• Tidak ada hasil yang ditemukan

And to study problems, obstacles and suggestions for decision- making of the people in the selection of local leaders in Tanot Sub-district, Khiri Mat District, Sukhothai Province

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2024

Membagikan "And to study problems, obstacles and suggestions for decision- making of the people in the selection of local leaders in Tanot Sub-district, Khiri Mat District, Sukhothai Province"

Copied!
17
0
0

Teks penuh

(1)

เขตพื้นที่ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จ ังหว ัดสุโขท ัย

PEOPLE'S DECISION ON SELECTING LOCAL LEADERS IN TANOT SUB-DISTRICT,

KHIRI MAT DISTRICT, SUKHOTHAI PROVINCE พิษณุ บุญสอน และก ัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์

Pitsanu Boonsornand kampanart wongwatthanaphong

มหาวิยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

Pibulsongkram Rajabhat University E-mail: jopitsanu@gmail.com

Received 12 April 2021; Revised 20 July 2021;

Accepted 30 June 2021

บทค ัดย่อ

การศึกษาวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการตัดสินใจของ ประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่น เพื่อศึกษาการเปรียบเทียบปัจจัยส่วน บุคคลกับการตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขต พื้นที่ และเพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข ้อเสนอแนะต่อการตัดสินใจ ของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอ คีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ดำาเนินการตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ จากการ แจกแบบสอบถามกับประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ตำาบลโตนดอำาเภอ คีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย จำานวน 400 คน จากการแทนค่าในสูตรของ

“Taro Yamane” วิเคราะห์ข ้อมูลโดยใช ้โปรแกรมสำาเร็จรูปทาง สังคมศาสตร์ เพื่อหาค่าความถี่ ค่าร ้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่า t-test การทดสอบค่า F-test (One Way ANOVA)

ผลการวิจัยพบว่า 1) การตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำา ท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย โดยภาพ รวมอยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได ้/เดือน และระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่

(2)

ธันวาาคม 2564)

ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำา ท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย แตกต่าง กัน อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ปัญหา อุปสรรค และข ้อ เสนอแนะต่อปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำา ท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย พบว่า ปัญหา อุปสรรค คือ ประชาชนบางคนไม่ค่อยออกไปใช ้สิทธิเลือกตั้ง เพราะบางคนไปทำางานอยู่ต่างจังหวัดและไกลบ ้าน รวมทั้งประชาชนไม่

รับทราบการแสดงบัญชีทรัพย์สินหนี้สินของผู ้สมัครรับเลือกตั้งทั้งของ ตนและคู่สมรสทั้งก่อนและหลังดำารงตำาแหน่ง ในบางครั้งมีการทุจริตใน การเลือกตั้ง ข ้อเสนอแนะ พบว่า ควรสร ้างความรู ้ ความเข ้าใจในสิทธิ

บทบาทหน ้าที่ของประชาชนต่อการมีส่วนร่วมการเมืองท ้องถิ่น และการ ไปใช ้สิทธิเลือกตั้งเพราะเป็นการป้องกันสิทธิของตนเอง ควรมีกำาหนด ให ้ผู ้สมัครรับเลือกแสดงบัญชีทรัพย์สินหนี้สินให ้ประชาชนได ้รับทราบ รวมทั้ง มีกระบวนการการร ้องเรียนร ้องทุกข์เพื่อป้องกันการทุจริตและควรมี

บทลงโทษตามกฎหมายต่อผู ้กระทำาผิด

คำาสำาค ัญ: การตัดสินใจ, ประชาชน, การเลือกผู ้นำาท ้องถิ่น Abstract

This research study has the objectives to study the decisions of the people on the choice of local leaders To study the comparison of personal factors and people's decisions on selecting local leaders in the area. And to study problems, obstacles and suggestions for decision- making of the people in the selection of local leaders in Tanot Sub-district, Khiri Mat District, Sukhothai Province.

Carried out according to the quantitative research

methodology From the distribution of questionnaires to people living in the area of Tanot Subdistrict, Khiri Mat District Sukhothai province, number 400 people from the substitutions in the formula of "Taro Yamane" data

analyzed by using a social science package. To determine the frequency, percentage, mean, standard deviation, t- test, F-test (One Way ANOVA).

The findings were as follows: 1) People's decisions on the choice of local leaders in the area. Tanot Sub-district, Khiri Mat District, Sukhothai Province Overall, the overall

(3)

was at a high level. 2) The comparison found that people with different sex, age, education, occupation, income / month, and length of residence in different areas. There were statistically significant differences in people's

opinions towards the decision of local leaders in Tanot Sub-district, Khiri Mat District, Sukhothai Province at a level of 0.05. 3) Problems, obstacles and

recommendations on factors affecting decision-making.

