• Tidak ada hasil yang ditemukan

FACTORS AFFECTING ATTITUDE AND ACCEPTANCE TOWARD DOWNLOADING OF CONTENTS VIA MOBILE PHONES

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "FACTORS AFFECTING ATTITUDE AND ACCEPTANCE TOWARD DOWNLOADING OF CONTENTS VIA MOBILE PHONES "

Copied!
8
0
0

Teks penuh

(1)

ปจจัยที่มีผลตอทัศนคติและการยอมรับการดาวนโหลด คอนเทนต

ผานโทรศัพทเคลื่อนที่

FACTORS AFFECTING ATTITUDE AND ACCEPTANCE TOWARD DOWNLOADING OF CONTENTS VIA MOBILE PHONES

อรทัย ลาไป

นักศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม E-mail: aorriku@hotmail.com, aorriku.2527@gmail.com

บทคัดยอ

การศึกษาในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ ลูกคาที่

ใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่คือ ลูกคาที่ใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัท แอดวานซอินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (AIS) บริษัทโทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (DTAC) และบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (TRUE) ที่ลงทะเบียนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยคัดเลือกกลุมตัวอยางแบบไมมีความนาจะเปน

(

Non-Probability) ตามเครือขายการใชบริการ และสุมตัวอยางโดยใชวิจารณญาณ (Judgment Sampling) จํานวน 400 คน โดยใชแบบสอบถามในการเก็บขอมูล

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลแบงออกเปน 2 สวนไดแก สถิติเชิง พรรณนา (Descriptive Statistics) โดยใชคารอยละ (Percentage) และคาเฉลี่ย (Means) และสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) โดยเปรียบเทียบคาเฉลี่ยและทดสอบคาเฉลี่ยดวย T-test และวิเคราะหความแปรปรวนแบบ One-way ANOVA โดยกําหนดระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 และทดสอบความสัมพันธของตัวแปรโดยใชสถิติ

สัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson Correlation)

ผลการศึกษาพบวาจากประชากรกลุมตัวอยางเปนชาย รอยละ 56.80 อายุระหวาง 20 - 30 ป รอยละ 60.30 มีอาชีพพนักงาน/เจาหนาที่บริษัท รอยละ 37.70 การศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี รอยละ 58.80 มีรายไดตอเดือน ต่ํากวา 10,000 บาท รอยละ 36.505 ใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่เครือขาย DTAC รอยละ 38.25 ดาวนโหลดคอน เทนต ริงโทน (Ringtone) รอยละ 35 และดาวนโหลดคอนเทนต 1-2 ครั้ง/สัปดาห รอยละ 82.0

ดานปจจัยที่มีผลตอการดาวนโหลด คอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวมของผูตอบแบบสอบถามอยู

ในระดับปานกลาง ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.23 โดยมีปจจัยดานประสบการณ ปจจัยดานสังคม ปจจัยดานจิตวิทยาอยู

ในระดับปานกลาง

ดานทัศนคติตอการดาวนโหลด คอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวมของผูตอบแบบสอบถามอยูใน ระดับปานกลาง ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.39 เมื่อจําแนกออกเปนรายการพบวา ทัศนคติการดาวนโหลดคอนเทนต

ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ในระดับมากในหัวขอที่วา เมื่อทานรับรูการดาวนโหลดคอนเทนตแบบไมเสียคาใชจายจะ เปนสิ่งที่ดีและมีประโยชน

(2)

ดานการยอมรับการดาวนโหลด คอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวมของผูตอบแบบสอบถามอยูใน ระดับปานกลาง ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.26 เมื่อจําแนกออกเปนรายการพบวา การยอมรับการดาวนโหลด คอนเทนต

ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ในระดับมากกับในหัวขอ ทานจะมีการอับเดทขอมูลขาวสารผานระบบโทรศัพทเคลื่อนที่

ปจจัยที่มีผลตอการดาวนโหลด คอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ไดแกปจจัยดานประสบการณ ปจจัยดาน สังคม และปจจัยดานจิตวิทยา รวมถึงทัศนคติตอการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ มีความสัมพันธ

ทางบวกกับการยอมรับการดาวนโหลดตอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่

คําสําคัญ :

ทัศนคติ การดาวนโหลดคอนเทนต โทรศัพทเคลื่อนที่

ABSTRACT

The study was a survey research based on respondents, namely, customers using mobile phone services offered by Advanced Info Services (Public) Co. Ltd. (AIS), Total Access Communication (Public) Co. Ltd.

