• Tidak ada hasil yang ditemukan

CMU Intellectual Repository: กระบวนการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคเกษตรกรรมของ หมู่บ้านป่าไผ่ ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ / ไททัศน์ ภัยพิลัย

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2024

Membagikan "CMU Intellectual Repository: กระบวนการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคเกษตรกรรมของ หมู่บ้านป่าไผ่ ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ / ไททัศน์ ภัยพิลัย"

Copied!
4
0
0

Teks penuh

(1)

ชื่อเรื่องวิทยานิพนธ กระบวนการเรียนรูในการแกไขปญหาหนี้สินภาคเกษตรกรรม ของหมูบานปาไผ ตําบลแมโปง อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม

ผูเขียน นายไททัศน ภัยพิลัย

ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาสังคม)

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ อาจารย ดร.สิทธิณัฐ ประพุทธนิติสาร

บทคัดยอ

วิทยานิพนธฉบับนี้ เปนการศึกษาทางดานสังคมศาสตร ที่วิเคราะหกระบวนการเรียนรูใน การแกไขปญหาหนี้สินภาคเกษตรของเกษตรกร โดยมีวัตถุประสงคหลัก 2 ประการ คือ เพื่อศึกษา กระบวนการเรียนรูของเกษตรกร ในการวิเคราะหปญหาสาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแกไข ปญหาหนี้สินที่เกิดขึ้นในระดับครอบครัวและระดับชุมชน และ เพื่อศึกษากระบวนการแกไขปญหา ของเกษตรกรในระดับครอบครัวและระดับชุมชน ดวยการผสมผสานทุนทางสังคมและทุนจากภาย นอก ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ไดใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลจาก (1) เอกสารรายงานทางการและการวิจัย ที่เกี่ยวของ (2) การจัดเวทีประชุมกลุมยอย (3) การสังเกตการแบบมีสวนรวม และ (4) การใชแบบ สอบถามสัมภาษณครอบครัวเกษตรกร 40 ครอบครัว โดยแบงกลุมเกษตรกรเปน 2 กลุม คือ เกษตรกรกลุมกาวหนา ที่มีกิจกรรมเพื่อการแกไขปญหาหนี้สินที่หลากหลาย และเกษตรกรกลุม ผลิตซ้ํา ซึ่งมีกิจกรรมการแกไขปญหาหนี้สินไมหลากหลาย ของหมูบานปาไผ ตําบลแมโปง อําเภอ ดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม

การศึกษาพบวา ปญหาหนี้สินเปนปญหาที่เกิดขึ้นในระดับครอบครัวและชุมชน มีแนว โนมของความรุนแรงมากขึ้นตามลําดับ แตเนื่องจากเงื่อนไขที่เปนศักยภาพของชุมชนในดานตางๆ คือ ปจจัยการผลิต ทรัพยากร กลุมองคกรและกลุมอาชีพ ศักยภาพของแกนนําชุมชน และการหนุน เสริมจากภายนอก จึงทําใหระบบเศรษฐกิจของครอบครัวและชุมชนยังคงดํารงอยูไดภายใตภาวะ หนี้สินที่เพิ่มขึ้น

กระบวนการเรียนรูของเกษตรกรทั้ง 2 กลุม ในการวิเคราะหปญหาสาเหตุ ผลกระทบ และหาทางแกไขปญหาหนี้สิน มีลักษณะของการวิเคราะหแบบเชื่อมโยง แบบองครวมที่เกิดขึ้นใน ระดับครอบครัวชุมชน และระดับโครงสราง ซึ่งกอใหเกิดองคความรูเฉพาะพื้นที่ ทั้งที่เปนแบบองค

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

(2)

รวมและองคความรูเชิงลึกเฉพาะจุดในประเด็นที่เกี่ยวกับปญหาหนี้สิน เพียงแตเกษตรกรกลุมกาว หนาจะมีเงื่อนไขดานปจเจก ครอบครัว ที่เปดใหเกิดการเชื่อมโยงกับแหลงเรียนรูในชุมชนและนอก ชุมชน ทําใหมีพัฒนาการของกระบวนการเรียนรูในการหาแนวทางแกไขปญหาไดดีกวาเกษตรกร กลุมผลิตซ้ํา

องคความรูที่เกิดจากกระบวนการเรียนรูในการวิเคราะหและปฏิบัติการแกไขปญหาของ เกษตรกรทั้งสองกลุมดังกลาว มีลักษณะที่เคลื่อนไหว เนื่องจากมีพัฒนาการของการเรียนรู วิเคราะห