Of the people in choosing local leaders in Tanot Sub- district, Khiri Mat District, Sukhothai Province, it was

found that the problem was that some people rarely went to vote. Because some people go to work in other

provinces and away from home In addition, the public is not aware of the account of assets and liabilities of both his or her candidates and their spouses before and after taking office. Occasionally, there is corruption in the elections, a suggestion found that knowledge should be created. Understanding of rights Roles and duties of the people in local politics participation And to exercise the right to vote because it is the defense of one's own rights There should be a set of applicants to choose to show the accounts of assets and liabilities to the public, including a complaint process to prevent corruption and there should be legal penalties against offenders.

Keywords: Decision, People, Selecting Local Leaders บทนำา

การบริหารราชการแผ่นดินนั้นในพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 ได ้จัดระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน ออกเป็นส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท ้องถิ่นพระราชบัญญัติสภา ตำาบลและองค์การบริหารส่วนตำาบล พ.ศ. 2537 ได ้กำาหนดให ้รูปแบบ การปกครองตำาบลเป็นนิติบุคคล มีผู ้แทนประชาชนจากหมู่บ ้านต่างๆ ประกอบเป็นสภาตำาบล ทำาหน ้าที่บริหารงานของตำาบล ส่วนตำาบลที่เข ้า หลักเกณฑ์ตามที่กฎหมายกำาหนดได ้ยกฐานะเป็นองค์กรปกครองส่วน ท ้องถิ่น เรียกว่า องค์การบริหารส่วนตำาบล มีฐานะเป็นนิติบุคคล จากผล ของกฎหมายฉบับดังกล่าว ทำาให ้จังหวัดสุโขทัยมีองค์การบริหารส่วน

(4)

ธันวาาคม 2564)

ตำาบล จำานวน 77 แห่ง โดยได ้จัดตั้งดังนี้ปี พ.ศ. 2538 จำานวน 1 แห่ง ปี พ.ศ. 2539 จำานวน 45 แห่งปี พ.ศ. 2540 จำานวน 31 แห่งและปี

พ.ศ. 2541 มีสภาตำาบลจำานวน 6 แห่ง ซึ่งพระราชบัญญัติองค์การ บริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 ได ้ปรับปรุงรูปแบบการบริหาร โดยให ้ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด มาจากการเลือกตั้ง หลักของการกระจา ยอำานาจทางการปกครอง (Decentralization) คือ การจัดระเบียบการ ปกครองซึ่งรัฐหรือส่วนกลางมอบอำานาจหน ้าที่ในการจัดทำาบริการ

สาธารณะบางอย่าง ซึ่งเดิมราชการบริหารส่วนกลางเป็นผู ้ดำาเนินงานอยู่

ในท ้องถิ่นให ้ท ้องถิ่นรับไปดำาเนินการด ้วยงบประมาณและเจ ้าหน ้าที่ของ ท ้องถิ่น โดยส่วนกลางมีหน ้าที่เพียงแต่กำากับดูแลเท่านั้น ไม่ได ้เข ้าไป บังคับบัญชาสั่งการ ซึ่งสำาหรับองค์กรปกครองส่วนท ้องถิ่นใน

ประเทศไทยนั้นแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ องค์กรปกครองส่วนท ้องถิ่น รูปแบบทั่วไประกอบด ้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล, องค์การบริหารส่วนตำาบล (อบต.) และองค์กรปกครองส่วนท ้องถิ่นรูป แบบพิเศษ คือ กรุงเทพมหานครฯ และเมืองพัทยา (กรมการปกครอง, 2562)

จากอำานาจของรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศไทย ได ้มอบอำานาจประชาธิปไตยให ้กับประชาชนทุกคนบนผืนแผ่นดินไทย ทำาให ้ประชาชนมีสิทธิเลือกตั้งผู ้นำาในทุกระดับเพื่อเป็นตัวแทนเข ้าไป บริหารงานทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท ้องถิ่นหรือเป็นกระบอก เสียงให ้ประชาชน รับฟังเสียงหรือรับฟังปัญหาที่เกิดขึ้นกับประชาชนและ นำาปัญหาเหล่านั้นเข ้าสู่กระบวนการพิจารณาหาทางแก ้ไขปัญหาให ้กับ ประชาชนซึ่งผู ้แทนท ้องถิ่นควรเป็นคนที่อาศัยอยู่ในท ้องถิ่น รับรู ้ปัญหา ของท ้องถิ่นมีคุณธรรมและรู ้จักเสียสละไม่เห็นแก่ตัวมีการหาเสียงอย่าง สร ้างสรรค์ โดยไม่ผิดกฎหมายเข ้าถึงประชาชนในพื้นที่อย่างสมำ่าเสมอ เข ้าใจปัญหาที่เกิดขึ้นและนำามาแก ้ไขโดยเสนอนโยบายที่เป็นประโยชน์

ต่อประชาชนและปฏิบัติได ้จริง และเปิดโอกาสให ้ประชาชนมีส่วนร่วมใน การแก ้ไขปัญหาและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เพื่อร่วมกันพัฒนา ท ้องถิ่นของตนเอง เป็นแบบอย่างของการรู ้จักรักษาประโยชน์ส่วนรวมมี