(DTAC) and True Corporation (Public) Co. Ltd., (TRUE) with registration affected in Bangkok Metropolis. In Researcher used Non probability was need based on the network and services coupled with Judgment Sampling of customers of each network by 400 respondents.

Statistics used for the analysis of data was divided into 2 parts namely, descriptive statistics on percentage basis and average means and inferential statistics. Results of the averages have been put under t-test and analyzed by One-way ANOVA system with major issues measured statistically at 0.05 and testing the relationship of the variables by means of Pearson Correlation

The result indicated that nearly sixty percent was male and 60.30 percent aged between 20 to 30 years, Nearly forty percent worked in the composed and 58.80 percent was university students, Around thirty six percent earned less than 10,000.-baht per month and 38.25 percent used DTAC network. Thirty five of the respondents used ringtone service and 82 percent of them download content at 1-2 times a week.

With regard to factors affecting the download content via mobile phones, The overall showed respondents medium level averaging 3.23 with experience, Social and psychological awareness at a medium level.

As for their opinion on downloading of contents via mobile phones, the respondents collectively expressed opinion at a fair level, averaging 3.39 and when classifications have been made item wise, it was found that their opinion concerning downloading of content with the service receivers getting the service free of charge was good and beneficial to all concerned.

(3)

Factors having effects on downloading contents via mobile phones centered on experience, social and psychological issues including reaction or opinion of this service, as there was the connection positively between acceptance and downloading of content via mobile phones.

KEYWORDS:

Attitude, Downloading content, Mobile phone

1. ที่มาและความสําคัญของปญหา

ปจจุบันตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่มีอัตราการเติบโตมาก มีผูใชโทรศัพทมากกวา 1 พันลานคนทั่วโลก ในตางประเทศมีอัตราการเติบโตเปนไปอยางรวดเร็ว สําหรับภาพรวมของตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย มีผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ประมาณ 60 กวาลานเลขหมาย ซึ่งมีอัตราการเติบโตของผูใชบริการอยางตอเนื่อง อีกทั้ง ยังมีความหลากหลายในแงของเทคโนโลยีและการบริการที่มีเกี่ยวกับโทรศัพทเคลื่อนที่ เชน การใหบริการ เกี่ยวกับระบบการคนหาผานโทรศัพทเคลื่อนที่ การบริการเกี่ยวกับการดาวนโหลด คอนเทนตตางๆ เชน การดาวโหลด เกมส (Game) ริงโทน (Ringtone) วอลเปเปอร (Wall Paper) ธีม(Theme) วิดีโอคลิป (Video Clip) มิวสิกวิดีโอ (MV) ฯลฯ รวมไปถึงโปรแกรมการใชงานตางๆ บนโทรศัพทเคลื่อนที่

ปจจุบันเปนที่ยอมรับโดยทั่วกันวาโทรศัพทเคลื่อนที่เปนเครื่องมือสื่อสารที่สําคัญกับผูบริโภคมากที่สุดใน แตละวัน โดยเฉพาะผูบริโภคที่อยูนอกสถานที่ไมวาจะเปนบานหรือที่ทํางาน ผูบริโภคจะใชโทรศัพทเคลื่อนที่เปน เครื่องมือในการรับขอมูลขาวสารและความบันเทิงในรูปแบบตางๆ แทน ทําใหรูปแบบการตลาดของ

