• Tidak ada hasil yang ditemukan

THE EFFECT OF TEACHING ART TECHNIQUE ON FINGER PAINTING ACTIVITIES TO INCREASING OF FINE MOTOR SKILL IN EARLY CHILDHOOD

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "THE EFFECT OF TEACHING ART TECHNIQUE ON FINGER PAINTING ACTIVITIES TO INCREASING OF FINE MOTOR SKILL IN EARLY CHILDHOOD"

Copied!
106
0
0

Teks penuh

(1)

ผลของการสอนเทคนิคการใช้ศิลปะในการจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของวัยเด็กตอนต้น

THE EFFECT OF TEACHING ART TECHNIQUE ON FINGER PAINTING ACTIVITIES TO INCREASING

OF FINE MOTOR SKILL IN EARLY CHILDHOOD

ณัฎฐินันท์ ขันติพงศ์พันธุ์

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2565

(2)

ผลของการสอนเทคนิคการใช้ศิลปะในการจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของวัยเด็กตอนต้น

ณัฎฐินันท์ ขันติพงศ์พันธุ์

ปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีการศึกษา 2565

ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

(3)

THE EFFECT OF TEACHING ART TECHNIQUE ON FINGER PAINTING ACTIVITIES TO INCREASING

OF FINE MOTOR SKILL IN EARLY CHILDHOOD

NATTHINUN KHANTIPONGPUNTHU

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of MASTER OF ARTS

(Developmental Psychology)

Faculty of Humanities, Srinakharinwirot University 2022

Copyright of Srinakharinwirot University

(4)

ปริญญานิพนธ์

เรื่อง

ผลของการสอนเทคนิคการใช้ศิลปะในการจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของวัยเด็กตอนต้น

ของ

ณัฎฐินันท์ ขันติพงศ์พันธุ์

ได้รับอนุมัติจากบัณฑิตวิทยาลัยให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ

ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

(รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ฉัตรชัย เอกปัญญาสกุล) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คณะกรรมการสอบปากเปล่าปริญญานิพนธ์

... ที่ปรึกษาหลัก (รองศาสตราจารย์ ดร.ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ)

... ประธาน (ศาสตราจารย์ ดร.ดุจเดือน พันธุมนาวิน)

... กรรมการ (รองศาสตราจารย์ ดร.ชัญญา ลี้ศัตรูพ่าย)

(5)

บทคัดย่อภาษาไทย

ชื่อเรื่อง ผลของการสอนเทคนิคการใช้ศิลปะในการจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วย นิ้วมือ

เพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของวัยเด็กตอนต้น ผู้วิจัย ณัฎฐินันท์ ขันติพงศ์พันธุ์

ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

ปีการศึกษา 2565

อาจารย์ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร. ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ของวัยเด็กตอนต้นที่ได้รับและไม่ได้รับกิจกรรมการใช้ศิลปะในการจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้ว มือ ทั้งก่อนเริ่มต้นและหลังสิ้นสุดการจัดกิจกรรม 2) เพื่อพัฒนากิจกรรมการสอนเทคนิคการใช้

ศิลปะส าหรับผู้ปกครองในการจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ ในการส่งเสริมความสามารถใน การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในวัยเด็กตอนต้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นพ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือผู้

เลี้ยงดู ที่มีลูกที่อยู่ในช่วงวัยเด็กตอนต้น อายุระหว่าง 4-5 ปี ที่ก าลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาล 2 ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งที่ยินดีให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมการทดลอง จ านวน 58 คน จัดตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลอง 28 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัยนี้คือแบบวัดความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก และแผนการจัดกิจกรรมการละเลงสี

ภาพด้วยนิ้วมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) ส าหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การทดสอบ t- test โดยใช้สถิติ Independent-Sample t-test และ Pair-Sample t-test ผลการวิจัยพบว่า (1) เด็กที่ได้รับกิจกรรมการใช้ศิลปะในการจัด กิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ มีความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก สูงกว่าเด็กที่ไม่ได้เข้า ร่วมกิจกรรมการใช้ศิลปะในการจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมืออย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่

ระดับ .05 (2) และหลังจากการทดลองเด็กที่ได้รับกิจกรรมการใช้ศิลปะในการจัดกิจกรรมละเลงสี

ภาพด้วยนิ้วมือ มีความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กหลังการทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่าง มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01

ค าส าคัญ : การส่งเสริมความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก, การละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ, วัย เด็กตอนต้น, เทคนิคการใช้ศิลปะส าหรับผู้ปกครอง

(6)

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

Title THE EFFECT OF TEACHING ART TECHNIQUE

ON FINGER PAINTING ACTIVITIES TO INCREASING OF FINE MOTOR SKILL IN EARLY CHILDHOOD

Author NATTHINUN KHANTIPONGPUNTHU

Degree MASTER OF ARTS

Academic Year 2022

Thesis Advisor Associate Professor Dr. Shuttawwee Sitsira-at

The purposes of this experimental research are as follows: (1) to study and compare the fine motor ability skills of early childhood subjects who participated and did not participate, before and after participating in finger painting activity; and (2) teaching art techniques to parents on finger painting activities to increase fine motor skills in early childhood. The subjects consisted of parents, guardians, or caregivers who have children in early childhood, aged between 4-5 years old, in the second year of kindergarten in the first semester of the 2022 academic year, willing to participate in the experiment. The sample was arranged into two groups, with 28 in the experimental group and 30 in the control group. The instrument used in this research was fine motor ability in the Early Childhood Test and Finger-Painting activity plan. This research was quasi-experimental research. The data included statistical analysis with an independent sample t-test and pair sample t-test. The results revealed the following: (1) children who participated in finger painting activity had fine motor skills higher than the children who did not participate in finger painting activities with a statistical significance of .05; and (2) after participating in the finger-painting activity, and children had fine motor skills, which were higher than before with a statistical significance of .01.