บทบาทในการส่งเสริมและพัฒนาประชาธิปไตย และไม่มีพฤติกรรม ฝ่าฝืนกฎหมายเลือกตั้ง (สำานักงานคณะกรรมการการกระจายอำานาจให ้ แก่องค์กรปกครองส่วนท ้องถิ่น, 2557)

ประชาชนต ้องไปเลือกตั้งด ้วยใจบริสุทธิ์ไม่รับเงินซื้อเสียงหรือผล ประโยชน์อื่นใดจากผู ้สมัคร แต่เลือกผู ้แทนที่ดีไปบริหารงบประมาณใน การพัฒนาท ้องถิ่นให ้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ หากมีการการทุจริตเลือก

(5)

ตั้งจะส่งผลเสียหายต่อท ้องถิ่นอย่างแน่นอน โดยท ้องถิ่นจะสูญเสียงบ ประมาณ ซึ่งมาจากภาษีของประชาชนในการจัดการเลือกตั้งใหม่ผู ้ แทนที่เลือกเข ้าไปจะโกงเงินภาษี ทำาให ้ท ้องถิ่นไม่ได ้รับการพัฒนา อย่างเต็มที่ ผู ้วิจัยเห็นว่าปัจจุบันการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นเพื่อให ้ได ้คนดีเข ้า มาบริหารท ้องถิ่นนั้นมีหลายปัจจัยที่เป็นตัวสนับสนุนการตัดสินใจเลือก ผู ้นำาท ้องถิ่นของประชาชน ซึ่งแต่ละบุคคลจะมีปัจจัยที่ใช ้ในการตัดสินใจ เลือกผู ้นำาท ้องถิ่นที่แตกต่างกันออกไป อาจจะด ้วยเหตุผลทางด ้านต่างๆ ที่ต่างคนต่างมุมมอง ดังนั้นผู ้วิจัยศึกษาวิจัยเรื่อง การตัดสินใจของ

ประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอ คีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ทั้งนี้เพราะว่าการทำาหน ้าที่ของผู ้นำาท ้องถิ่นจะ ต ้องมีบทบาทหน ้าที่ในการบริหารงานเพื่อตอบสนองความต ้องการของ ประชาชนในพื้นที่ รวมไปถึงการมีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชน และการพัฒนาชุมชนของตนเอง เรียกได ้ว่าบทบาทหน ้าที่

ของผู ้นำาท ้องถิ่นนั้นมีความสำาคัญเป็นอย่างมาก และยิ่งไปกว่านั้น

ตำาแหน่งของผู ้นำาท ้องถิ่นยังได ้มาจากการเลือกตั้งของประชาชนในพื้นที่

นั้น ดังนั้นการที่ประชาชนจะตัดสินใจเลือกตั้งบุคคลใดสักคนเข ้ามารับ ตำาแหน่งผู ้นำาท ้องถิ่นนั้น จะต ้องมีปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของ ประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่น เพื่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและ เศรษฐกิจภายในชุมชน หรือท ้องถิ่นของตนเอง และที่สำาคัญที่สุดเพื่อ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนนั่นเอง

วัตถุประสงค์ของการวิจ ัย

1. เพื่อศึกษาการตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่น ในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย

2. เพื่อศึกษาการเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับการตัดสินใจของ ประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอ

คีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย

3. เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข ้อเสนอแนะต่อการตัดสินใจ ของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอ คีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย

วิธีดำาเนินการวิจ ัย

การศึกษาวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ จากการแจก แบบสอบถาม โดยมีขั้นตอนการดำาเนินการดังต่อไปนี้

1. ประชากร และกลุ่มต ัวอย่าง

(6)

ธันวาาคม 2564)

1.1 ประชากร คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย จำานวน 6,924 คน

1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย จำานวน 378 คน ตัวอย่างโดยใช ้สูตร คำานวณกรณีทราบจำานวนประชากรที่แน่นอนที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

ค่าความคลาดเคลื่อน ± 5%ตามแนวคิดของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) แต่เพื่อสะดวกในการเก็บข ้อมูล ผู ้ศึกษาจึงเก็บข ้อมูลกลุ่ม ตัวอย่างทั้งหมด 400 คน

2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจ ัย เครื่องมือที่ใช ้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น แบบสอบถาม ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนที่1 ข ้อมูลทั่วไปของผู ้ตอบ แบบสอบถาม ตอนที่ 2 การตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้อง ถิ่นในเขตพื้นที่ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ตอนที่ 3 เป็น แบบสอบถามปลายเปิดเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค และข ้อเสนอแนะต่อ การตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบล โตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย

3. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ ผู ้วิจัยได ้ดำาเนินการเก็บ รวบรวมข ้อมูลมีขั้นตอน ดังนี้

