• Tidak ada hasil yang ditemukan

THE EFFECTS OF ORGANIZATION FACTORS ON STUDENT'S SELF-EFFICACY IN ALTERNATIVE SCHOOL

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "THE EFFECTS OF ORGANIZATION FACTORS ON STUDENT'S SELF-EFFICACY IN ALTERNATIVE SCHOOL"

Copied!
179
0
0

Teks penuh

The objectives of this study are as follows: (1) to study the level of organizational factors at alternative schools; (2) to study the level of students' self-efficacy in alternative schools; (3) to study the relationship between organizational factors and students' self-efficacy in alternative schools; and (4) to study organizational factors that influence students' self-efficacy in alternative schools. The organizational factors predicted student self-efficacy with a statistical significance at the .01 level was the organizational factor of time of day.

ตัวแปรที่ศึกษา

ความหมายของการศึกษาทางเลือก

วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายส าคัญของการศึกษาทางเลือก

หลักการพื้นฐานของการศึกษาทางเลือก

แนวทางในการจัดการศึกษาของการศึกษาทางเลือก

กฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ของการศึกษาทางเลือก

ประเภทและรูปแบบของการจัดการศึกษาทางเลือกในประเทศไทย

ประเภทและรูปแบบการจัดการศึกษาทางเลือกในต่างประเทศ

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยองค์การ

ปัจจัยองค์การทางด้านการศึกษา

ปัจจัยองค์การทางด้านการศึกษาในระบบโรงเรียนทางเลือก

  • ขนาดของชั้นเรียน (Class size)
  • จ านวนชั่วโมงเรียน (Time of day)
  • ตารางเวลาเรียนแบบยืดหยุ่น (Flexible scheduling)
  • ภาวะผู้น า (Leadership practices)
  • บรรยากาศในโรงเรียน (School Climate)

ฮอย แอนด์ มิสเกล (W. Hoy & Miskel, 2001) มองว่าโรงเรียนเป็นระบบเปิดที่สัมพันธ์กับโครงสร้างและกระบวนการ เป็นระบบ พลวัตที่ทั้งเสถียรและยืดหยุ่นและมี ประเทศไทยมีการกำหนดโครงสร้างเวลาเรียนตามแผนพื้นฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ที่กำหนดรูปแบบชั่วโมงสอนรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ เรียนรู้เพื่อเป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา โดยคำนึงถึงวิชาและกิจกรรมเสริมเพื่อพัฒนาผู้เรียน แต่ละโรงเรียนสามารถจัดเวลาเรียนได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา โดยกำหนดเวลาเรียนตามแต่ละระดับการศึกษา (สำนักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ,สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2560) โดยสรุปได้ดังนี้ ไปที่นี่ ฮอยแอนด์มิสเกล (W. Hoy & Miskel, 2001) กล่าวว่าบรรยากาศของโรงเรียนเป็นลักษณะที่มีอยู่ในโรงเรียนอันเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์ใหญ่กับทุกคนในโรงเรียนซึ่งมีผลทำให้โรงเรียนแตกต่างจากโรงเรียนอื่น และยังส่งผลต่อพฤติกรรมของบุคคลในโรงเรียนอีกด้วย

ความหมายของการรับรู้ความสามารถในตนเอง

แนวคิดเกี่ยวกับการรับรู้ความสามารถในตนเอง

ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างหรือพัฒนาการรับรู้ความสามารถในตนเอง