Keyword : Increased fine motor skills, Finger painting activities, Early childhood, Teaching art techniques to parents

(7)

กิตติกรรมประ กาศ

กิตติกรรมประกาศ

ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้ ส าเร็จได้ด้วยความกรุณาของ รศ.ดร. ฉัฐวีณ์ สิทธิ์ศิรอรรถ อาจารย์ที่

ปรึกษา ที่ดูแลให้ค าปรึกษาเสนอแนะแนวทางด้วย ความเอาใจใส่อย่างดียิ่งจนปริญญานิพนธ์ฉบับนี้

เสร็จสิ้นสมบูรณ์ ผู้ศึกษาค้นคว้าตระหนักถึงความ ตั้งใจ จริงใจ และความทุ่มเทของอาจารย์ และขอ กราบขอบพระคุณอย่างสูงมา ณ ที่นี้

ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ในสาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ และอาจารย์ภายนอก ซึ่ง กรุณามาเป็นคณะกรรมการในการสอบปริญญานิพนธ์ ให้ค าแนะน า แนวคิด ติดตามความก้าวหน้า ของปริญญานิพนธ์ ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ แก่ผู้วิจัยด้วยความเมตตา ผู้วิจัยขอขอบพระคุณ เป็นอย่างสูง

ขอขอบคุณกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นพ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดู ที่มีลูกที่อยู่

ในช่วงวัยเด็กตอนต้น อายุระหว่าง 4-5 ปี ที่ก าลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาล 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนอัสสัมชัญล าปาง ต าบลสบตุ๋ย อ าเภอเมือง จังหวัดล าปาง จ านวน 58 คน จัด ตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลอง 28 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน ที่ได้เสียสละเวลาอันมีค่าในการเข้าร่วมการ ทดลอง ท าให้ผู้วิจัยได้ข้อมูลที่มีคุณค่ายิ่ง

คุณค่าของปริญญานิพนธ์ฉบับนี้ ขอมอบแด่ครอบครัว ครู อาจารย์ที่เป็นผู้ประสาทวิชา ความรู้ และผู้มีพระคุณทุกท่าน ตลอดจนผู้ให้การดูแลช่วยเหลือและสนับสนุนด้วยความเมตตาเสมอ มา จนผู้วิจัยสามารถบรรลุผลสมบูรณ์

ณัฎฐินันท์ ขันติพงศ์พันธุ์

(8)

สารบัญ

หน้า บทคัดย่อภาษาไทย ... ง บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ... จ กิตติกรรมประกาศ ... ฉ สารบัญ ... ช สารบัญตาราง ... ฎ สารบัญรูปภาพ ... ฏ

บทที่ 1 บทน า ... 1

ความส าคัญของปัญหาการวิจัย ... 1

วัตถุประสงค์การวิจัย ... 4

ความส าคัญของการวิจัย ... 4

ขอบเขตการวิจัย ... 5

นิยามศัพท์ปฏิบัติการ ... 5

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ... 7

เอกสารที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการวัยเด็กตอนต้น ... 9

ภารกิจพัฒนาการของบุคคลวัยผู้ใหญ่กับการดูแลเด็ก ... 9

ทฤษฎีการเรียนรู้ในวัยผู้ใหญ่ ... 10

แนวทางการสอนการเรียนรู้ในวัยผู้ใหญ่ ... 11

เทคนิคการสอนการเรียนรู้ในวัยผู้ใหญ่ ... 12

การท าความเข้าใจในโลกทัศน์และพัฒนาการของเด็ก ... 13

พัฒนาการวัยเด็กตอนต้น ... 14

พัฒนาการด้านการท างานประสานสัมพันธ์ของอวัยวะที่ใช้เคลื่อนไหว ... 15

(9)

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการวัยเด็กตอนต้น ... 16

ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมันต์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ... 16

ทฤษฎีจิตสังคมของอิริคสัน (Erik H. Erikson’s Psychosocial Development Theory) ... 16

ทฤษฎีพัฒนาการทางด้านความคิดและสติปัญญาของเพียเจท์ (Piaget’s Cognitive Development Theory) ... 17

แนวทางการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการวัยเด็กตอนต้น ... 17

เอกสารที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ... 18

ความหมายของความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ... 18

ความส าคัญของความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ... 19

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก... 20

พัฒนาการความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ... 21

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ... 24

การประเมินผลพัฒนาการด้านการใช้ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ... 25

การวัดความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กวัยเด็กตอนต้น ... 26

เอกสารที่เกี่ยวข้องกับศิลปะการละเลงสีด้วยนิ้วมือ ... 27

ความหมายของกิจกรรมทางศิลปะ ... 27

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางศิลปะ ... 28

ทฤษฎีพัฒนาการทางศิลปะของเด็กตามแนวคิดของวิคเตอร์ โลเวนเฟนด์ (Victor Lowenfeld) ... 29

ทฤษฎีพัฒนาการการแสดงออกทางศิลปะของเด็กเล็ก ตามแนวคิดของโรดา เคลล็อก (Rhoda Kellogg) ... 29