1. ขอหนังสือจากวิทยาลัยการจัดการและพัฒนาท ้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการเก็บ รวบรวมข ้อมูลเพื่อใช ้ในการวิจัยต่อนายอำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย

2. จัดเตรียมแบบสอบถามให ้เพียงพอกับจำานวนประชากรกลุ่ม ตัวออย่าง แจกแบบสอบถามและเก็บรวบรวมข ้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างด ้วย ตนเองทั้งหมด จำานวน 400 ชุด

3. นำาแบบสอบถามที่ได ้รับคืน มาตรวจสอบความถูกต ้องและ ความสมบูรณ์ของการตอบแบบสอบถาม และนำาแบบสอบถามที่ตรวจ สอบแล ้วไปวิเคราะห์ข ้อมูล

4. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ผู ้วิจัยวิเคราะห์

ข ้อมูลโดยใช ้โปรแกรมสำาเร็จรูป ซึ่งมีการประมวนผลข ้อมูลเป็นขั้นตอน ดังนี้

1. วิเคราะห์ข ้อมูลทั่วไปของผู ้ตอบแบบสอบถามประกอบด ้วย เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได ้ และระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่

เป็นแบบสอบถามลักษณะให ้เลือกตอบ (Checklists) โดยผู ้วิจัยใช ้ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) นำามาแจกแจงความถี่หา จำานวนและหาค่าร ้อยละ (Percentage)

(7)

2. วิเคราะห์การตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่น ในเขตพื้นที่ตำาบลโตนดอำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัยโดยแบ่งออกเป็น ทั้งหมด 5 ด ้าน ดังนี้ 1.ปัจจัยด ้านคุณสมบัติของผู ้สมัคร 2. ปัจจัยด ้าน พรรคการเมือง 3. ปัจจัยด ้านนโยบาย 4. ปัจจัยด ้านวิธีการหาเสียงเลือก ตั้ง 5. ปัจจัยด ้านระบบอุปถัมภ์ ซึ่งเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) โดยผู ้วิจัยได ้ใช ้สถิติเชิง

พรรณนา(Descriptive Statistics) หาค่าเฉลี่ย (Mean) และหาค่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยเกณฑ์ให ้ คะแนนที่ได ้จากการตอบแบบสอบถามครั้งนี้กำาหนดเกณฑ์ในการแปล ความหมายตามแนวทางของเบสท์ (Best : 1970) ซึ่งมีเกณฑ์การวัด ระดับการตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่

ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ดังต่อไปนี้

คะแนนเฉลี่ย 4.50 – 5.00 ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ที่สุด

คะแนนเฉลี่ย 3.50 – 4.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 2.50 – 3.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับปาน กลาง คะแนนเฉลี่ย 1.50 – 2.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับน ้อย คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับน ้อย ที่สุด

3. การทดสอบการเปรียบเทียบการตัดสินใจของประชาชนต่อ การเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนดอำาเภอคีรีมาศ จังหวัด สุโขทัยจำาแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคล สถิติที่ใช ้คือ การทดสอบค่าที (t- test) ในกรณีตัวแปรต ้นสองกลุ่ม และการทดสอบค่าเอฟ (F-test) ด ้วย วิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) ในกรณี

ตัวแปรต ้นตั้งแต่สามกลุ่มขึ้นไป

4. การวิเคราะห์ข ้อมูลจากแบบสอบถามปลายเปิดวิเคราะห์โดย ใช ้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา นำาเสนอเป็นความเรียงประกอบตาราง โดยการแจกแจงความถี่ของผู ้ตอบคำาถามปลายเปิด

กรอบแนวคิดในการวิจ ัย

จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข ้อง ผู ้วิจัยใช ้เป็น แนวทางกำาหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ดังนี้

(8)

ปัจจัยส่วนบุคคล เพศ

อายุ

ระดับการศึกษา อาชีพ

รายได ้

ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่

การตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ตำาบลโตนดอำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย ทั้งหมด 5 ด ้าน 1. ด ้านคุณสมบัติของผู ้สมัคร

2. ด ้านพรรคการเมือง

3. ด ้านนโยบาย

4. ด ้านวิธีการหาเสียงเลือกตั้ง

5. ด ้านระบบอุปถัมภ์

ธันวาาคม 2564)

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

ผลการวิจ ัย

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 การต ัดสินใจของประชาชนต่อการเลือก ผู้นำาท้องถิ่น ในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จ ังหว ัด

สุโขท ัย

ตารางที่ 1วิเคราะห์ข ้อมูลการตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำา ท ้องถิ่น ในเขตพื้นที่ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย โดยภาพรวม

การต ัดสินใจของประชาชน ( x´ ) (S.D.) แปลผล ด ้านคุณสมบัติของผู ้สมัคร 4.68 0.45 มากที่สุด

ด ้านพรรคการเมือง 4.48 0.51 มาก

ด ้านนโยบาย 4.51 0.42 มากที่สุด

ด ้านวิธีการหาเสียงเลือกตั้ง 4.05 0.49 มาก

ด ้านระบบอุปถัมภ์ 3.58 0.85 มาก

ภาพรวม 4.26 0.39 มาก

(9)