โทรศัพทเคลื่อนที่มีการพัฒนาและเติบโตอยางตอเนื่อง เพราะโทรศัพทเคลื่อนที่เปนสื่อที่อยูกับวิถีชีวิตผูบริโภค มากกวาสื่ออื่นๆ ดังนั้นโทรศัพทเคลื่อนที่จึงกลายเปนปจจัยที่ 5 หรือ 6 ของการดําเนินชีวิตประจําวัน

สําหรับการแขงขันในธุรกิจโทรศัพทเคลื่อนที่ในประเทศไทย เปนการแขงขันกันสรางวิธีการใชงาน โทรศัพทเคลื่อนที่ (Application) และเนื้อหาสาระ (Contents) เพื่อเขาถึงกลุมผูบริโภคแตละกลุมเพื่อใหงายและ สะดวกตอการรับขอมูลผานมือถือ หรือที่เรียกวา ดาวนโหลด (Download) ซึ่งประกอบไปดวยเทคโนโลยีที่

หลากหลาย เชน การพัฒนาเกมส (Game) ที่เลนผานโทรศัพทเคลื่อนที่ การพัฒนาริงโทน (Ringtone) ที่เปนเสียง เรียกเขา พัฒนาวอลลเปเปอร (Wall Paper) ที่มีภาพที่มีสีสันและแปลกตามากขึ้น ธีม (Theme)โทรศัพทเคลื่อนที่

หรือไมวาจะเปนการพัฒนาเกี่ยวกับ มิวสิก วิดีโอหรือ คาราโอเกะ เนื้อหาสาระ (Contents) เหลานี้สามารถ ดาวนโหลดผานโทรศัพทเคลื่อนที่ไดอยางรวดเร็ว เปนตน

จากจํานวนผูใชกวา 60 ลานเลขหมายถือวาเปนกลุมเปาหมายและโอกาสใหมของผูประกอบการตางๆ ที่สามารถสรางชองทางการตลาดแบบเขาถึงตัวผูบริโภค ดังนั้น ผูประกอบการจึงหันมาสรางกระแสทําการ ดาวนโหลด คอนเทนต (Download Content) ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ ทําใหตองการศึกษาถึงปจจัยที่มีผลตอ ทัศนคติของผูบริโภควาเปนอยางไรและมีการยอมรับการดาวนโหลด คอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่อยางไร

(4)

2. วัตถุประสงคการวิจัย

1. เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอทัศนคติเกี่ยวกับการยอมรับการดาวนโหลดคอนเทนตเทนต

ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ ในเขตกรุงเทพมหานคร

2. เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการยอมรับการดาวนโหลด คอนเทนต ผานโทรศัพทเคลื่อนที่

ในกรุงเทพมหานคร

3. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยดานประสบการณ ปจจัยดานสังคม และปจจัยดานจิตวิทยาที่มีผล ตอทัศนคติและการยอมรับการดาวนโหลดโทรศัพทเคลื่อนที่เขตในกรุงเทพมหานคร

4. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางทัศนคติการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่

และการยอมรับการดาวนโหลด คอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ ในเขตกรุงเทพมหานคร

3. กรอบแนวคิดในการวิจัย

การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มุงเนนการศึกษาการยอมรับการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ในเขต กรุงเทพมหานคร ซึ่งสามารถแสดงภาพประกอบ 1

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

H1

H2

H3 H5

ลักษณะดานประชากรศาสตร

- เพศ - อายุ

- อาชีพ

- ระดับการศึกษา - รายไดตอเดือน

- เครือขายที่ใชบริการ ทัศนคติการดาวนโหลดคอนเทนตผาน

โทรศัพทเคลื่อนที่

ปจจัยที่มีผลตอการดาวนโหลด คอนเทนต ผานโทรศัพทเคลื่อนที่

- ปจจัยดานประสบการณ

- ปจจัยดานสังคม

-

ปจจัยดานจิตวิทยา

การยอมรับการดาวนโหลดคอนเทนตผาน โทรศัพทเคลื่อนที่

(5)