พัฒนาการการขีดเขียนที่เป็นสากลของ Papalia & Olds ... 30

ความหมายและความส าคัญของการละเลงสีด้วยนิ้วมือ ... 31

(10)

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการละเลงสีด้วยนิ้วมือ ... 32

ขั้นพัฒนาการในการละเลงสีด้วยนิ้วมือ ... 32

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการละเลงสีด้วยนิ้วมือ ... 33

การส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กด้วยศิลปะการละเลงสีด้วยนิ้วมือ ... 34

การสอนเทคนิคการใช้ศิลปะส าหรับผู้ปกครอง ... 34

รูปแบบหรือวิธีการให้ความรู้หรือสอนเทคนิคต่างๆ ให้แก่พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดู .. 34

การจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือเพื่อส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กในวัยเด็ก ตอนต้น ... 35

กรอบแนวคิดงานวิจัย ... 37

สมมติฐานงานวิจัย... 37

บทที่ 3 วิธีด าเนินงานวิจัย ... 38

ประชากรและกลุ่มตัวอย่างงานวิจัย ... 38

แบบแผนการทดลอง ... 38

ขั้นตอนการด าเนินงานวิจัย ... 39

การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ... 48

การหาคุณภาพของเครื่องมือวิจัย ... 48

การเก็บรวบรวมข้อมูล ... 50

สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานการวิจัย ... 50

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ... 51

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ... 51

การวิเคราะห์ข้อมูล ... 51

ตอนที่1 ลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ... 51

ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล ... 52

(11)

บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ ... 55

ความมุ่งหมายในการวิจัย ... 55

ความส าคัญของการวิจัย ... 55

ขอบเขตการวิจัย ... 55

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ... 56

การด าเนินการทดลอง ... 56

วิเคราะห์ข้อมูล ... 57

สรุปผลการวิจัย ... 57

อภิปรายผลการวิจัย ... 57

ข้อสังเกตที่ได้จากการวิจัย ... 60

ข้อจ ากัดที่พบในงานวิจัย ... 61

ข้อเสนอแนะในการน าไปใช้ ... 61

ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไป... 62

บรรณานุกรม ... 63

ภาคผนวก ... 69

ภาคผนวก ก ... 70

ภาคผนวก ข ... 88

ประวัติผู้เขียน ... 93

(12)

สารบัญตาราง

หน้า ตาราง 1 ตารางการจัดกิจกรรมที่ท าการทดลอง ... 41 ตาราง 2 กิจกรรมการละเลงสีด้วยนิ้วมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก .. 43 ตาราง 3 ข้อมูลเบื้องต้นของกลุ่มตัวอย่างในงานวิจัย ... 51 ตาราง 4 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในวัยเด็กตอนต้นที่

ได้เข้าร่วมกิจกรรมและไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมการใช้ศิลปะในการจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ ก่อนเริ่มต้นกิจกรรม ... 52 ตาราง 5 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของวัยเด็กตอนต้นที่

ได้รับกิจกรรม (กลุ่มทดลอง) และไม่ได้รับกิจกรรม (กลุ่มควบคุม) การใช้ศิลปะในการจัดกิจกรรม ละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือหลังจากสิ้นสุดกิจกรรม ... 52 ตาราง 6 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในวัยเด็กตอนต้น ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมการใช้ศิลปะในการจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือในกลุ่มทดลอง ... 53 ตาราง 7 ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในวัยเด็กตอนต้น ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมการใช้ศิลปะในการจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือในกลุ่มควบคุม ... 53

(13)

สารบัญรูปภาพ

หน้า ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย ... 37 ภาพประกอบ 2 แบบแผนการทดลองแบบกึ่งทดลอง ... 39 ภาพประกอบ 3 ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม ... 40 ภาพประกอบ 4 กราฟเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความสามารถกล้ามเนื้อมัดเล็กที่ได้รับและ ไม่ได้รับการส่งเสริมความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ... 54 ภาพประกอบ 5 กราฟแสดงค่าเฉลี่ยคะแนนของแบบทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็กที่ได้จากการประเมิน หลังเสร็จสิ้นกิจกรรรม ... 54

(14)

บทที่ 1 บทน า

ความส าคัญของปัญหาการวิจัย

วัยเด็กตอนต้นหรือเด็กที่มีอายุระหว่าง 3 ปีไปจนถึง 6 ปี ช่วงเวลาแห่งการเรียนรู้ที่ส าคัญ ในการพัฒนาทางร่างกาย และสมองที่ก าลังเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ ซึ่งกล่าวได้ว่าเป็นระยะเวลาที่

ดีในการศึกษาสิ่งรอบๆ ตัว ฉะนั้นจึงควรเปิดกว้างในการฝึกฝนทักษะให้กับเด็ก จากการใช้

ประสาทสัมผัสทั้งห้า รวมทั้งการเคลื่อนไหวร่างกายจากการเล่น การได้ลงมือกระท า การส ารวจ การทดลอง หรือการค้นพบสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง การได้คิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ จะท าให้เด็ก สามารถอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมั่นใจ ด้วยเหตุนี้จึงเหมาะที่จะได้รับการสนับสนุน ดูแลด้วย ความรัก ความเข้าใจ และความเอาใจใส่เป็นพิเศษ สร้างเสริมให้เด็กเกิดการพัฒนาได้ครบทุกด้าน ในการพัฒนาของเด็กครอบครัวจะมีอิทธิพลอย่างมาก เพราะการอบรมบ่มนิสัยของครอบครัวจะ เป็นตัวก าหนดในการวางพื้นฐาน บุคลิกภาพ และอุปนิสัยให้กับเด็กไปตลอดชีวิต ดังนั้นรูปแบบ ของการอบรมบ่มนิสัยที่ดีย่อมเป็นผลดีต่อพฤติกรรมของเด็กเมื่อเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ปอรวีร์