ตารางที่ 1 พบว่า การตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้อง ถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( x´ = 4.26, S.D. = 0.39) และเมื่อพิจารณาเป็น รายด ้าน พบว่า ด ้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด ้านคุณสมบัติของผู ้สมัคร (

x´ = 4.68 , S.D. = 0.45) รองลงมา คือ ด ้านนโยบาย ( x´ = 4.51 , S.D. = 0.42) ด ้านพรรคการเมือง ( x´ = 4.48 , S.D. = 0.51) ด ้านวิธีการหาเสียงเลือกตั้ง ( x´ = 4.05 , S.D. = 0.49) ด ้านระบบอุปถัมภ์ ( x´ = 3.58 , S.D. = 0.85) ตามลำาดับ

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 การเปรียบเทียบปัจจ ัยส่วนบุคคลก ับการ ต ัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู้นำาท้องถิ่นในเขตพื้นที่

ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จ ังหว ัดสุโขท ัย

ตารางที่ 2 ผลสรุปการเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับความคิดเห็นของ ประชาชนที่มีต่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ของ เทศบาลตำาบลบางกระทุ่ม อำาเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก

ต ัวแป

รต้น ต ัวแปร

ตาม ค่า t ค่า F Sig

ผลการ ศึกษา ยอม

รับ ปฏิเ สธ เพศ การตัดสิน

ใจของ ประชาชน

- 3.09

5* - 0.00

2  -

อายุ การตัดสิน ใจของ ประชาชน

- 103.

648* 0.0

00  -

การ ศึกษา

การตัดสิน ใจของ

ประชาชน - 57.3

52* 0.0

00  -

อาชีพ การตัดสิน ใจของ

ประชาชน - 25.4

41* 0.0

00  -

รายได ้/ เดือน

การตัดสิน ใจของ ประชาชน

- 7.93

2* 0.0

00  -

ระยะ เวลาที่

อยู่ใน พื้นที่

การตัดสิน ใจของ ประชาชน

- 6.06

4* 0.0

00  -

(10)

ธันวาาคม 2564)

* มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 2 การเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับการตัดสินใจ ของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอ คีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได ้/เดือน และระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อ การตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบล โตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย แตกต่างกัน (Sig. = 0.000) ดัง นั้นจึงยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว ้

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อการ ต ัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู้นำาท้องถิ่นในเขตพื้นที่

ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จ ังหว ัดสุโขท ัย

ตารางที่ 3 ปัญหา อุปสรรค และข ้อเสนอแนะต่อปัจจัยที่มีผลต่อการ ตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่

ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย

ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ความ

ถี่ (f) ประชาชนบางคนไม่

ค่อยออกไปใช ้สิทธิ

เลือกตั้ง เพราะบาง คนไปทำางานอยู่ต่าง จังหวัดและไกลบ ้าน

- ควรไปใช ้สิทธิเลือกตั้ง เพราะเป็นการป้องกันสิทธิ

ของตนเอง ควรให ้มีการ เลือกตั้งล่วงหน ้า ควร ขยายเวลาในการเลือกตั้ง ให ้มากขึ้น

- หน่วยงานราชการควรให ้ ความรู ้ในสิทธิบทบาท หน ้าที่ของประชาชนต่อ การมีส่วนร่วมการเมือง ท ้องถิ่นอย่างแท ้จริง

15

ประชาชนไม่รับทราบ การแสดงบัญชี

ทรัพย์สินหนี้สินของ ผู ้สมัครรับเลือกตั้ง ทั้งของตนและคู่

สมรสทั้งก่อนและ หลังดำารงตำาแหน่ง

- ควรมีกำาหนดให ้ผู ้สมัคร รับเลือกแสดงบัญชี

ทรัพย์สินหนี้สินทั้งของตน และคู่สมรสการแสดง บัญชีทรัพย์สินของผู ้ สมัครและครอบครัวทั้ง ก่อนและหลังดำารง

ตำาแหน่ง ให ้ประชาชนได ้

10

(11)

รับทราบ ในบางครั้งมีการ

ทุจริตในการเลือกตั้ง - สร ้างความรู ้ ความเข ้าใจ เกี่ยวกับการป้องกันการ ทุจริต โดยผ่าน