อิทธิพลของการรับรู้ความสามารถในตนเองต่อพฤติกรรมของบุคคล

ผลของการรับรู้ความสามารถในตนเอง

ปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ความสามารถในตนเอง

การสร้างและพัฒนาการรับรู้ความสามารถในตนเองของนักเรียน

งานวิจัยในประเทศ

3.บริบททั่วไป (Context) บริบทของโรงเรียนแสดงถึงความเป็นโรงเรียนได้อย่าง ชัดเจน(Bush, 2015; Leithwood et al., 1999)เพราะบริบทของโรงเรียนสามารถอธิบายลักษณะ ทางกายภาพ บรรยากาศ เวลา รวมถึงสิ่งอ านวยความสะดวกต่างๆในโรงเรียนได้ โดยทั่วไปบริบท มักจะบ่งบอกถึงลักษณะทั่วไปของโรงเรียนซึ่งมีความความทับซ้อนกับโครงสร้างหรือแผนผังการ จัดการของที่ถูกจัดตั้งขึ้น เนื่องจากผังโครงสร้างหรืออาจรวมไปถึงระบบต่างๆในส่วนงานวิชาการ ของโรงเรียนนั้น จะถูกก าหนดขึ้นได้ก็ขึ้นอยู่กับความเพียบพร้อมของสิ่งอ านวยความสะดวกต่างๆ และความพร้อมของบุคลากรทั่วไป. ชัดเจน ปัจจัยองค์การจึงมีความแตกต่างออกไป ความส าคัญของปัจจัยจึงมีการระบุเจาะจงไป ตามความแตกต่างของลักษณะที่เห็นได้เด่นชัดและปัจจัยเหล่านี้ยังส่งผลต่อศักยภาพและระดับ ประสิทธิภาพของนักเรียนได้อย่างเป็นรูปธรรมอีกด้วย (Bush, 2015; Leithwood & Levin, 2010; . Means, 2015) จากกรอบปัจจัยองค์การหลักด้านบน เมแกนได้ก าหนดปัจจัยองค์การที่เป็นตัวแปร ในการศึกษาอย่างเฉพาะเจาะจง เนื่องด้วยตัวแปรที่เป็นปัจจัยเจาะจงนั้นมีลักษณะเฉพาะที่มี. จากข้อมูลของPISA 2012 เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของจ านวนชั่วโมงเรียน เรียนกับผลการเรียนรู้ของนักเรียนพบว่า ในระดับโรงเรียน จ านวนชั่วโมงเรียนที่ก าหนดตามตาราง ในโรงเรียนมีความเชื่อมโยงกับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ แต่การใช้เวลาเรียนนอกเวลาและการเรียน พิเศษนอกเวลาไม่มีความสัมพันธ์ที่ตรงไปตรงมาเหมือนกับการใช้เวลาเรียนในเวลา(สถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2559)ทั้งนี้ระบบโรงเรียนของแต่ละประเทศก็ใช้.

หลักในการจัดตารางเวลาเรียนแบบยืดหยุ่น (บุญเกื้อ ควรหาเวช, 2542) 1.ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนจะต้องเข้าใจและยอมรับว่าโอกาสใน การเรียนของผู้เรียนนั้นส าคัญกว่าความความสะดวกในการจัดตารางเรียนและการปฏิบัติงาน. 4.ควรมีการก าหนดและจัดตารางเวลาเรียนเอาไว้ตลอดทั้งปีการศึกษา 5.เพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด ผู้เรียนจะต้องเข้าใจเหตุผลของการจัด ตารางเวลาเรียนแบบยืดหยุ่นว่ามีประโยชน์ส าหรับตนเองอย่างไรและควรรู้จักบทบาทของตนเอง. 6.การจัดตารางเรียนควรค านึงถึงการสอนแบบเป็นกลุ่มใหญ่ด้วย 7. 1.ช่วยให้การจัดการเรียนการสอนเป้นไปเพื่อตอบสนองต่อความแตกต่าง ของบุคคลได้มากขึ้น. 7.เป็นการปรับเวลาการสอนให้เหมาะสมตามแต่ละหลักวิชาที่มีความ แตกต่างกัน. 1.ตารางเวลาเรียนแบบยืดหยุ่นอาจสร้างความยุ่งยากและซับซ้อนในการ จัดตารางการสอน และอาจต้องอาศัยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการให้เป็นระบบ ซึ่งจะมี. 1) ภาวะผู้น าแบบประชาธิปไตยและผู้น าแบบเผด็จการ (Democratic Leadership – Autocratic Leadership) โดยผู้น าแบบประชาธิปไตยมักจะกระจาย อ านาจ หรือมอบหมายงานให้สมาชิกและเปิดโอกาสให้สมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ในทางตรงกันข้าม ผู้น าแบบเผด็จการมักนิยมใช้การตัดสินใจด้วยตนเอง และไม่เปิดโอกาสให้. ของสมาชิกอีกทั้งยังยอมรับความแตกต่างของบุคคล และเปิดโอกาสให้สมาชิกในองค์การได้มีส่วน ร่วมในการตัดสินใจอีกด้วย.

งานวิจัยต่างประเทศ

การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

การจัดกระท าและการวิเคราะห์ข้อมูล

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

การน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับบรรยากาศของโรงเรียน: ใช้ระบบสำรวจสภาพอากาศ สุขภาพ และการเรียนรู้ของ California School (Cal–SCHLS) เพื่อแจ้งความพยายามในการปรับปรุงโรงเรียนของคุณ การพัฒนามาตรวัดบรรยากาศของโรงเรียนจากประสบการณ์ร่วมของสมาชิกในโรงเรียน The Journal of Behavioral Science 15, 52-72 วิธีสร้างบรรยากาศในโรงเรียนสำหรับทุกคน คนอยากไปโรงเรียน

Referensi

Dokumen terkait