พลอยบูรณินทร์ (2555) ได้เสนอมุมมองถึงวิธีการเตรียมความพร้อมทางร่างกายของเด็กว่าเป็น สิ่งจ าเป็น โดยคุณพ่อ คุณแม่ และผู้เลี้ยงดูนั้นเป็นบุคคลส าคัญและมีความใกล้ชิดที่จะท าให้เด็ก เกิดความพร้อมส าหรับการศึกษาหาความรู้ ซึ่งสอดคล้องกับ ธีรภัทร์ เจริญดี (2542) สุดารัตน์ พิม พิสาร (2558) และอิสเบล (Isbell, 2010) ที่แสดงความคิดเห็นว่า คุณพ่อ คุณแม่ และผู้เลี้ยงดู จะ ช่วยให้เด็กเจริญเติบโตขึ้นอย่างสมบูรณ์ เพราะเป็นบุคคลที่คุ้นเคย ใกล้ชิด และทรงอิทธิพลต่อ พัฒนาการด้านร่างกายของเด็ก จากการเป็นแบบอย่าง สนับสนุน ให้ก าลังใจ และการเข้าร่วมใน การปฏิบัติกิจกรรมที่หลากหลายด้วยกัน การมีพัฒนาการที่ดีสามารถส่งเสริมได้จากการเปิด โอกาสให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย ซึ่งการได้ปฏิบัติกิจกรรมศิลปะร่วมกันใน ครอบครัว พ่อแม่ ผู้ปกครองจะเป็นบุคคลที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กเกิดการพัฒนาด้านร่างกาย (อ า ไพพรรณ ปัญญาโรจน์, 2545) ที่สอดคล้องตามทฤษฎีพัฒนาการทั้ง 8 ขั้นของ อิริกสัน (Erikson, 1969) ที่อธิบายว่าการที่บุคคลมีพัฒนาการที่ดีในทุกๆ ขั้น จะเป็นผู้ที่มีวุฒิภาวะที่สมบูรณ์อย่าง แท้จริง โดยจะต้องอาศัยองค์ประกอบที่ส าคัญจากสภาพแวดล้อมและการอบรมบ่มนิสัยจาก บุคคลในครอบครัว ที่ก่อเกิดมาจากสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสมาชิกภายในครอบครัว การที่เด็ก ได้รับความอบอุ่น ความเข้าใจจากคุณพ่อ คุณแม่ และผู้เลี้ยงดู จะท าให้เด็กมีสุขภาพจิตใจที่

สมบูรณ์ แข็งแรง และร่าเริงแจ่มใส (พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์, 2561)

(15)

การประเมินพัฒนาการเด็กของกระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ.2557 ทางกรมอนามัยได้มี

การส ารวจพัฒนาการเด็ก อายุ 0-5 ปี จากการส ารวจพบว่า เด็กมีพัฒนาการล่าช้า ถึงร้อยละ 34 อันเนื่องมาจากไม่มีใครให้ความสนใจในด้านพัฒนาการเด็กอย่างแท้จริง และขาดวิชาความรู้ใน การดูแลเด็กที่ถูกต้อง รวมถึงการใช้เทคโนโลยีในการเลี้ยงดูเด็กในปัจจุบัน เด็กๆ จึงไร้ซึ่ง จินตนาการ บกพร่องทางความคิด และท าให้มีพัฒนาการที่ล่าช้า (สถาบันพัฒนาอนามัยเด็ก แห่งชาติ กรมอนามัย, 2560) สถานการณ์ดังกล่าวจึงน่าเป็นกังวลอย่างยิ่ง จากข้อมูลพัฒนาการ เด็กสงสัยล่าช้าแยกรายด้าน เขตสุขภาพที่ 8 ปี พ.ศ.2560 ผลส ารวจพบว่า พัฒนาการสมวัยรวม ทุกด้านของเด็ก อยู่ที่ร้อยละ 55.7 และด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กอยู่ที่ร้อยละ 73.4 ซึ่งเมื่อพิจารณาจาก ข้อมูลดังกล่าว จึงทราบได้ว่าเด็กมีพัฒนาการทางด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กล่าช้าถึงร้อยละ 26.6 (เพ็ญ ภัทร เล็กพวงทอง, 2560) ซึ่งสอดคล้องกับผลการส ารวจพัฒนาการผ่านเครื่องมือ DSPM และ DAIM เด็กอายุ 1-5 ปี พ.ศ. 2558-2560 ของส านักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย พบว่า เด็กมี

พัฒนาการล่าช้าส่วนใหญ่จะเป็นด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก ด้านการช่วยเหลือตนเอง และสังคม เมื่อพิจารณาจากผลส ารวจข้างต้นจะเห็นว่าพัฒนาการในด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กจะล่าช้า อยู่เพียงเล็กน้อย แต่การพัฒนาด้านร่างกายก็เป็นส่วนส าคัญและจ าเป็นในการใช้ทักษะช่วยเหลือ ตนเองขั้นพื้นฐาน จากการใช้ประสาทสัมผัสของกล้ามเนื้อมือซึ่งเป็นอวัยวะที่เอื้อต่อการฝึกฝนจาก การได้ลงมือปฏิบัติ อย่างเช่น การใช้ช้อนส้อมตักอาหารเข้าปากหรือการผูกเชือกรองเท้า การได้ใช้