กระบวนการ การร ้องเรียน ร ้องทุกข์ เพื่อเรียกร ้องผล ประโยชน์ของส่วนรวม มิ

ให ้ตกแก่ผู ้ใดผู ้หนึ่ง และผู ้ ประพฤติผิดควรต ้องได ้รับ โทษตามกฎหมาย

8

จากตารางที่ 3 พบว่า ปัญหา อุปสรรค คือ ประชาชนบางคนไม่

ค่อยออกไปใช ้สิทธิเลือกตั้ง เพราะบางคนไปทำางานอยู่ต่างจังหวัดและ ไกลบ ้าน รวมทั้งประชาชนไม่รับทราบการแสดงบัญชีทรัพย์สินหนี้สิน ของผู ้สมัครรับเลือกตั้งทั้งของตนและคู่สมรสทั้งก่อนและหลังดำารง ตำาแหน่ง ในบางครั้งมีการทุจริตในการเลือกตั้ง ข ้อเสนอแนะ พบว่า ควร สร ้างความรู ้ ความเข ้าใจในสิทธิ บทบาทหน ้าที่ของประชาชนต่อการมี

ส่วนร่วมการเมืองท ้องถิ่น และการไปใช ้สิทธิเลือกตั้งเพราะเป็นการ ป้องกันสิทธิของตนเอง ควรมีกำาหนดให ้ผู ้สมัครรับเลือกแสดงบัญชี

ทรัพย์สินหนี้สินให ้ประชาชนได ้รับทราบ รวมทั้ง มีกระบวนการการร ้อง เรียนร ้องทุกข์เพื่อป้องกันการทุจริตและควรมีบทลงโทษตามกฎหมาย ต่อผู ้กระทำาผิด

อภิปรายผล

การต ัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู้นำาท้องถิ่นในเขต พื้นที่ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จ ังหว ัดสุโขท ัย

การตัดสินใจของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่

ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด ้าน พบว่า

1. ด ้านคุณสมบัติของผู ้สมัคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด ้าน ด ้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ เป็นผู ้ที่มี

ความซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงตรง และยุติธรรม ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า มี

ความเป็นผู ้นำาสูงประชาชนในพื้นที่สามารถพึ่งพาได ้ มีมนุษยสัมพันธ์ดี

กับประชาชนในพื้นที่ ซึ่งสอดคล ้องกับงานวิจัยของปิยะรัตน์ สน

แจ ้ง(2562) กล่าวว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู ้ แทนราษฎร : ศึกษากรณีประชาชนกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับ

(12)

ธันวาาคม 2564)

มาก เรียงลำาดับจากมากไปหาน ้อยได ้ ดังนี้ด ้านนโยบาย ด ้านคุณสมบัติ

ของผู ้สมัคร ด ้านพรรคการเมือง และด ้านวิธีการหาเสียงเลือกตั้ง 2. ด ้านพรรคการเมือง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ

พิจารณาเป็นรายด ้าน พบว่า ด ้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ พรรคการเมืองมี

บุคลากรที่เป็นที่รู ้จัก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า พรรคการเมืองเป็นที่รู ้จักและ มีชื่อเสียง มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบการทำางานได ้ มีนโยบายที่

ดีต่อประชาชนในพื้นที่ ซึ่งสอดคล ้องกับงานวิจัยของพันธุ์ทิพา อัครธีร นัย (2559) กล่าวว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู ้ แทนราษฎรจังหวัดนครนายก พบว่า พฤติกรรมการเปิดรับสื่อของ

ประชาชนชาวจังหวัดนครนายก พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ในสื่อ โทรทัศน์ ลำาดับถัดมาสื่อวิทยุ สื่อสื่อหนังสือพิมพ์ และอินเตอร์เน็ต ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู ้แทนราษฎร จังหวัดนครนายก ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด ้าน พบว่า อยู่ในระดับมากในด ้านคุณลักษณะของผู ้สมัครรองลงมาด ้านสื่อ บุคคล ด ้านพรรคการเมือง ด ้านนโยบาย และด ้านการรณรงค์หาเสียง เลือกตั้งผลพิสูจน์สมมติฐาน พบว่า อายุและอาชีพของประชาชนชาว จังหวัดนครนายกมีความสัมพันธ์กับปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการ เลือกตั้งสมาชิกสภาผู ้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก และ พฤติกรรมการ เปิดรับสื่อของชาวจังหวัดนครนายกมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับปัจจัยที่มี

ผลต่อการตัดสินใจในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู ้แทนราษฎรจังหวัด นครนายก ในภาพรวมอยู่ระดับปานกลาง

3. ด ้านนโยบาย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อ

พิจารณาเป็นรายด ้าน พบว่า ด ้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือมีการรับฟังความ คิดเห็นของประชาชนเพื่อนำาไปปรับแก ้ไขนโยบายต่างๆ ทั้งนี้อาจเป็น เพราะว่า มีแผนจัดทำาสวัสดิการต่างๆ ให ้กับประชาชน มีแผนจัดทำา บริการสาธารณะให ้ครอบคลุม เพื่อความสะดวกสบายของประชาชน ซึ่ง สอดคล ้องกับงานวิจัยของลัคนา ถูระบุตร (2561) กล่าวว่า ปัจจัยที่มีผล ต่อการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู ้แทนราษฎร(ส.ส.) กรณีศึกษา อำาเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนมี

ความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกตั้งสภาผู ้แทนราษฎร

(ส.ส.)กรณีศึกษา อำาเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา โดยรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด ้านพบว่า ด ้านคุณสมบัติส่วน บุคคลของผู ้สมัคร ด ้านนโยบายพรรค และภาพลักษณ์ของพรรคที่สังกัด อยู่ในระดับมาก แต่ด ้านผลประโยชน์หรือผลตอบแทน ด ้านความสัมพันธ์

กับผู ้สมัครอยู่ในระดับน ้อย

(13)

4. ด ้านวิธีการหาเสียงเลือกตั้ง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด ้าน พบว่า ด ้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือมีการลงพื้นที่

เพื่อนำาเสนอนโยบายและแผนงานมีค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า มีการเปิดเวทีปราศรัยตามจุดต่างๆ ทั่วทั้งพื้นที่ นำา โครงการที่เคยทำาสำาเร็จมาแล ้วจากการเป็นผู ้นำาท ้องถิ่นครั้งก่อน เพื่อนำา เสนอตัวเองให ้ได ้รับการชนะเลือกตั้งในครั้งใหม่ ซึ่งสอดคล ้องกับงาน วิจัยของชัยพจน์ จำาเริญนิติพงศ์(2557) กล่าวว่าปัจจัยที่มีผลต่อการ ตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู ้แทนราษฎรของประชาชนในเขตเลือกตั้งที่

1 จังหวัดชลบุรี ผลการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้ง

สมาชิกสภาผู ้แทนราษฎรของประชาชน เขตเลือกตั้งที่ จังหวัดชลบุรี พบ ว่า โดยภาพรวมประชาชนมีการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาผู ้แทน

ราษฎรอยู่ในระดับมาก เมื่อจำาแนกตามปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกตั้ง พบ ว่าภาพรวมปัจจัยค ้นเหตุผลในการเลือกสมาชิกสภาผู ้แทนราษฎร พบว่า อยู่ในระดับมาก จำาแนกเป็นรายด ้านดังนี้ ด ้านความคาดหวังตัวบุคคล ด ้านคุณสมบัติส่วนบุคคลของผู ้สมัคร ด ้านกลยุทธ์ในการหาเสียง ด ้าน ความสัมพันธภาพ และด ้านนโยบายพรรด และภาพลักษณ์ของพรรดที่

สังกัดพบว่า อยู่ในระดับมาก ภาพรวมปัจจัยด ้านการออกเสียงเลือกตั้ง พบว่า อยู่ในระดับมาก จำาแนกเป็นรายด ้านดังนี้ สถานภาพความรู ้สึก ทางการเมือง สภาพแวดล ้อมของช่วงเวลา สถานภาพทางเศรษฐกิจและ สังคม และสภาพทางค ้นจิตวิทยา พบว่า อยู่ในระดับมาก การมีส่วนร่วม ทางการเมือง พบว่า โดยภาพรามอยู่ในระดับมาก เมื่อจำาแนกเป็นรายข ้อ ดังนี้ การจัดกิจกรรมมนุษยชน การจัดกิจกรรมการเลือกตั้ง การจัด

กิจกรรมการรวมกลุ่มเพื่อผลประโยชน์ การจัดกิจกรรมการแสดงออก ความคิดเห็น การจัดกิจกรรมทางด ้านการเมือง พบว่าอยู่ในระดับมาก

5. ด ้านระบบอุปถัมภ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ

พิจารณาเป็นรายด ้านพบว่า ด ้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือเป็นเครือญาติญาติ

ของผู ้สมัคร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า มีความรู ้จัก สนิทสนมกับผู ้ลงสมัคร ซึ่งสอดคล ้องกับงานวิจัยของศุภเสฎฐ์ ปานคง (2558) กล่าวว่า

วัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อการเลือกตั้งผู ้นำาท ้องถิ่นจังหวัดเพชรบุรี ผลการ ศึกษาพบว่า ระดับการเลือกตั้งผู ้นำาท ้องถิ่นของประชาชนในจังหวัด

เพชรบุรีโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด ้าน พบว่า อยู่ใน ระดับปานกลางทุกด ้าน เรียงลำาดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน ้อยได ้ ดังนี้ คือ ด ้านสำานึกความชอบด ้วยเหตุผลความผูกพันทางการเมือง ส่วน ด ้านที่มีค่าเฉลี่ยน ้อยที่สุด คือ ด ้านปัจจัยทางสังคมกำาหนด

(14)

ธันวาาคม 2564)

การเปรียบเทียบปัจจ ัยส่วนบุคคลก ับการต ัดสินใจของ ประชาชนต่อการเลือกผู้นำาท้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จ ังหว ัดสุโขท ัย

การเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับการตัดสินใจของประชาชนต่อ การเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัด สุโขทัย พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได ้/เดือน และระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการตัดสินใจ ของประชาชนต่อการเลือกผู ้นำาท ้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอ คีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย แตกต่างกัน (Sig. = 0.000) ดังนั้นจึงยอมรับ สมมติฐานที่ตั้งไว ้ ซึ่งสอดคล ้องกับงานวิจัยของชัยพจน์ จำาเริญนิติพงศ์