4. สมมติฐานการวิจัย

1. (H1) ลักษณะดานประชากรศาสตร แตกตางกันทําใหการยอมรับการดาวนโหลด คอนเทนต

ผานโทรศัพทเคลื่อนที่แตกตางกัน

2. (H2) ลักษณะดานประชากรศาสตร แตกตางกันทําใหทัศนคติการดาวนโหลดคอนเทนต

ผานโทรศัพทเคลื่อนที่แตกตางกัน

3. (H3) ปจจัยที่มีผลตอการดาวนโหลด คอนเทนตมีความสัมพันธกับยอมรับการดาวนโหลดคอนเทนต

ผานโทรศัพทเคลื่อนที่

4. (H4) ปจจัยที่มีผลตอการดาวนโหลด คอนเทนตมีความสัมพันธกับทัศนคติการดาวนโหลดคอนเทนต

ผานโทรศัพทเคลื่อนที่

5. (H5) ทัศนคติตอการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ มีความสัมพันธกับการยอมรับการ ดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่

5. ระเบียบวิธีวิจัย

การศึกษาในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ ลูกคาที่

ใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่คือ ลูกคาที่ใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของบริษัท แอดวานซอินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (AIS) บริษัทโทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (DTAC) และบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (TRUE) ที่ลงทะเบียนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยคัดเลือกกลุมตัวอยางแบบไมมีความนาจะเปน

(

Non-Probability) ตามเครือขายการใชบริการ และสุมตัวอยางโดยใชวิจารณญาณ (Judgment Sampling) จํานวน 400 คน โดยใชแบบสอบถามในการเก็บขอมูล กลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ คือ กลุมตัวอยางที่ทําการสุมจาก ลูกคาที่ใชบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ ที่อยูในเขตกรุงเทพมหานคร ของ AIS DTAC และ TRUE โดยคํานวณหา ขนาดของกลุมตัวอยางที่เหมาะสม โดยใชวิธีการของ Taro Yamane (1973) ที่ระดับความเชื่อมั่นรอยละ 95

6. ผลการวิจัย

ผลการศึกษาพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชาย รอยละ 56.80 อายุระหวาง 20 - 30 ป

ประกอบอาชีพพนักงาน/เจาหนาที่บริษัท มีการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี มีรายไดตอเดือนต่ํากวา 10,000 บาท เปนเครือขาย DTAC ดาวนโหลด คอนเทนต ริงโทน (Ringtone) และดาวนโหลด 1-2 ครั้งตอสัปดาห ปจจัยที่มีผล ตอการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวมของผูตอบแบบสอบถามอยูในระดับปานกลาง โดยมี

ปจจัยที่มีผลตอการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวม ปจจัยดานประสบการณ ปจจัยดานสังคม ปจจัยดานจิตวิทยาอยูในระดับปานกลาง

ทัศนคติตอการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวมอยูในระดับ ปานกลาง โดยมีทัศนคติ

ตอการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่อยูในระดับมาก กับการดาวนโหลดคอนเทนตผาน โทรศัพทเคลื่อนที่เปนสิ่งที่ดีและมีประโยชนตอทาน เมื่อทานรับขาวสารการดาวนโหลดใหมๆ จะมีผลตอความ เชื่อถือในการดาวนโหลดของทาน และเมื่อทานรับรูการดาวนโหลดคอนเทนตแบบไมเสียคาใชจายจะเปนสิ่งที่ดี

(6)

ดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ เปนสิ่งที่สะดวกสบาย และเมื่อทานดาวนโหลดคอนเทนตผาน โทรศัพทเคลื่อนที่ทานคํานึงถึงเรื่องของความปลอดภัยตามลําดับ

การยอมรับการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่โดยรวมอยูในระดับปานกลาง โดยมี

การยอมรับการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ในระดับมากกับทานจะมีการอับเดทขอมูลขาวสาร ผานระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ และการยอมรับการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ในระดับปานกลาง กับ ทานยินดีรับการดาวนโหลดผานโทรศัพทเคลื่อนที่ ทานยินดียอมรับขอตกลงของการดาวนโหลดผาน โทรศัพทเคลื่อนที่ ทานจะรูสึกดีเมื่อมีการดาวนโหลดผานโทรศัพทเคลื่อนที่ และทานยินดียอมรับการดาวนโหลด ผานโทรศัพทเคลื่อนที่เมื่อมีการเสียคาใชจาย

ปจจัยที่มีผลตอการดาวนโหลด คอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่(รวม)มีความสัมพันธทางบวกกับ การยอมรับการดาวนโหลดคอนเทนต ผานโทรศัพทเคลื่อนที่ และมีความสัมพันธเชิงบวกกับทัศนคติการยอมรับ การดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ และโดยที่ทัศนคติการดาวนโหลดคอนเทนต ผานโทรศัพท

เคลื่อนที่ของผูตอบแบบสอบถามมีความสัมพันธทางบวกกับการยอมรับการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพท

เคลื่อนที่ แสดงใหเห็นวาทัศนคติการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่มีความสัมพันธกับการยอมรับ การดาวนโหลด ผานโทรศัพทเคลื่อนอยางมาก

7. ขอเสนอแนะ

ในสภาพของเศรษฐกิจในปจจุบันนั้นมีการแขงขันกันอยางรุนแรง และมีการพัฒนาเทคโนโลยีไปอยาง รวดเร็ว ในการศึกษาครั้งนี้มีการศึกษาในเรื่องของปจจัยที่มีผลตอทัศนคติและการยอมรับการดาวนโหลดคอน เทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ มีขอเสนอแนะ การพัฒนา คอนเทนต ดาวนโหลดใหมีความหลากหลายและรองรับ ไดกับโทรศัพทเคลื่อนที่ทุกรุน ในปจจุบันมีการเติบโตของโทรศัพทในรูปแบบ จอทัชสกรีน ไปอยางรวดเร็วจึง ตองมีการพัฒนา คอนเทนต ดาวนโหลดสําหรับการใหบริการอยางทันสมัย และหลากหลายเพื่อสรางแรงจูงใจแก

ลูกคา และผูใหบริการควรสรางความนาเชื่อถือเกี่ยวกับการใหบริการ คอนเทนตดาวนโหลด ตรวจสอบ การใหบริการ และควรทําระบบการประกันในการใหบริการเพื่อสรางความนาเชื่อถืออีกทางหนึ่ง

การนําผลการวิจัยในครั้งนี้เพื่อนําไปใชใหเปนประโยชนหรือเพื่อเปนแนวทางในการทําวิจัยในครั้งตอไป โดยผูศึกษามีขอเสนอแนะดังนี้ ในการศึกษาครั้งนี้มีการศึกษาเฉพาะเรื่องของปจจัยที่มีผลตอทัศนคติ

และการยอมรับการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ ของผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ ของบริษัทแอดวานซ

อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) (AIS) บริษัทโทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) (DTAC) และบริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (TRUE) ที่ลงทะเบียนในเขตกรุงเทพมหานคร ในการวิจัยครั้งตอไปควรทําศึกษา เรื่องปจจัยที่มีผลตอทัศนคติและการยอมรับการดาวนโหลดคอนเทนตผานโทรศัพทเคลื่อนที่ในเครือขายอื่นๆ และในลูกคาในจังหวัดอื่นๆ ทั้งนี้เพื่อนําผลการวิจัยมาใชเปนแนวทางไปเพื่อประกอบการตัดสินใจในการทํา

(7)

8. รายการอางอิง

กาญจนา แกวเทพ, 2541. สื่อสารมวลชน: ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพภาพพิมพ.