มือส ารวจสิ่งของจะท าให้เด็กได้ฝึกฝนทักษะการช่วยเหลือตนเอง หากมีพัฒนาการกล้ามเนื้อมือไม่

ดี จะมีผลท าให้เด็กนั้นเรียนรู้ช้า เพราะมือคืออวัยวะที่ส าคัญ (NCAC, 2008) เด็กช่วงอายุนี้มี

พัฒนาการทางด้านกล้ามเนื้อใหญ่อยู่ในระดับที่ค่อนข้างดี โดยเด็กสามารถวิ่ง กระโดด ทรงตัว หรือปีนป่ายได้ แต่กล้ามเนื้อมัดเล็กยังมีความไม่สอดคล้องสมดุลกัน เนื่องจากยังพัฒนาได้ไม่

เต็มที่ จึงท าให้เด็กยังไม่สามารถปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ที่ต้องอาศัยการท างานของนิ้วมือ มือ และตา ได้ดีนัก ด้วยเหตุนี้การส่งเสริมการพัฒนาการทางด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กจึงจ าเป็นอย่างมาก เนื่องจากการสั่งการระหว่างกล้ามเนื้อมือ นิ้วมือ และตา ให้เคลื่อนไหวได้ตามต้องการจะสัมพันธ์

ต่อทักษะการเขียนหนังสือ เพื่อเตรียมพร้อมเข้าโรงเรียน (รัตนา ศิริพานิช, 2523 ; รัชนี รัตนา ; 2533) และบราเธอร์สัน (Brotherson , 2009) ได้อธิบายถึงการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของ เด็กเล็กว่า การส่งเสริมทักษะระหว่างกล้ามเนื้อมือและตา ถือว่าเป็นทักษะหนึ่งที่ส าคัญของ พัฒนาการด้านร่างกาย ความสมดุล และความสามารถในการบังคับที่เพิ่มขึ้นนั้นจะเกี่ยวข้องกับ การใช้มือและตาในการปฏิบัติกิจกรรม ที่สอดคล้องกับฮาร์ลีย์ (Hartley, 1971 ; วิรัตน์ พิชญไพ บูรณ์ 2531) ที่อธิบายว่า เราสามารถพัฒนาและเพิ่มสมรรถนะของกล้ามเนื้อมัดเล็กได้จากการ

(16)

ปฏิบัติกิจกรรมที่หลากหลาย ดังเช่น การละเลงสีหรือเขียนภาพด้วยนิ้วมือหรือดินสอ ทาสีภาพ ติด-ตัด-ปะ พับกระดาษ ปั้นดิน และประดิษฐ์สิ่งของ เป็นต้น

กิจกรรมด้านศิลปะ เป็นกิจกรรมที่จะช่วยส่งเสริมด้านความคิดสร้างสรรค์ ช่วยพัฒนา ประสาทสัมผัสที่สัมพันธ์กันระหว่างมือกับตาและการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อย่อยให้มีความ สมดุล กระฉับกระเฉง และว่องไว อีกทั้งเป็นการถ่ายทอดผลผลิตทางความคิดได้ในหลายๆ มิติ ที่

น าไปสู่กระบวนการทางความคิดที่ไร้ขีดจ ากัด กิจกรรมศิลปะเป็นการเสริมทักษะการเรียนรู้ที่

เหมาะกับทุกเพศทุกวัย และยังสามารถช่วยคลายความตึงเครียด ส่งเสริมทางด้านจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ โรดา เคลล็อก์ (Rhoda Kellogg, 1995) ได้บรรยายพัฒนาการศิลปะเด็ก ตอนต้นว่า ศิลปะของเด็กนั้นจะอยู่ในขั้นขีดเขี่ย โดยจะเป็นการขีดเขี่ยโดยสะเปะสะปะ ไร้ทิศทาง ก าหนด เป็นการเริ่มต้นการสร้างผลงานศิลปะ เด็กจะแสดงออกโดยการลากเส้นไปมาลงบน กระดาษ พื้นทรายหรือวัสดุอื่นๆ ที่สามารถขีดเขียนได้ ซึ่งการขีดเขี่ยนี้จะเป็นไปตามธรรมชาติและ ตามความพอใจ เมื่อเด็กเติบโตขึ้นก็จะใช้เส้นขีดเขี่ยนี้สร้างเป็นรูปสัญลักษณ์ต่างๆ นอกจากนี้

เคลล็อก์ ยังได้เสนอแนะว่า ศิลปะการละเลงสีเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่จะช่วยพัฒนากล้ามเนื้อมือ ของเด็กได้ ซึ่งจ าแนกขั้นพัฒนาการละเลงสีเป็น 4 ขั้น คือ ขั้นเริ่มแรก ขั้นละเลงสี ขั้นมีจุดมุ่งหมาย และขั้นเป็นรูปภาพ ที่จะบ่งบอกถึงการควบคุมการเคลื่อนไหวของนิ้วมือ รวมถึงประสบการณ์ที่

เปลี่ยนแปลงจากการปฏิบัติการละเลงสีอย่างต่อเนื่องและสม ่าเสมอ การละเลงสีภาพจะท าให้เกิด ความคิดที่หลากหลายในการสร้างผลงานและปฏิบัติได้ตามความคิดของตนเอง ทั้งนี้ก็มีการศึกษา ที่เกี่ยวข้องการละเลงสีด้วยนิ้วมือ เช่น วิรัตน์ พิชญไพบูลย์ (2531) ได้อธิบายถึงการละเลงสีด้วยนิ้ว มือว่า พัฒนากล้ามเนื้อให้แข็งแรง ที่ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และนอกจากจะช่วย เสริมสร้างพัฒนาการของลูกแล้ว ยังช่วยสานสัมพันธ์รักร่วมกันในครอบครัวจากการได้ใช้เวลาอยู่

