• Tidak ada hasil yang ditemukan

STATE AND PROBLEMS IN MANAGING QUALITY EDUCATIONAL ASSURANCE OF LOPBURI EDUCATIONAL AREA OFFICE 1

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "STATE AND PROBLEMS IN MANAGING QUALITY EDUCATIONAL ASSURANCE OF LOPBURI EDUCATIONAL AREA OFFICE 1 "

Copied!
8
0
0

Teks penuh

(1)

สภาพและปญหาการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1

STATE AND PROBLEMS IN MANAGING QUALITY EDUCATIONAL ASSURANCE OF LOPBURI EDUCATIONAL AREA OFFICE 1

ศิริพร โพธิสมภาพวงษ

นักศึกษา หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม E-mail: lookkad_lopburi@hotmail.com

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพและปญหาการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียนในเขตพี้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1 และเปรียบเทียบสภาพและปญหาการดําเนินงานการประกันคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียนเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1 จําแนกตามขนาดของโรงเรียน วุฒิการศึกษาและ ประสบการณของผูบริหารโรงเรียน กลุมตัวอยาง 160 คน ไดมาโดยการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage random Sampling) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้น และตรวจสอบ คุณภาพของเครื่องมือ โดยหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหามีคา IOC ระหวาง 0.892-0.936 หาคาความเชื่อมั่นโดยวิธี

ของครอนบาค ไดคาอัลฟา อยูระหวาง 0.985-0.989 การเก็บรวบรวมขอมูลผูวิจัยแจกแบบสอบถามและรับคืน ดวยตนเอง การวิเคราะหโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ SPSS (Statistical Package for the Social Science) หาคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รอยละ การทดสอบคาเฉลี่ยโดยการใช t-test และเปรียบเทียบความแตกตาง ของคาเฉลี่ยเปนรายคูโดยวิธีการทดสอบแอลเอสดี (Least Significant Difference Test) ผลการศึกษาพบวา สภาพการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1 โดยภาพรวมมี

การดําเนินงานมาก สําหรับปญหาโดยภาพรวมมีปญหานอย ผลการเปรียบเทียบตามวุฒิการศึกษา ประสบการณ

ของผูบริหาร และขนาดของโรงเรียน พบวา ผูบริหารของโรงเรียนที่มีวุฒิการศึกษาสูงกวาระดับปริญญาตรีมีการ ดําเนินงานมากกวาผูบริหารของโรงเรียนที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี และผูบริหารของโรงเรียนที่มีวุฒิ

การศึกษาสูงกวาระดับปริญญาตรีมีปญหาในการดําเนินงานมากกวาผูบริหารของโรงเรียนที่มีวุฒิการศึกษาระดับ ปริญญาตรี ผูบริหารของโรงเรียนที่มีประสบการณการบริหารโรงเรียนนอยกวา 10 ป มีการดําเนินงานมากกวา ผูบริหารของโรงเรียนที่มีประสบการณการบริหารโรงเรียนมากกวา 10 ป และผูบริหารที่มีประสบการณ

การบริหารโรงเรียนมากกวา 10 ป มีปญหาการดําเนินงานมากกวาผูบริหารที่มีประสบการณการบริหารโรงเรียน นอยกวา 10 ป เมื่อจําแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยภาพรวมมีการดําเนินงานไมตางกัน

คําสําคัญ :

การประกันคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพภายใน

(2)

ABSTRACT

The objectives of this study are to investigate the states and problems in managing quality educational assurance of Lopburi Educational Area Office 1, and to compare the states and problems in managing quality educational assurance of Lopburi Educational Area Office 1. The investigation and the comparison were conducted according to sizes of the schools, academic levels, and school executives’ experiences. The samples of 160 executives were selected by using multi-stage random sampling method. From instrument test by content accuracy, IOC was between 0.892-0.936 and cronbach confidence was between 0.985 – 0.989. The

questionnaires were distributed and collected by the researcher. SPSS (Statistical Package for the Social Science) was used for statistical analysis. The statistics used for the analysis of the data were descriptive statistics (arithmetic mean, standard deviation) and t-test. Different pairs of means were compared by using Least Significant Deference Test. The research findings suggest that overall managing quality educational assurance states of the sample were at a high level whereas the overall managing quality educational assurance problems of the sample were at a low level. When comparing according to school executives’ educations, the school executives who have degrees higher than bachelor’s degrees had more operational problems than the school executives who have bachelor’s degrees. According to school executives’ experience, the school executives who have less than 10-year experience had done more work related to quality education assurance than the school executives who have more than 10-year experience. Also, the school executives who have more than 10-year experience had more operational problems than the school executives who have less than 10-year experience. Finally, according to schools’ sizes, in overall, there were no differences in operation managing quality education assurance.

