• Tidak ada hasil yang ditemukan

THE DEVELOPMENT OF READING LITERACY TEST FOR PRATHOMSUKSA SIX STUDENTS IN SAKAEO PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "THE DEVELOPMENT OF READING LITERACY TEST FOR PRATHOMSUKSA SIX STUDENTS IN SAKAEO PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2"

Copied!
225
0
0

Teks penuh

สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2. THE DEVELOPMENT OF READING LITERACY TEST FOR PRATHOMSUKSA SIX STUDENTS IN SAKAEO PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2. โครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติหรือ PISA (Programme for International Student Assessment) ริเริ่มขึ้นโดย OECD ซึ่งหลักส าคัญของ PISA คือ การประเมินความฉลาดรู้. 2018 พบว่า แนวโน้มของผลการประเมินด้านการอ่านลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยผลการทดสอบ PISA 2018 มีนักเรียนในประเทศไทยเข้าร่วมการประเมินจ านวน 8,366 คน จาก 209 โรงเรียน ในทุกสังกัดการศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยด้านการอ่าน เท่ากับ 393 คะแนน ซึ่งต ่ากว่าคะแนนเฉลี่ยของ OECD (487 คะแนน) และอยู่ในระดับที่ต ่ากว่าระดับความสามารถพื้นฐาน และเมื่อเปรียบเทียบ กับผลการประเมิน PISA 2015 พบว่า ผลการประเมินด้านการอ่านมีคะแนนลดลงจากเดิม อีกทั้ง ผลการประเมินจ าแนกตามสังกัดการศึกษาส าหรับประเทศไทย ในปี 2015 พบว่า กลุ่มโรงเรียน เน้นวิทยาศาสตร์และกลุ่มโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัยต่างๆ มีคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ย OECD ส่วนโรงเรียนในสังกัดการศึกษาอื่นๆ ยังคงมีคะแนนเฉลี่ยต ่ากว่าค่าเฉลี่ย OECD และเมื่อพิจารณา แนวโน้มความฉลาดรู้ด้านการอ่านของนักเรียนอายุ 15 ปีหรือในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของ ภาคตะวันออก ซึ่งส่วนมากเป็นโรงเรียนที่อยู่ในสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน มีคะแนนต ่ากว่าค่าเฉลี่ยของ OECD และมีแนวโน้มลดลงจากปี 2012 เป็นอย่างมาก (ศูนย์ด าเนินงาน PISA แห่งชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2561, น. 11-35) จากข้อมูลที่กล่าวไปข้างต้นนั้น สะท้อนให้เห็นถึงแนวโน้มของผลการประเมินด้านการอ่าน ที่มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจส่งผลต่อผลการประเมินด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์.

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความฉลาดรู้ด้านการอ่าน (Reading Literacy)

ค านิยามของความฉลาดรู้ด้านการอ่าน (Reading Literacy)

กระบวนการอ่าน

การสร้างแบบวัดความฉลาดรู้ด้านการอ่านตามแนวคิดของ PISA 2018

การสร้างแบบวัดความฉลาดรู้ด้านการอ่านตามแนวคิดของโครงการการทดสอบระดับ

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความสามารถและพัฒนาการอ่านของนักเรียนระดับ

พัฒนาการทางภาษาและการอ่านของนักเรียนในระดับประถมศึกษา

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดสาระการอ่าน สาระวรรณคดีและวรรณกรรม ตาม

ขอบเขตการประเมิน และตัวชี้วัดการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนตามแนวปฏิบัติการ

การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ

ความเที่ยงตรง (Validity)

ความยากง่าย

อ านาจจ าแนก

ความเชื่อมั่น (Reliability)

ดัชนีความสอดคล้องของผู้ประเมิน (Rater agreement index : RAI)

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการก าหนดคะแนนจุดตัด

วิธีการก าหนดมาตรฐานแบบดั้งเดิม

วิธีการก าหนดมาตรฐานแบบใหม่

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศ

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องต่างประเทศ

ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) โดยผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์กับข้อสอบ จำนวน 5 คน แบ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา 3 คน และผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดผล 2 คน แล้วหาดัชนีความสอดคล้องของวัตถุประสงค์ (IOC) ) โดยการทดสอบที่ถูกต้องต้องมีค่า IOC มากกว่า 0.50 ถ้าค่า IOC ไม่ผ่านเกณฑ์ ให้ทิ้งไป (พลวน สายยศ, 2543, น. 249)

ผลการตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity)