ร่วมกันในการปฏิบัติกิจกรรมศิลปะ ดังที่กล่าวไว้ข้างต้นว่าศิลปะเป็นกิจกรรมที่ใช้เป็นแนวทางได้

กับทุกเพศทุกวัย และจากแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ของกระทรวงศึกษาธิการ (2563) ได้

มีการเสนอแนะให้คุณพ่อ คุณแม่ ผู้ปกครอง ใช้เวลาในการท ากิจกรรมร่วมกับเด็กขณะอยู่ที่บ้าน เพราะเป็นผู้ที่มีบทบาทส าคัญในการพัฒนาเด็กให้มีศักยภาพในการใช้ชีวิตในสังคม เนื่องจากเป็น ผู้ที่ใกล้ชิดกับเด็ก โดยการท ากิจกรรมศิลปะ พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูจะเป็นผู้ช่วยจัดหาอุปกรณ์ สถานที่

และความปลอดภัยให้กับเด็กได้

ด้วยเหตุผลตามที่ได้กล่าวมาจึงมีความสนใจที่จะเสริมสร้างความสามารถในการใช้

กล้ามเนื้อมัดเล็กในวัยเด็กตอนต้นให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จากการจัดกิจกรรมศิลปะการละเลงสี

ภาพด้วยนิ้วมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก และผลวิจัยนี้จะเป็นแนวทาง

(17)

ที่ประโยชน์ให้กับคุณพ่อ คุณแม่ ผู้ปกครอง รวมถึงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลวัยเด็กตอนต้น ใน การพัฒนาความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในวัยเด็กตอนต้นต่อไป

วัตถุประสงค์การวิจัย

1. เพื่อศึกษาความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของวัยเด็กตอนต้นที่ได้รับและไม่ได้

รับกิจกรรมการใช้ศิลปะในการจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ ทั้งก่อนเริ่มต้นและหลังสิ้นสุด การจัดกิจกรรม

2. เพื่อพัฒนากิจกรรมการสอนเทคนิคการใช้ศิลปะส าหรับผู้ปกครองในการจัดกิจกรรม ละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ ในการส่งเสริมความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในวัยเด็กตอนต้น ความส าคัญของการวิจัย

ผลจากการศึกษาในครั้งนี้จะได้รับกิจกรรมการสอนเทคนิคการใช้ศิลปะในการจัด กิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในวัยเด็ก ตอนต้น ที่ซึ่งสามารถน ามาใช้เพื่อเป็นแนวทางการอบรมเลี้ยงดูแก่คุณพ่อ คุณแม่ ผู้ปกครอง และผู้

ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลเด็กในวัยเด็กตอนต้นได้จากการสอนการใช้เทคนิคทางด้านศิลปะ โดย การใช้แนวคิดในการส่งเสริมและพัฒนาความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กอายุ 4-5 ปี ในอีกรูปแบบหนึ่งผ่านการใช้ศิลปะการละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ

(18)

ขอบเขตการวิจัย

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย

เป็นคุณพ่อ คุณแม่ ผู้ปกครอง หรือผู้เลี้ยงดู ที่มีลูกที่อยู่ในช่วงวัยเด็กตอนต้น อายุระหว่าง 4-5 ปี ที่ก าลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาล 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งที่

ยินดีเข้าร่วมในงานวิจัย จ านวน 58 คน เป็นกลุ่มทดลอง 28 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน ตัวแปรที่ศึกษา

1. ตัวแปรอิสระ ได้แก่ เงื่อนไขการทดลอง ประกอบด้วย

1.1 การได้รับกิจกรรมการใช้ศิลปะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กด้วย การละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ

1.2 ไม่ได้รับกิจกรรมการใช้ศิลปะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กด้วย การละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ

2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของวัยเด็กตอนต้น นิยามศัพท์ปฏิบัติการ

ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก หมายถึง การบังคับใช้กล้ามเนื้อส่วนเล็กๆ ได้แก่ ตากับมือ และนิ้วมือ ให้ท างานประสานกันได้อย่างคล่องแคล่วในการปฏิบัติกิจกรรมที่แสดง ถึงการมีพัฒนาการที่สมวัย ในการวิจัยฉบับนี้จะใช้เครื่องมือแบบวัดพัฒนาการทางด้านกล้ามเนื้อ มัดเล็กที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนตั้งแต่ 0-2 คะแนน ประกอบด้วย การลากเส้น จากจุดเริ่มไปจุดหมาย และการลากเส้นต่อจุดให้เป็นภาพที่สมบูรณ์ ซึ่งในการสร้างแบบวัดจะ ด าเนินการโดยผู้วิจัยจะขอรับค าปรึกษาจากอาจารย์สอนศิลปะเด็ก และอาจารย์ผู้สอนเด็กก่อนวัย เรียน โดยจะค านึงถึงความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กตามหลักพัฒนาการ การ แปลผลของคะแนน คือ เด็กที่มีคะแนนสูงกว่า แสดงว่าความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก มากกว่าเด็กที่มีคะแนนต ่ากว่า