KEYWORDS:

Quality education assurance, Internal quality assurance

1. ความสําคัญของการศึกษา

กระบวนการบริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน เปนสิ่งที่จะสรางความเชื่อมั่นใหกับผูปกครอง และผูเกี่ยวของทุกฝายวา เมื่อบุตรหลานจบการศึกษาจากสถาบันแหงนั้น ๆ แลว จะเปนคนดี คนเกง และอยูใน สังคมอยางมีความสุข ตลอดจนสามารถมีสวนรวมในการพัฒนาสังคมใหกาวหนาไปตามกระแสโลกาภิวัฒน

และพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ไดกําหนดการ ประกันคุณภาพไวในหมวดที่ 6 วาดวยมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา โดยกําหนดใหมีการประกัน คุณภาพการศึกษาในมาตราที่ 47–51 อยางไรก็ตาม ยังมีสถานศึกษาอีกเปนจํานวนมากที่ยังไมมีความพรอมใน การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา และยังมีความตองการที่จะไดรับการพัฒนาความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ เรื่องนี้ ประกอบกับเปนเรื่องเรงดวนที่สถานศึกษาควรจะตองดําเนินการ จึงมีความจําเปนที่จะตองเรงสรางความรู

ความเขาใจเกี่ยวกับแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาใหกับสถานศึกษา ดวยเหตุนี้ ผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษา

(3)

การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1 วาไดดําเนินการไป มากนอยเพียงใด มีปญหาอุปสรรคในการดําเนินการอยางไร และโรงเรียนในแตละขนาดมีการดําเนินการประกัน คุณภาพการศึกษาแตกตางกันหรือไม เพื่อเปนขอมูลแกหนวยงานตนสังกัดในการวางแผน หาแนวทางสนับสนุน ใหโรงเรียนในสังกัดสามารถดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาใหมีคุณภาพไดมาตรฐานใกลเคียงกัน และสามารถสนองนโยบายการจัดการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพื่อศึกษาสภาพและปญหาการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดเขตพื้นที่

การศึกษาลพบุรี เขต 1

2. เพื่อเปรียบเทียบสภาพและปญหาการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดเขต พื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1 จําแนกตามขนาดของโรงเรียน ตามวุฒิการศึกษาและประสบการณของผูบริหาร โรงเรียน

3. กรอบแนวคิดในการวิจัย

4. สมมติฐานการวิจัย

1. การดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรีเขต 1 มีการดําเนินงานมากและมีปญหานอย

2. กลุมตัวอยางที่มีขนาดของโรงเรียน วุฒิการศึกษาและประสบการณบริหารโรงเรียนของผูบริหารตางกัน มีการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนตางกัน

ขนาดโรงเรียน 1. ขนาดเล็ก 2. ขนาดกลาง 3. ขนาดใหญ

วุฒิการศึกษาของผูบริหาร 1. สูงกวาปริญญาตรี

2. ปริญญาตรีหรือเทียบเทา ประสบการณบริหารโรงเรียนของ ผูบริหาร

1. นอยกวา 10 ป

2. มากกวา 10 ป

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

1. สภาพการดําเนินงานการประกัน คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดเขต พื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1

2. ปญหาการดําเนินงานการ ประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด เขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1

(4)

5. ขอบเขตของการวิจัย

ประชากรในการวิจัยในครั้งนี้ศึกษาจากผูบริหารของโรงเรียนในสังกัดเขตพื้นที่ การศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดลพบุรี เขต 1จํานวน 206 คน ไดกลุมตัวอยาง จํานวน 160 คน โดยการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage random Sampling)

6. เอกสารที่เกี่ยวของ

1. ความหมายของคุณภาพ

แซลลิส (Sallis, 1993: 24) กลาววา คุณภาพมีความหมายได 2 แนว คือ คุณภาพที่เปนจริง หมายถึง คุณภาพ ที่เปนไปตามมาตรฐานกําหนด และคุณภาพตามความรับรูเปนคุณภาพที่เปนไปตามความตองการและความพึง พอใจสูงสุดของผูบริโภค

