกัน คุณภาพสินค ้าเป็นเวลา 1 ปีนับตั้งแต่วันที่ขาย จากประสบการณ์ที่ผ่านมา บริษัทฯ คาดว่าจะมี

ต ้นทุนในการรับประกันคุณภาพสินค ้า 5%ของ ราคาขายสินค ้า การบันทึกบัญชี ณ วันที่ขาย สินค ้าเป็นดังนี้

2548

พ.ค. 1 เดบิต เงินสด 100,000

เครดิต ขาย

สินค้า( 20,000*5) 100,000

เดบิต ค่าใช้จ่ายในการร ับประก ัน คุณภาพสินค้า 5,000

เครดิต หนี้สินโดย

ประมาณจากการร ับประก ัน 5,000

(44)

By Phanthip Yangklan

ในวันที่ 1 ตุลาคม 2548 ลูกค ้าได ้นำาสินค ้ามา ซ่อมที่บริษัท ทำาให ้เสียค่าใช ้จ่ายในการ

ซ่อมแซมเป็นเงินสด 1,000 บาท การบันทึก บัญชีเป็นดังนี้2548

ต.ค. 1 เดบิต หนี้สินโดยประมาณจาก การร ับประก ัน 1,000

เครดิต เงินสด งบดุล 1,000

31 ธ ันวาคม 2548 หนี้สินหมุนเวียน

หนี้สินโดยประมาณจากการร ับประก ัน 4,000

(45)

By Phanthip Yangklan

2. วิธีการประก ันคุณภาพสินค้าโดย บ ันทึกเป็น รายได้รอการต ัดบ ัญชี

(Sales warranty accrual method)

วิธีนี้ถือว่าการรับประกันคุณภาพสินค ้าเป็น ส่วนหนึ่งของการขายสินค ้า นั่นคือ ค่าประกัน คุณภาพสินค ้าได ้รวมไว ้ในราคาขายสินค ้า

เรียบร ้อยแล ้ว ดังนั้นค่าประกันที่รวมไว ้ในสินค ้า จึงต ้องบันทึกเป็นหนี้สิน

(46)

By Phanthip Yangklan

ต ัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2548 บริษัท เอ ขายเครื่องปรับอากาศจำานวน 5 เครื่อง ราคา เครื่องละ 20,000 บาท ซึ่งในราคานี้ได ้รวมค่า ประกันสินค ้าไว ้เครื่องละ 1,000 บาท การ

บันทึกบัญชี ณ วันที่ขายสินค ้าเป็นดังนี้

2548

พ.ค. 1 เดบิต เงินสด 100,000

เครดิต ขาย

สินค้า( 19,000*5) 95,000

รายได้ค่า ประก ันสินค้าร ับล่วงหน้า 5,000

(47)

By Phanthip Yangklan

ในวันที่ 1 ตุลาคม 2548 ลูกค ้าได ้นำาสินค ้ามา ซ่อมที่บริษัท ทำาให ้เสียค่าใช ้จ่ายในการ

ซ่อมแซมเป็นเงินสด 1,000 บาท การบันทึก บัญชีเป็นดังนี้

2548

ต.ค. 1 เดบิต ค่าใช้จ่ายในการร ับประก ัน 1,000

เครดิต เงินสด 1,000

เดบิต รายได้ค่าประก ันสินค้าร ับ ล่วงหน้า 1,000

เครดิต รายได้ค่าประก ัน คุณภาพสินค้า 1,000

(48)

By Phanthip Yangklan

งบดุล

31 ธ ันวาคม 2548 หนี้สินหมุนเวียน

รายได้ค่าประก ันสินค้าร ับล่วงหน้า 4,000

(49)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินโดยประมาณ(Amount Must Be Estimated)

2. 2. หนี้สินสมนาคุณ หนี้สินสมนาคุณ

( ( Premiums Premiums

Offered to Customers) Offered to Customers)