เกศกนก อิสระชัยพิสิฐ, 2550. ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกใชและความพึงพอใจและบริการเสริมดานดาน ความบันเทิงประเภทเสียงบนโทรศัพทมือถือของวัยรุนในเขตกรุงเทพมหาหคร.วิทยานิพนธมหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ณรงค สมพงษ, 2543. สื่อมวลชนเพื่องานสงเสริม. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

เดชา ทวีอํานาจเวโรจน, 2551. พฤติกรรมการเลนเกมออนไลนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตนในเขตกรุงเทพ.

วิทยานิพนธหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาพาณิชยอิเล็กทรอนิกส บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีปทุม.

ธีรกิติ นวรัตน ณ อยุธยา, 2544. การตลาดบริการ. เชียงใหม: เอกสารประกอบการสอนภาควิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ธงชัย สันติวงษ, 2528. การตลาดสําหรับนักบริหาร. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพไทยวัฒนา พานิช.

นพดล ศรีสรรค, 2551. ความตั้งใจในการใชบริการทางการเงินผานโทรศัพทเคลื่อนที่ กรณีศึกษาธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณการเกษตร ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาพาณิชยอิเล็กทรอนิกส บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

บุญชม ศรีสะอาด, 2543. การวิจัยเบื้องตน. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สุวีริยสาสน.

ปรมะ สตะเวทิน, 2530. หลักนิเทศศาตร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพจํารัสการพิมพ.

ศรัยกร บุษยะมา, 2545. แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:

โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.

ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ, 2535. หลักการตลาด. (Principles of Marketing) กรุงเทพมหานคร: S.M. Circuit Press.

สุจิตรา บุญธรรม,2550.การสํารวจทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับปญหาการใชโทรศัพทมือถือนักศึกษา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.วิทยานิพนธหลักสูตรการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

สุนันทา วานวัฒน, 2551. ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการยอมรับโฆษณาบนโทรศัพทเคลื่อนที่ กรณีศึกษาผูใช

โทรศัพทเคลื่อนที่ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาพาณิชย

อิเล็กทรอนิกส บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

องอาจ ฤทธิ์ทองพิทักษ, 2539. พฤติกรรมการสื่อสารผานระบบเวิลดไวดเว็บของนักศึกษาในเขต

กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธมหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

อนุชิต ศิริกิจ, นพมาศ สุวชาติ, 2548. “การยอมรับของผูบริโภคตอการบริการพาณิชยบนเครือขายไรสาย.”

วารสารวิทยาการจัดการ. 4, 1 (มกราคม – มิถุนายน 48).

(8)

อภิญญา, สุวรรณี, 2548. M-Commerce: ชองทางสําหรับธุรกรรมยุคใหม. TIM 690: Seminar in Technology and Innovation Management. คณะบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ จอมเกลาธนบุรี.

Ajzen, I., 1991. “The Theory of Planned Behavior.” Organizational Behavior and Human Decision Processes, 50, 2: 179-211.

Ajzen, lcek and Martin Fishbein, 1980. Understanding Attitudes and Predicting Social Behavior.

Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall Inc.

Humayun Kabir Chowdhury, 2006. “Consumer Attitude toward Mobile Advertising an Emerging Market: An Empirical Study International.” Journal of Mobile Marketing .1,2: 10-14.

Jong Woo Jun and Sangmi Lee, 2007. “Mobile Media use and Its Impact on Consumer Attitudes toward Mobile Advertising.” International Journal of Mobile Marketing. 1, 2: 3-5.

Kotler, Philip, 1997. Marketing Management Analysis, Planning, Implementation and Control. 9th ed.

New Jersey: A Simon & Schuster Company.

Kotler, P, 2000. Marketing Management. 10th ed. Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall International.

Marko and Sami, 2007. “An Empirical of the Drives of Consumer Acceptance of Mobile Advertising.”

Journal of Interactive advertising.

Timmers. P, 1998. “Business models for electronics markets.” Electronic Markets, 8, 2: 3-8.

Referensi

Dokumen terkait

2012, 'Fuzzy failure rate for nuclear power plant probabilistic safety assessment by fault tree analysis', in C. Kahraman (ed.), Computational Intelligence Systems in