ผลการวิเคราะห์ดัชนีความสอดคล้องของผู้ประเมิน (Rater agreement index)

ผลการวิเคราะห์ความยากง่ายและอ านาจจ าแนก

ผลการก าหนดคะแนนจุดตัดของแบบวัดความฉลาดรู้ด้านการอ่านส าหรับนักเรียนชั้น

ผลการวิเคราะห์ความเชื่อมั่น

เมื่อได้ผลการก าหนดคะแนนจุดตัดครบทุกกระบวนการ ผู้วิจัยน าผลการก าหนด คะแนนจุดตัดส าหรับกระบวนการรู้ต าแหน่งของข้อสนเทศในเนื้อเรื่อง (Locate information) กระบวนการมีความเข้าใจในเนื้อเรื่อง (Understand) และกระบวนการประเมินและสะท้อนความ คิดเห็นต่อเนื้อเรื่อง (Evaluate and reflect) ในแต่ละระดับความสามารถมารวมกันเพื่อก าหนด เป็นคะแนนจุดตัดของแบบวัดความฉลาดรู้ด้านการอ่าน ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สอดคล้องกับงานวิจัยของ Hong Qian (2014) ซึ่งน าคะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบการฟัง การ อ่าน และการเขียน ที่ได้จากการก าหนดคะแนนจุดตัดด้วยวิธีการ Modified Angoff’s Method และ Extended Angoff Method สร้างเป็นคะแนนรวมในการตัดสินผ่านเกณฑ์ของข้อสอบทั้ง. 3 ตอน ของชุดแบบทดสอบ The Michigan English Language Assessment Battery (MELAB) โดยผลการก าหนดคะแนนจุดตัดของแบบวัดความฉลาดรู้ด้านการอ่านในครั้งนี้ พบว่า ระดับพอใช้. ด้านการอ่าน PISA 2015 ของนักเรียนในภาคตะวันออกที่อยู่ในสังกัดส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคะแนนต ่ากว่าค่าเฉลี่ยของ OECD และมีแนวโน้มลดลงจากปี 2012 เป็น อย่างมาก ระบบการศึกษาไทยจึงต้องยกระดับความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนอย่าง เร่งด่วน (ศูนย์ด าเนินงาน PISA แห่งชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2561, น. 11-35) ซึ่งการจะยกระดับความฉลาดรู้ด้านการอ่านให้กับนักเรียน ครูผู้สอนจ าเป็นต้อง ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับกรอบการประเมินของ PISA ดังเช่น งานวิจัย การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวการสอนประสบการณ์การอ่านแบบเสริมต่อการ เรียนรู้และการเรียนรู้แบบก ากับตนเองเพื่อส่งเสริมการรู้เรื่องการอ่านของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนต้นของสันติวัฒน์ จันทร์ใด (2559) ที่มุ่งพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า ประสิทธิผลของนักเรียนกลุ่มทดลองมีความฉลาดรู้.

ให้คำแนะนำค่าเกณฑ์สำหรับการทดสอบสามชุดแรกของชุดการประเมินผลลัพธ์ HEIhten: การศึกษาการตั้งค่ามาตรฐาน สืบค้นจาก https://bit.ly/3inQRNW จุฑาทิพย์ เหลืองสุวรรณ. สืบค้นจาก https://bit.ly/ 3N3RHin National PISA Implementation Center สถาบันเพื่อความก้าวหน้าของการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

การประเมินการอ่าน PISA 2018 เป็นอย่างไร? การรู้หนังสือเพื่อการปฏิบัติ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับเชาวน์ปัญญาด้านการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ สาระการอ่าน สาระวรรณคดีและวรรณกรรม ภายในกรอบตัวชี้วัดการประเมินและการอ่าน การคิดวิเคราะห์และการเขียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และบริบทการอ่านเพื่อวัดกระบวนการอ่าน กล่าวคือ การรู้ที่อยู่ของข้อมูลในเนื้อหา มีความเข้าใจเรื่องราวและประเมินสะท้อนเรื่องราวตามแนวทางการประเมิน PISA 2018

ที่มา: ดัดแปลงจากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การปิดโรงเรียนเป็นกรณีพิเศษ http://www.singburi.go.th/covid19/archives/5276 1. Modified Angoff Method และ Extended Angoff Method รอบที่ 2 ตั้งกลุ่มหารือร่วมกัน การตัดสินใจ.

Referensi

Dokumen terkait

The content analysis results on reading comprehension teaching materials for third-grade elementary school students with a perspective of a balanced literacy approach show that