เป็นการจูงใจให ้ลูกค ้าซื้อสินค ้าและสามารถนำา ชิ้นส่วนหรือคูปองที่กิจการแจกไปมาแลกเป็น สินค ้าได ้ในภายหลัง หากวันสิ้นงวดระยะเวลา การแลกสินค ้ายังไม่หมดสิ้น กิจการจะต ้อง

ทำาการประมาณค่าใช ้จ่ายขึ้นพร ้อมกับการตั้ง หนี้สิน

(50)

By Phanthip Yangklan

ต ัวอย่าง บริษัท เอ จำาหน่ายอาหารกระป๋อง ราคากระป๋องละ 50 บาท บริษัทฯ จัดให ้มีการ ส่งเสริมการขายโดยลูกค ้าสามารถนำาฉลากที่ติด ข ้างกระป๋อง จำานวน 20 ใบ มาแลกตะกร ้าใส่ผล ไม ้ได ้ 1 ใบ(การส่งเสริมการขายหมดเขตวันที่ 1 เมษายน 2549 ในระหว่างปี 2548 บริษัทฯ

ขายอาหารกระป๋องได ้ 200,000 กระป๋อง 2548

ม.ค.-ธ.ค. เดบิต เงินสด 10,000,000

เครดิต ขาย

สินค้า(200,000*50) 10,000,000

การบันทึก

บัญชี

(51)

By Phanthip Yangklan

ในปี 2548 บริษัทฯ ได ้ซื้อตะกร ้าใส่ผลไม ้

จำานวน 7,000 ใบ เพื่อใช ้เป็นสินค ้าสมนาคุณ และลูกค ้านำาฉลาก 40,000 ใบมาแลกตะกร ้า

เดบิต ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริม การขาย 10,000

เครดิต สินค้า

สมนาคุณ(2,000ใบ*5) 10,000

2548

ม.ค.-ธ.ค. เดบิต สินค้าสมนาคุณ 35,000

เครดิต

เงินสด(7,000*5) 35,000

การบันทึก

บัญชี

(52)

By Phanthip Yangklan

ณ วันสิ้นงวด บริษัทฯ ได ้ประมาณการว่าลูกค ้า จะนำาฉลากมาแลกสินค ้าประมาณ 70%ของ จำานวนสินค ้าที่ขายได ้ทั้งหมด

2548

ธ.ค.31 เดบิต ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริม การขาย 25,000*

เครดิต หนี้สิน

สมนาคุณลูกค้าโดยประมาณ 25,000

การบันทึก บัญชี

(53)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น( )

หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น หมายถึง รายการข้อ ใดข้อหนึ่งต่อไปนี้

1. ภาระผูกพ ันที่อาจมีอยู่อ ันเนื่องมาจาก เหตุการณ์ในอดีต แต่การจะทราบว่าภาระ ผูกพ ันด ังกล่าวมีอยู่หรือไม่น ั้น ต้องได้ร ับ การยืนย ันจากเหตุการณ์อย่างน้อยหนึ่ง เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นใน อนาคต

(54)

By Phanthip Yangklan

หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น( )

2. ภาระผูกพ ันในปัจจุบ ัน ซึ่งเกิดขึ้นจาก เหตุการณ์ในอดีต แต่ไม่สามารถร ับรู้เป็น หนี้สินได้ เนื่องจากเป็นไปตามข้อใด ข้อ หนึ่งต่อไปนี้

2.1 ความน่าจะเป็นที่กิจการจะสูญ เสียทร ัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ เพื่อจ่ายชำาระภาระผูกพ ันอยู่ในระด ับไม่

ถึงความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่

2.2 กิจการไม่สามารถว ัดมูลค่าภาระ ผูกพ ันได้อย่างน่าเชื่อถือเพียงพอ

Referensi

Dokumen terkait

Using discursive analysis as the research methodology with the Foucauldian paradigm, this paper aimed at identifying and describing the strategies used in the discursive construction