2. ความหมายของคุณภาพการศึกษา

สมศักดิ์ สินธุระเวชญ (2541: 27) ใหความหมายวา คุณภาพการศึกษา หมายถึง การที่ผูเรียนเกิด คุณลักษณะตางๆ ครบถวนตามความคาดหวังของหลักสูตร

3. ความหมายของการประกันคุณภาพ

คัตแทนซ (Cuttance, 1994: 5) กลาววา การประกันคุณภาพ หมายถึง กลยุทธที่ไดวางแผนไวอยางเปน ระบบและปฏิบัติงานที่ไดมีการออกแบบไวเพื่อรับประกันวากระบวนการไดรับการกํากับดูแล รวมถึง การปฏิบัติงานนั้นมุงไปสูเปาหมายที่ตั้งไวอยูตลอดเวลา

4. ความหมายของการประกันคุณภาพการศึกษา

จํารัส นองมาก (2546: 17) ใหความหมายของการประกันคุณภาพการศึกษาไววา การประกันคุณภาพ การศึกษา เปนกระบวนการที่สถานศึกษากําหนดขึ้นเปนแนวปฏิบัติเพื่อใหมีความมั่นใจวา ถาทําตามกระบวนการ ที่กําหนดนี้แลว การศึกษาจะมีคุณภาพเปนที่พึงพอใจของผูรับบริการ

7. เครื่องมือการวิจัย

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้น และตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ โดยหา ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหามีคา IOC ระหวาง 0.892-0.936 หาคาความเชื่อมั่นโดยวิธีของครอนบาค ไดคาอัลฟา อยูระหวาง 0.985-0.989ซึ่งแบบสอบถาม แบงออกเปน 2 ตอน ไดแก

ตอนที่ 1 สอบถามเกี่ยวกับสถานภาพผูตอบ เปนแบบตรวจสอบรายการ

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับระดับสภาพการดําเนินงานและปญหาการประกันคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียน ตามเกณฑมาตรฐาน 4 ดาน คือ ดานผูเรียน ดานการเรียนการสอน ดานการบริหารและการจัดการศึกษา และดานการพัฒนาชุมชนแหงการเรียนรู เปนแบบประมาณคา 5 ระดับ (Rating Scale)

(5)

8. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยทําการวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for windows โดยใชคาสถิติตาง ๆ ดังนี้

1. คาสถิติพื้นฐาน ไดแก รอยละ, คาเฉลี่ย, คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2. การเปรียบเทียบสภาพและปญหาการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ตามขนาดของโรงเรียน โดยใชการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และเปรียบเทียบปญหาการดําเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ตามวุฒิการศึกษา และประสบการณของผูบริหารโรงเรียน โดยใชการทดสอบที

(t-test)

3. ทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยรายคู โดยวิธีทดสอบรายคูแอลเอสดี (Least Significant Difference Test)

9. สรุปผลและอภิปรายผล

1. การดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี

เขต 1 โดยภาพรวมมีการดําเนินงานมาก อาจเนื่องมาจากปจจุบันผูบริหารเห็นความสําคัญของการประกันคุณภาพ การศึกษา และเตรียมพรอมรับการประกันคุณภาพจากภายนอกจึงเปนเรื่องปกติที่ตองมีสภาพการดําเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษาอยูในระดับที่มาก ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ วิลาวัลย ศรีแผว (2546: บทคัดยอ) และสอดคลองกับงานวิจัย ของทนงศักดิ์ โรจนบูรณาวงศ (2550: บทคัดยอ)

2. ปญหาการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานของโรงเรียน ในเขตพื้นที่การศึกษา ลพบุรี เขต 1 โดยภาพรวมมีปญหานอย เมื่อพิจารณารายดานพบวา ดานผูเรียน ดานการจัดการเรียนการสอน และดานการบริหารและการจัดการศึกษา อยูในระดับนอย ซึ่งสอดคลองกับสภาพการดําเนินการ เมื่อมีการดําเนิน งานการประกันคุณภาพการศึกษามากปญหายอมเกิดนอย และสอดคลองกับงานวิจัยของ วิลาวัลย ศรีแผว (2546:

71) ที่เปนเชนนี้อาจเปนเพราะวาการดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาถูกกําหนดขึ้นตามพระราชบัญญัติ

การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 ระบุวา ใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษา จัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของ กระบวนการบริหารการศึกษาที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง ในขณะที่มาตรา 49 ของพระราชบัญญัติฉบับ เดียวกันระบุถึงการประเมินคุณภาพภายนอกไววาใหมีสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเปนองคการมหาชนทําหนาที่พัฒนาเกณฑ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทําการประเมินผลการจัด การศึกษาเพื่อใหมีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา ดังนั้นปญหาก็จะหมดไปเพราะเปนการดําเนินการตาม กําหนดพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 และเปนการดําเนินการ ตามปกติของแตละสถานศึกษา สวนดานการพัฒนาชุมชนแหงการเรียนรู มีการดําเนินงานปานกลาง อาจ เนื่องมาจากผูบริหารใหความสําคัญกับผูเรียน การจัดการเรียนการสอนและบริหารภายในสถานศึกษามากกวา การใหความสําคัญกับแหลงชุมชนภายนอกสถานศึกษา ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ชวนะ คํากลา (2546: 100)

(6)

3. การดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาจําแนกตามขนาดของโรงเรียน ตามวุฒิการศึกษาและ ประสบการณของผูบริหารโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1 เมื่อจําแนกตามขนาดของโรงเรียน พบวา ในภาพรวมมีการดําเนินงานไมตางกัน แตเมื่อพิจารณารายดานแลวพบวามี 2 ดานที่ตางกัน คือ 1. ดานการบริหาร และการจัดการศึกษา พบวา โรงเรียนที่มีขนาดใหญมีการดําเนินงานมากกวาโรงเรียนที่มีขนาดเล็กและขนาดกลาง อาจเนื่องมาจากโรงเรียนที่มีขนาดใหญจะมีความพรอมในหลาย ๆ ดาน ทําใหการบริหารและการจัดการเปนไปได

ดีกวาโรงเรียนที่มีขนาดเล็กกวา 2. ดานการพัฒนาชุมชนแหงการเรียนรู พบวา โรงเรียนขนาดเล็กมีการดําเนินงาน มากกวาโรงเรียนขนาดกลาง อาจเนื่องมาจากโรงเรียนที่มีขนาดเล็กมีจํานวนนักเรียนที่ตองดูแลนอยทําใหการ เขาถึงชุมชนเปนไปไดมากกวาโรงเรียนขนาดกลาง ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ดวงฤทัย กงเวียน (2546: 55) เมื่อจําแนกตามตามวุฒิการศึกษาของผูบริหาร พบวา ผูบริหารโรงเรียนที่มีวุฒิการศึกษาสูงกวาระดับปริญญาตรีมี

การดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษามากกวาผูบริหารโรงเรียนที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี ทั้ง 4 ดาน คือ 1. ดานผูเรียน 2. ดานการจัดการเรียนการสอน 3. ดานการบริหารและการจัดการศึกษา 4. ดานการพัฒนา ชุมชนแหงการเรียนรู ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ วิชัย ตรีเล็ก(2542: 186) ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผูบริหารที่มีวุฒิ

การศึกษาสูงกวาระดับปริญญาตรีจะมีความรูความเขาใจและความตระหนักเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพ การศึกษามากกวาผูบริหารที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี สอดคลองกับรายงานสภาวะการศึกษาไทย ป 2540 ที่วาการศึกษาระดับปริญญาตรีเติบโตในทางปริมาณมาก ไมมีบรรยากาศการฝกฝนคนควาวิจัย สวนการศึกษา ระดับปริญญาโทและปริญญาเอกจะมีการศึกษาดานการวิจัย วิเคราะหบาง วิทยากร เชียงกูล (2541: 113) ซึ่งใน ระบบบริหาร ISO 9000 จะใหความสําคัญตอการตรวจติดตาม และประเมินผล เปนอยางมาก แตผูจบการศึกษา ระดับปริญญาตรียังเห็นความสําคัญในเรื่องนี้นอย เมื่อจําแนกตามประสบการณของผูบริหาร พบวา ผูบริหารที่

ประสบการณการบริหารโรงเรียนนอยกวา 10 ป มีการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษามากกวาผูบริหารที่

ประสบการณการบริหารโรงเรียนมากกวา 10 ป ทั้ง 4 ดาน คือ 1. ดานผูเรียน 2. ดานการจัดการเรียนการสอน 3. ดานการบริหารและการจัดการศึกษา 4. ดานการพัฒนาชุมชนแหงการเรียนรู ทั้งนี้อาจจะเปนเพราะวา ผูบริหาร ที่มีประสบการณบริหารโรงเรียนนอยกวา 10 ปตองเรงดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาใหเทียบเทา ผูบริหารที่มีประสบการณบริหารโรงเรียนมากกวา 10 ป ซึ่งผูบริหารที่มีประสบการณบริหารโรงเรียนมากกวา 10 ป จะมีความรูความเขาใจและประสบการณเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาที่มากกวา ซึ่งสอดคลองกับ งานวิจัยของ ดวงฤทัย กงเวียน (2546: 55)

4. ปญหาการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาตามขนาดของโรงเรียน ตามวุฒิการศึกษาและ ประสบการณของผูบริหารในเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1เมื่อจําแนกตามขนาดของโรงเรียน พบวา ใน ภาพรวม โรงเรียนขนาดกลางมีปญหาการดําเนินงานมากกวาโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนขนาดใหญ เมื่อ พิจารณารายดาน พบวา ดานผูเรียน โรงเรียนขนาดกลางมีปญหาการดําเนินงานมากกวาโรงเรียนขนาดเล็กและ โรงเรียนขนาดใหญ สวนอีก 3 ดาน คือ 1. ดานการเรียนการสอน 2. ดานการบริหารและการจัดการศึกษา 3. ดานการพัฒนาชุมชนแหงการเรียนรู พบวา โรงเรียนขนาดกลางมีปญหาการดําเนินงานมากกวาโรงเรียนขนาด เล็กและโรงเรียนขนาดใหญ และโรงเรียนขนาดเล็กมีปญหาการดําเนินงานมากกวาโรงเรียนขนาดใหญ

อาจเนื่องมาจากโรงเรียนขนาดกลางเปนโรงเรียนที่บริหารยาก เพราะความพรอมทางดาน งบประมาณ วัสดุ

อุปกรณ บุคลากร ไมครบถวน เพียงพอ เหมือนโรงเรียนขนาดใหญและไมสามารถบริหารไดอยางทั่วถึงเหมือน

(7)

โรงเรียนขนาดเล็กได สอดคลองกับงานวิจัยของ แสงทอง นอริทา (2541: บทคัดยอ) เมื่อจําแนกตามวุฒิการศึกษา ของผูบริหาร พบวา ผูบริหารโรงเรียนที่มีวุฒิการศึกษาสูงกวาระดับปริญญาตรีมีการปญหาในการดําเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษามากกวาผูบริหารโรงเรียนที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี ทั้ง 4 ดาน คือ 1. ดานผูเรียน 2. ดานการจัดการเรียนการสอน 3. ดานการบริหารและการจัดการศึกษา 4. ดานการพัฒนาชุมชน แหงการเรียนรู เมื่อจําแนกตามประสบการณของผูบริหาร พบวา ผูบริหารที่มีประสบการณการบริหารโรงเรียน มากกวา 10 ป มีปญหาการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษามากกวาผูบริหารที่ประสบการณการบริหาร โรงเรียนนอยกวา 10 ป ทั้ง 4 ดาน คือ 1. ดานผูเรียน 2. ดานการจัดการเรียนการสอน 3. ดานการบริหารและการจัด การศึกษา 4. ดานการพัฒนาชุมชนแหงการเรียนรู ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผูบริหารโรงเรียนที่มีวุฒิการศึกษาสูงกวา ปริญญาตรี หรือผูบริหารที่มีประสบการณบริหารโรงเรียนมากกวา 10 ป มีความรูความเขาใจและสามารถมองเห็น ปญหาที่เกิดขึ้นได และมุงเนนในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษามาก แตยังไมสามารถสรางความตระหนักและ ความเขาใจใหกับบุคลากรภายในโรงเรียนไดทั้งหมด

10. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช

1. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรกํากับ ดูแล เอาใจใส ใหคําแนะนําโรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียน ขนาดเล็ก ในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมากเปนพิเศษ อาจจะมี การจัดสัมมนาใหความรูกับ บุคลากรที่ปฏิบัติในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโดยตรง เพื่อใหเกิดความเขาใจ และปฏิบัติงานอยาง ถูกตอง

2. ผูบริหารโรงเรียนควรจะมีการสงเสริม สนับสนุน อํานวยความสะดวก ใหคําปรึกษา แนะนํา ดูแล ในดานของการพัฒนาชุมชนแหงการเรียนรู ใหมีการประกันคุณภาพภายในโดยทุกฝายเขามามีสวนรวม และปฏิบัติการประกันคุณภาพทุก ๆ ดานเทากัน โดยผูบริหารควรจะเปนแกนนําในการจัดทําแผน รวมทั้งกํากับ ติดตามใหมีการดําเนินงานตามแผน การนําผลจากการประเมินตนเองมาใชในการปรับปรุงสถานศึกษา เพราะการ ประกันคุณภาพการศึกษาเปนการพัฒนาอยางตอเนื่อง

