• Tidak ada hasil yang ditemukan

Health System Research

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "Health System Research"

Copied!
22
0
0

Teks penuh

(1)

Health System Research

การวิจัยระบบสาธารณสุข

1.

(2)

การวิจ ัยคืออะไร

กระบวนการคิด ท าอย่างเป็นระบบ

เพื่อค้นหาองค์ความรู้ใหม่

2.

(3)

กระบวนการแสวงหาความรู้

Tenacity ( บอกต่อๆ กันมา )

Authority ( ผู้มีอ านาจ ผู้เชี่ยวชาญ )

Intuition ( ลางสังหรณ์ ประสบการณ์ )

Trial & error ( ลองผิด ลองถูก )

Research ( กระบวนการวิจัย )

3.

(4)

Health systems research

Health systems research is an approach which aims: to improve the health of the people by making optimal use of research.

to provide relevant information to health managers and policy makers at all levels to assist them in adequate decision making.

4.

(5)

Health Systems Research aims

to help solve practical problems, target

resources on high-priority areas, improve the efficiency and effectiveness of health policies and programmes, and reduce the cost of health care.

Health systems research

5.

(6)

ลักษณะที่ส าคัญของการวิจัยระบบสาธารณสุขมี 7 ประการ

1. Focus on priority problem

มุ่งเป้าที่ปัญหาที่มีความส าค ัญเร่งด่วน 2. Action-oriented

มุ่งหาค าตอบที่สามารถน าไปปฏิบ ัติเพื่อแก้ปัญหาได้

3. Multidisplinary

ผสมผสานก ับหลายสาขาวิชา เช่น ส ังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์

4. Multisectiorial

เกี่ยวข้องก ับหลายภาคส่วน เช่น หน่วยงานต่างๆ ของภาคร ัฐ เอกชน ท้องถิ่น ชุมชน ผู้ก าหนดนโยบาย

5. Timely

สามารถให้ค าตอบหรือวิธีแก้ไขปัญหาได้ท ันเวลา 6. Effective & Affordable

ให้วิธีการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพและสามารถท าได้

7. Results easily accessible & understood

สามารถเข้าถึงและเข้าใจผลการวิจ ัยได้โดยง่าย

6.

(7)

Health System Framework

Health Service System

Physician Roles

HEALTH

Individual factors Environmental factors

Genetic

Behavioral

Mental

Spiritual

Physical

Biological

Social: Potential of Community Politic & Economic Medical Technology

Characteristic

Equity

Quality

Efficiency

Social Accountability

Relevancy

Provider

Community Supporter

Good team member

Learner

Facilitator 7.

(8)

Health Care System / Health Service System

Natural history of disease

Healthy Susceptability

Preclinical

Clinical Disability

Dead / Recover

Health service

Health promotion

Early detection

Prompt treatment Rehabilitation /

Limitation of disability Specific prevention measures

( Disease prevention )

Secondary Prevention

Tertiary Prevention

Primary Prevention

8.

(9)

สรุปข ั้นตอนการวิจ ัย

ประสบการณ์ ปัญหา ค าถามการวิจ ัย ทบทวนวรรณกรรม

ว ัตถุประสงค์ สมมติฐาน Conceptual framework

ระเบียบวิธีวิจ ัย

เก็บข้อมูลและวิเคราะห์

รายงานผล

น าไปใช้ / ขยายผล รูปแบบการศึกษา

เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล

ประชากรและกลุ่มต ัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์

9.

(10)

ทบทวนวรรณกรรม

ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ

อ่านต ารา วารสาร

ค้นใน internet

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

10.

(11)

การทบทวนวรรณกรรม

ได้ค าตอบ ไม่ได้ค าตอบ

ไม่ต้องท าวิจัย ประเด็นชัดขึ้น

ได้ค าถามวิจัยที่ชัดเจน

กรอบความคิดการวิจัยและตัวแปรที่เกี่ยวข้อง การวิจัยที่มี validity

11.

(12)

ค าถามการวิจัย คือ

ปัญหาหรือข้อสงสัยในรูปประโยคค าถามของประเด็นที่ต้องการหาค าตอบ

ลักษณะค ำถำมกำรวิจัยที่ดี ( good research question ) มีดังนี้

F easible มีควำมเป็นไปได ้ที่จะท ำกำรวิจัย

I nteresting มีควำมน่ำสนใจส ำหรับผู ้ท ำกำรวิจัย N ovel เป็นเรื่องใหม่ที่ยังไม่มีผู ้ใดท ำมำก่อน E thical ไม่ผิดจริยธรรม

R elevant มีควำมสอดคล ้องกับสถำนกำรณ์และ

ปัญหำที่เป็นอยู่

12.

(13)

ต ัวอย่างค าถามวิจ ัยเชิงปริมาณ

DESCRIPTIVE STUDY:

เด็กที่คลอดจากมารดา ที่ติดเชื้อ HIV

จะติดเชื้อ HIV กี่เปอร์เซ็นต์ ?

13.

(14)

ANALYTIC STUDY :

มีความแตกต่างกันหรือไม่ระหว่าง การติดเชื้อ HIV ของทารกที่คลอด ทางหน้าท้อง และทารกที่คลอด

ทางช่องคลอด

ต ัวอย่างค าถามวิจ ัยเชิงปริมาณ

14.

(15)

การเผชิญปัญหาชีวิต

ของหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ HIV เป็นอย่างไร ?