และปฏิบัติการ สั่งสมและพอกพูนความรูเปนวงจรตอเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ดวยเงื่อนไขปจจัยดาน ศักยภาพที่เปนทุนทางสังคมทั้งภายในชุมชนและภายนอกชุมชน

สําหรับปฏิบัติการในการนําความรูมาใชแกไขปญหาหนี้สิน พบวา ผลจากกระบวนการ เรียนรูดังกลาว ทําใหมีการใชทุนทางสังคมของพื้นที่ผสมผสานองคความรูและวิธีการแกไขจากภาย นอก เกิดกิจกรรมการแกไขใน 4 ลักษณะ คือ (1) การลดตนทุนการผลิต (2) การกระจายความเสี่ยง (3) การเพิ่มรายได (4) การลดรายจาย โดยเริ่มจากครอบครัวแกนนํา และกลุมกาวหนาที่มีพัฒนาการ ของฐานการเรียนรูเปนทุนเดิมอยูแลวกอน แตการขยายไปสูกิจกรรมรวมระดับชุมชนโดยเฉพาะใน กลุมผลิตซ้ํายังจํากัดอยู ตอเมื่อกิจกรรมประสบผลสําเร็จเปนรูปธรรม ก็ทําใหเกิดการยอมรับปฏิบัติ

ในเกษตรกรกลุมผลิตซ้ําบางราย ซึ่งกิจกรรมการแกไขปญหาหนี้สินของเกษตรกรทั้งหมด แมไมได

เปนการแกไขปญหาหนี้สินตรงๆ แตเปนกิจกรรมที่ชวยบรรเทาความรุนแรงของปญหาหนี้สินและ เกิดขึ้นในพื้นที่กอน อยางไรก็ตาม องคความรูและปฏิบัติการที่มาจากกระบวนการเรียนรูในระดับ พื้นที่ที่เชื่อมโยงสูการแกไขในระดับโครงสราง ไดเริ่มมีการวิเคราะหแลว แตการขับเคลื่อนและ ผลักดันยังอยูในระยะเริ่มตนเทานั้น

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

(3)

Thesis Title Learning Process for Agricultural Debt Solutions of Pa Phai Village, Mae Pong Sub-district, Doi Saket District, Chiang Mai Province

Author Mr. Titus Paipilai

Degree Master of Arts (Social Development) Thesis Advisor Lecturer Dr. Sidthinat Prabuddhanitisarn

ABSTRACT

This study applies social scientific analysis to understand the learning process of farmers about debt problem. It has two objectives: (1) to investigate how the farmers, through the learning process, analyze causes, impacts and solutions of household’s debt, and (2) to study how community solves this problem by integrating internal and external social cultural capitals. The data were collected from several methods: (1) secondary data from official documents and academic research (2) focus group discussions (3) participatory and non-participatory observations (4) 40 household questionnaires interviewing 2 groups of advanced farmers who have activities for managing their various debt, and conservative or reproductive ones at Pa Phai Village, Mae Pong Sub-district, Doi Saket District, Chiang Mai Province.

From the study, debt is the problem of households and community which has increasingly become serious. However, with the community potentials of maintaining means of production, natural resource, organizations and occupational groups, leaders, and other external supports, the family and community economy has still been sustained.

The learning process of farmers in analyzing causes, impacts and solutions of debt is found to be holistic, linking household, community, and market phenomena. The resulted knowledge appears to be case, time and place specific or situated rather than general one. It is found that the advanced group has more positive individual and family conditions, therefore is more articulated in liking causes, impact, and solutions than the conservative one.

The knowledge gaining from the farmer’s learning process in analyzing and managing their debt problem is a dynamic action as it has increasingly been developed from the farmers’

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

(4)

knowledge accumulation of learning, analyzing and practicing, and mobilizing potentials of social capitals both internal and outside.

For solving their debt, there are several activities including (1) minimizing agricultural costs (2) risk distribution (3) alternative income generating (4) minimizing family and social costs of consumption. These activities started from community leaders then expanded to the advanced farmers. If these activities succeed, they will be adopted by other farmers in the community.

Although these activities do not deal directly with debt, they have can reduced problem of farmers’ debts to a certain extent, at the local level. However, solving the problem at the structural level has been limited at the analytical level. Community has been at the early of stage in searching for practical means to cope with causes from market and state’s policy.

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

ÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁè

Copyright by Chiang Mai University

A l l r i g h t s r e s e r v e d

Referensi

Dokumen terkait