3. ผูบริหารโรงเรียนควรสงเสริมใหมีการจัดทําฐานขอมูลสารสนเทศของโรงเรียนใหเปนปจจุบัน โดยมีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ เพราะขอมูลสารสนเทศที่ดี จะเปนผลตอการจัดทําแผนพัฒนา การศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป และจะสงผลตอการดําเนินงานของโรงเรียนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

4. ผูบริหารโรงเรียนควรบริหารจัดการ สงเสริม สนับสนุนในทุก ๆ กิจกรรม เล็งเห็นถึงความสําคัญ 5. และเปนแบบอยางที่ดี กิจกรรมที่ควรสงเสริม เชน จัดใหมีการฝกอบรม จัดนิทรรศการ ทําเอกสาร เผยแพร มีการประชาสัมพันธในรูปแบบตาง ๆ ที่ใหความรู และใหทุกคนที่เกี่ยวของเล็งเห็นถึงความสําคัญของ การประกันคุณภาพภายใน ที่สําคัญคือ ควรกระตุนให ครู อาจารย บุคลากรทุกคนที่เกี่ยวของเขามามีสวนรวมใน การปฏิบัติงานประกันคุณภาพภายในโรงเรียน เพื่อใหงานเกิดปญหานอยที่สุดและโรงเรียนมีคุณภาพในทุกๆ ดาน

11. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป

1. ในการทําวิจัยครั้งตอไปควรจะทําการวิจัยในเขตอื่น จังหวัดอื่นทุกภูมิภาคทั่วประเทศ หรือศึกษาเปน

(8)

2. การวิจัยครั้งตอไป ควรจะมีการเปรียบเทียบระดับการดําเนินงานและระดับปญหาการดําเนินงานการ ประกันคุณภาพการศึกษาระหวางโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1 กับโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา เขตอื่น และระหวางโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดลพบุรีกับโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดอื่น

3. ควรมีการศึกษาวิจัย โดยศึกษาขอมูลจากครูผูสอนหรือจากคณะกรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง รวมทั้ง ประชาชนทั่วไปเพื่อใหไดขอมูลที่หลากหลายยิ่งขึ้น

12. รายการอางอิง

จํารัส นองมาก, 2546. การประกันคุณภาพการศึกษา. ปฏิบัติการประกันคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพมหานคร:

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.

ชวนะ คํากลา, 2546. การประกันคุณภาพการศึกษาตามเกณฑมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา จังหวัดระนอง. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ดวงฤทัย กงเวียน, 2546. การศึกษาความสัมพันธระหวางความรูกับเจตคติตอการประกันคุณภาพการศึกษาของครู

ระดับประถมศึกษา. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

ทนงศักดิ์ โรจนบูรณาวงศ, 2550. ความรูความเขาใจและการมีสวนรวมของครูในการดําเนินงานประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา ของโรงเรียนในอําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต, ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล.

วิชัย ตรีเล็ก, 2542. ความคิดเห็นของผูบริหารและครูที่มีตอการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใชระบบบริหาร ISO 9000 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, ศึกษาศาสตร มหาวิยาลัยรามคําแหง.

วิทยากร เชียงกูล, 2541. รายงานสภาวะการศึกษาไทยป 2540. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ สํานัก นายกรัฐมนตรี. กรุงเทพมหานคร: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง.

วิลาวัลย ศรีแผว, 2546. การศึกษาสภาพและปญหาการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

สมศักดิ์ สินธุระเวชญ, 2541. ISO 9000 กับการประกันคุณภาพการศึกษา. วารสารวิชาการ, 6 (มิถุนายน): 36-42 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี, 2550. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.

2542 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545.

แสงทอง นอริทา, 2541. ศึกษาปญหาการปฏิบัติงานของโรงเรียนอาชีวศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษาและ มหาวิทยาลัยในกําแพงนครเวียงจันทร. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.

Cuttance, P, 1994. “Consumer evaluation of quality management and quality assurance system for schools”.

Paper perpared for the Austratian Quality Council Conference, 8-9 July.

Krejcie, R.V. and Morgan, D.W, 1970. “Determining sample size for research activities”. Educational and Psychological Measurement: 608-609.

Referensi

Dokumen terkait

Introduction Rhabdomyosarcoma is the most common soft tissue malignancy in children.1 However, this tumor is very rare in adults.1,2 On physical examination, rhabdomyosarcoma has