กิจกรรมการละเลงสีด้วยนิ้วมือ หรือ Finger painting หมายถึง การจัดกระบวนการ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านศิลปะจากการวาดภาพระบายสีด้วยนิ้วมือ ที่มีความเหมาะสมกับทุกเพศ ทุกวัยรวมถึงเด็กเล็ก สามารถใช้เป็นแนวทางการพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมือ ที่เป็นการเตรียม ความพร้อมให้เด็กเรียนรู้งานศิลปะในรูปแบบของนามธรรม การสังเกตผลที่ได้จากการกระท าที่มี

รูปร่างปรากฏให้เห็นจากการเคลื่อนไหว เรียนรู้ถึงผลลัพธ์จากการน าสีมารวมกัน สร้างสรรค์ผลงาน ที่ไม่ซับซ้อนและมีความหลากหลาย โดยแผนการจัดกิจกรรมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีขั้นตอนดังนี้

(19)

ขั้นแนะน า ถ่ายทอดความรู้การสอนเทคนิคแก่ผู้ปกครอง ผ่านการปฐมนิเทศและ การชี้แจงกิจกรรม

ขั้นด าเนินกิจกรรม เด็กลงมือปฏิบัติกิจกรรมการละเลงสีด้วยนิ้วมือและมีผู้ปกครอง เป็นผู้ตระเตรียมวัสดุอุปกรณ์ สถานที่ และเป็นผู้กระตุ้นให้เด็กปฏิบัติกิจกรรมให้ส าเร็จลุล่วง

ขั้นสรุป ผู้ปกครองสรุปผลการศึกษาของเด็กในแต่ละครั้ง เพื่อติดตามผลลัพธ์จากชุด กิจกรรม

ทั้งนี้ผู้วิจัยจัดส่งวัสดุและอุปกรณ์ส าหรับการปฏิบัติกิจกรรมการละเลงสีให้แก่ผู้ปกครอง ทางไปรษณีย์ ประกอบไปด้วย สีผสมอาหาร แป้งข้าวโพด และเกลือ โดยจะมีการจัดกิจกรรมการ ละเลงสีภาพ จ านวน 5 กิจกรรม ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ: เทคนิคการใช้ศิลปะการละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือ โดยจะมี

การชี้แจงถึงวัตถุประสงค์ในการท าวิจัย และชุดกิจกรรมที่จะใช้ในงานวิจัย พร้อมทั้งประเมินผลวัด ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อของเด็กก่อนเริ่มปฏิบัติกิจกรรม

กิจกรรมที่ 2 ชี้แจงชุดกิจกรรม อธิบายขั้นตอนกิจกรรม และอุปกรณ์

กิจกรรมที่ 3 – 5 ด าเนินการทดลองผ่านกิจกรรมการละเลงสีภาพ 3 ชุดด้วยกัน คือ ชุดกิจกรรมที่ 1 ต่อภาพ เติมสี ชุดกิจกรรมที่ 2 ละเลงสีตามแบบ และชุดกิจกรรมที่ 3 ละเลงสีภาพ ตามจินตนาการ ซึ่งจะมีการติดตามผลหลังการปฏิบัติกิจกรรมทุกครั้ง และชุดกิจกรรมทั้ง 3 ชุด จะ ช่วยให้เด็กจะได้ใช้กล้ามเนื้อนิ้วมือในการละเลงสีภาพ ใช้จินตนาการ และความคิดจากการแต่ง แต้มเติมสี มีอิสระในการเลือกใช้สี โดยระหว่างการปฏิบัติกิจกรรมเด็กจะได้รับการพัฒนา ความสามารถในการใช้การเนื้อมัดเล็กมากยิ่งขึ้น

(20)

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

สารบัญหัวข้อของบทนี้

พ่อแม่ผู้ปกครองกับพัฒนาการของวัยเด็กตอนต้น

o ภารกิจพัฒนาการของบุคคลวัยผู้ใหญ่กับการดูแลเด็ก o ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ในวัยผู้ใหญ่

o แนวทางการสอนการเรียนรู้ในวัยผู้ใหญ่

o เทคนิคที่ใช้ในการสอนการเรียนรู้ในวัยผู้ใหญ่

o การท าความเข้าใจในโลกทัศน์และพัฒนาการของเด็ก o พัฒนาการวัยเด็กตอนต้น

o ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการวัยเด็กตอนต้น

o แนวทางการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการวัยเด็กตอนต้น

การส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กด้วยศิลปะการละเลงสีด้วยนิ้วมือ พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก

o ความหมายของความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก o ความส าคัญของความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก o ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก o พัฒนาการความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก

o งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก

o วิธีการประเมินผลพัฒนาการด้านการใช้ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อ มัดเล็ก

o การวัดความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กวัยเด็กตอนต้น ศิลปะการละเลงสีด้วยนิ้วมือกับการส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก

o ความหมายของกิจกรรมทางศิลปะ

o ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางด้านศิลปะ

o ความหมายและความส าคัญของการละเลงสีด้วยนิ้วมือ o ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการละเลงสีด้วยนิ้วมือ

o ขั้นพัฒนาการในการละเลงสีด้วยนิ้วมือ o งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการละเลงสีด้วยนิ้วมือ

(21)

การส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กด้วยศิลปะการละเลงสีด้วยนิ้วมือ การสอนเทคนิคการใช้ศิลปะส าหรับผู้ปกครอง

o การสอนเทคนิคการใช้ศิลปะส าหรับผู้ปกครอง

o รูปแบบหรือวิธีการให้ความรู้หรือสอนเทคนิคต่างๆ ให้กับพ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก

o การจัดกิจกรรมละเลงสีภาพด้วยนิ้วมือเพื่อส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อมัด เล็กในวัยเด็กตอนต้น