ท าไมจึงเป็นเช่นนี้ ?

ต ัวอย่างค าถามวิจ ัยเชิงคุณภาพ

15.

(16)

สรุปค าถามวิจ ัย ( 6 W1H )

เชิงปริมาณ

มุ่งตอบค าถาม :

who,what,where,when, whom and association

เชิงคุณภาพ

มุ่งตอบค าถาม : why and how

16.

(17)

การตั้งค าถามการวิจัย ( Formulating the research question )

ประเด็นคุณภาพบริการ ( elements of quality )

ค าถามการวิจ ัย

( research question ) Acceptability

( ความพึงพอใจ )

ผู้ป่วยว ัณโรคมีความพึงพอใจต่อการให้การบริการร ักษา หรือไม่ ?

Accessibility

(การเข้าถึงการบริการ) ปัจจ ัยใดที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการของผู้ป่วย ? Adherence

( การติดตามการร ักษา )

ร้อยละเท่าใดของผู้ป่วยว ัณโรคที่ได้ร ับการร ักษาได้ยาครบ course ?

Appropriateness

( ความเหมาะสม ) ผู้ป่วยว ัณโรคเข้าใจสื่อเอกสารแนะน าว ัณโรคที่จ ัดให้หรือไม่?

Comprehensiveness ( การผสมผสาน )

การร ักษาผู้ป่วยว ัณโรคได้ค านึงถึงการติดเชื้อ HIV ด้วย หรือไม่ ?

17.

ต ัวอย่างค าถามการวิจ ัยที่เกี่ยวก ับระบบบริการส าหร ับว ัณโรค

(18)

การตั้งค าถามการวิจัย ( Formulating the research question )

ต ัวอย่างค าถามการวิจ ัยที่เกี่ยวก ับระบบบริการส าหร ับว ัณโรค

ประเด็นคุณภาพบริการ ( elements of quality )

ค าถามการวิจ ัย

( research question )

Continuity ( ความต่อเนื่อง ) ผู้ป่วยว ัณโรคได้ร ับการร ักษาโดยแพทย์คนเดียวก ัน ตลอดหรือไม่ ?

Costs ( ค่าใช้จ่าย ) ค่าใช้จ่ายท ั้งหมดในการร ักษาว ัณโรค มีมูลค่าเท่าไหร่ ?

Coverage ( ความครอบคลุม ) ร้อยละเท่าใดของผู้ป่วยว ัณโรคที่ได้ร ับการร ักษา ?

Effectiveness ( ประสิทธิผล ) รพ.ชุมชนสามารถร ักษาว ัณโรคให้หายขาดได้เท่าไร ? ( Success rate )

Efficiency ( ประสิทธิภาพ ) การร ักษาแบบ DOTS มีประสิทธิภาพดีกว่า การร ักษาแบบเดิมหรือไม่ ?

Equity ( ความเสมอภาค ) ผู้ป่วยว ัณโรคที่มาร ับบริการได้ร ับบริการ เท่าเทียมก ันทุกคนหรือไม่ ?

18.

(19)

วัตถุประสงค์และสมมติฐาน

۞ วัตถุประสงค์

- วัตถุประสงค์หลัก - วัตถุประสงค์รอง

۞ สมมติฐาน

- เชิงพรรณนา - เชิงวิเคราะห์

19.

(20)

กรอบความคิดในการวิจ ัย (Conceptual framework)

กรอบความคิดที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของ

ตัวแปร ( variables ) ที่เกี่ยวข้องในการศึกษา

กรอบความคิดที่แสดงถึงความส ัมพ ันธ์

ของเหตุ ปัจจ ัย ก ับ ผล

20.

(21)

การเข้าถึงบริการสุขภาพ ของผู้ป่วย TB

ปัจเจกบุคคล สิ่งแวดล้อม

ระบบบริการสุขภาพ เพศ อาชีพ

ระดับการศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจ

นโยบาย 30 บาท

ระยะทาง / การเดินทาง วิถีชีวิต/ ครอบครัว

- ขั้นตอนการให้บริการและรักษา - การให้ความรู้แก่ผู้ป่วย

- ระบบการติดตามผู้ป่วย

Conceptual framework

ค าถามวิจัย : ปัจจัยใดที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพของผู้ป่วยวัณโรค ?

21.

(22)

Conceptual Framework

ระดับน ้าตาล

ปัจเจกบุคคล สิ่งแวดล้อม

ระบบบริการสุขภาพ พันธุกรรม

ความรู้ ความตระหนัก และการดูแลตนเอง (selfcare)

ผลไม้ตามฤดูกาล งานเลี้ยงรื่นเริง การศึกษา วิถีชีวิต มาตรฐานการดูแลรักษา

การให้ความรู้

ระบบการติดตามผู้ป่วย

22.

Referensi

Dokumen terkait

The group in Bindu Traditional Village is a group formed as a result of the inter- action between the residents and the community of Sengkidu Village who adhere to

เจ้าของบริการ ยืนยัน เข้าสู่ระบบ สร้าง/ยื่น ค าขอ ตรวจ/ พิจารณา หลักฐาน/ค าขอ อนุมัติ ค าขอ ช าระ ค่าธรรมเนียม ใบอนุญาตออก จัดส่ง หลักฐาน/ใบอนุญาต อิเล็กทรอนิกส์