กรอบแนวคิดในงานวิจัย สมมติฐานการวิจัย

(22)

เอกสารที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการวัยเด็กตอนต้น

ภารกิจพัฒนาการของบุคคลวัยผู้ใหญ่กับการดูแลเด็ก

ภารกิจของพ่อแม่จะเปลี่ยนแปลงไปตามช่วงอายุของลูก โดยจะแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้ (ประกายรัตน์ และกมลา แสงสีทอง, 2545; ประณต เค้าฉิม, 2549) ระยะแรก คือ ระยะบุตร แรกเกิด (Childbearing Stage) ระยะนี้จะนับตั้งแต่แรกเกิด ไปจนถึงอายุ 3 ขวบ ช่วงนี้พ่อแม่จะมี

ภารกิจและหน้าที่ความรับผิดชอบเพิ่มสูงขึ้น ทั้งด้านชีวิตคู่ในการช่วยกันเลี้ยงดูลูกและทั้งด้านชีวิต ของลูก ภารกิจครอบครัวในระยะนี้ ได้แก่ จัดเตรียมความพร้อมที่อยู่อาศัยในการดูแลเด็กให้มี

ความปลอดภัย จัดการเรื่องงบประมาณที่ใช้ในการดูแลเด็ก ก าหนดบทบาทความรับผิดชอบ สร้าง ความพึงพอใจทางด้านเพศสัมพันธ์ ปรึกษาหารือเกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็ก ความสัมพันธ์ระหว่าง เครือญาติ รูปแบบการด าเนินชีวิต วางแผนส าหรับการมีบุตร และสร้างปรัชญาชีวิตที่เหมาะสมกับ ครอบครัว ระยะที่สอง คือ ระยะบุตรเข้าสู่ช่วงปฐมวัย (Preschool Child Stage) จะอยู่ในช่วงอายุ

3 ปีขึ้นไปจนถึง 6 ปี คือช่วงเริ่มเข้าโรงเรียน ในช่วงนี้พ่อแม่จะเริ่มหันมามองตัวเองและหาสิ่งต่างๆ มาตอบสนองความต้องการด้วยเช่นกัน ภารกิจครอบครัวในระยะนี้ ได้แก่ จัดเตรียมที่อยู่อาศัยให้

เพียงพอต่อครอบครัวที่ขยายมากขึ้น จัดการงบประมาณและค่าใช้จ่ายให้เพียงพอกับครอบครัว แบ่งความรับผิดชอบระหว่างสมาชิกในครอบครัว รักษาความพึงพอใจในด้านเพศสัมพันธ์และ วางแผนส าหรับอนาคตลูก สร้างบรรยากาศที่ดีในครอบครัว สร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว แสวงหาสิ่งภายนอกเพื่อตอบรับกับความต้องการและรวมถึงร่วมกันขจัดปัญหาที่เกิดขึ้นภายใน ครอบครัว ระยะที่สาม เป็นระยะที่บุตรเข้าโรงเรียน (School-age Child Stage) ระยะนี้จะอยู่

ในช่วงระหว่างอายุ 6 ปีไปจนถึง 13 ปี เป็นช่วงที่เด็กเข้าโรงเรียนอย่างจริงจัง เด็กช่วงอายุนี้เริ่มจะมี

การพัฒนาด้านสังคมมากขึ้น ครอบครัวจะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างมาก เพื่อปรับตัวให้

เหมาะสมในวิธีการอบรมบ่มนิสัย เพราะพ่อ แม่จะเริ่มมีภาระหน้าที่เพิ่มมากขึ้น บางบ้านอาจจะ กลับไปท างานเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัว ภารกิจครอบครัวในระยะนี้ ได้แก่ จัดหากิจกรรม ให้กับลูก และหาเวลาให้กับตัวเอง รักษาสภาพทางการเงินของครอบครัว รักษาความสัมพันธ์ของ คู่สมรส และให้ความร่วมมือกับโรงเรียนเพื่อพัฒนาการที่ดีของลูก

การปรับตัวในการเลี้ยงดูเด็ก แม้จะเป็นการช่วงเวลาที่มีความสุข แต่ก็อาจจะพบกับ อุปสรรคหลายๆ อย่างได้ด้วยเช่นกัน เพราะผู้ใหญ่จะต้องปรับเปลี่ยนในด้านทัศนคติ ค่านิยม และ บทบาทใหม่ ให้เหมาะสมกับการเลี้ยงดูเด็ก อีกทั้งต้องเรียนรู้ที่จะตอบสนองความเปลี่ยนแปลงที่

เกิดขึ้นต่อทัศนคติและบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไป โดยคุณพ่อ คุณแม่ หรือผู้ปกครอง ถือว่าเป็น บุคคลส าคัญในการกระตุ้นและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกายและจิตใจของเด็ก ที่จะ ก่อให้เกิดพัฒนาการทางด้านต่างๆ ทั้งนี้ จอห์น โบลบี (John Bowlby, 1969 ; ประณต เค้าฉิม,

Referensi

Dokumen terkait

THE RELATIONSHIP OF EYE MUSCLE STRESS ON THE USE OF DEVICES TO HYPERACTIVE BEHAVIOR IN EARLY CHILDREN Anita Damayanti, Early Childhood Education, Faculty of Education, Universitas