(2557) กล่าวว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู ้แทน ราษฎรของประชาชนในเขตเลือกตั้งที่ 1 จังหวัดชลบุรี ผลการเปรียบ เทียบปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้ง พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ

ระดับการศึกษา และการรับรู ้ข่าวสารทางการเมืองและการเลือกตั้งต่าง กัน มีการตัดสินใจเลือกตั้งไม่แตกต่างกัน แต่ประชาชนที่มีอาชีพต่างกัน มีการตัดสินใจเลือกตั้งแตกต่างก ้นอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้เพราะต ้องการให ้บุคคลที่ตนชื่นชอบได ้รับการเลือกตั้ง เพื่อ เข ้าไปดำารงตำาแหน่งสำาคัญ ที่สามารถตอบสนองแนวนโยบายและให ้ ความช่วยเหลือหรือเอื้อกับอาชีพของตนจากแนวนโยบายของพรรดนั้นๆ ได ้

ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อการต ัดสินใจของ ประชาชนต่อการเลือกผู้นำาท้องถิ่นในเขตพื้นที่ ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จ ังหว ัดสุโขท ัย

ปัญหา อุปสรรค คือ ประชาชนบางคนไม่ค่อยออกไปใช ้สิทธิเลือก ตั้ง เพราะบางคนไปทำางานอยู่ต่างจังหวัดและไกลบ ้าน รวมทั้งประชาชน ไม่รับทราบการแสดงบัญชีทรัพย์สินหนี้สินของผู ้สมัครรับเลือกตั้งทั้งของ ตนและคู่สมรสทั้งก่อนและหลังดำารงตำาแหน่ง ในบางครั้งมีการทุจริตใน การเลือกตั้ง ข ้อเสนอแนะ พบว่า ควรสร ้างความรู ้ ความเข ้าใจในสิทธิ

บทบาทหน ้าที่ของประชาชนต่อการมีส่วนร่วมการเมืองท ้องถิ่น และการ ไปใช ้สิทธิเลือกตั้งเพราะเป็นการป้องกันสิทธิของตนเอง ควรมีกำาหนด ให ้ผู ้สมัครรับเลือกแสดงบัญชีทรัพย์สินหนี้สินให ้ประชาชนได ้รับทราบ รวมทั้ง มีกระบวนการการร ้องเรียนร ้องทุกข์เพื่อป้องกันการทุจริตและควร มีบทลงโทษตามกฎหมายต่อผู ้กระทำาผิด ซึ่งสอดคล ้องกับงานวิจัยของ ศุภเสฎฐ์ ปานคง (2558) ได ้ศึกษาวิจัยเรื่อง วัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อ การเลือกตั้งผู ้นำาท ้องถิ่นจังหวัดเพชรบุรี ผลการศึกษาพบว่า ข ้อเสนอ

(15)

แนวทางการพัฒนาการเลือกตั้งผู ้นำาท ้องถิ่นของประชาชนในจังหวัด เพชรบุรี มีดังนี้ 1) ให ้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงออกทางการเมือง 2) บังคับใช ้กฎหมายเลือกตั้งอย่างเคร่งครัด 3) ปลูกฝังและสร ้าง

จิตสำานึกทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยโดยให ้ความรู ้ความเข ้าใจ แก่ประขาชน 4) ปรับปรุงรูปแบบโครงสร ้างการบริหารงานของท ้องถิ่น โดยเพิ่มอำานาจหน ้าที่ให ้กับผู ้บริหาร แต่ลดอำานาจในการบริหารงานด ้าน บุคคล 5) เจ ้าหน ้าที่รัฐต ้องวางตัวเป็นกลาง 6) มีระบบการตรวจสอบ ทรัพย์สินของผู ้สมัครรับเลือกตั้ง

ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

1) ควรให ้ความรู ้เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับ นโยบายในการบริหารท ้องถิ่นกับประชาชนให ้รู ้เข ้าใจในสิทธิของ ประชาชนมากขึ้น

2) หน่วยงานราชการควรประชาสัมพันธ์ให ้ประชาชนได ้รับทราบถึง บทบาทหน ้าที่ของสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำาบลเพื่อประชาชนจะนำา ไปใช ้ในการตัดสินใจเลือกตั้งครั้งต่อไป

3) หน่วยงานราชการควรให ้ความรู ้ในสิทธิบทบาทหน ้าที่ของ ประชาชนต่อการมีส่วนร่วมการเมืองท ้องถิ่นอย่างแท ้จริง

4) หน่วยงานราชการควรส่งเสริมและให ้การศึกษาเกี่ยวกับการ พัฒนาทางการเมืองและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา กษัตริย์เป็นประมุขเพื่อให ้สอดคล ้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งส่งเสริมให ้ประชาชนได ้มาใช ้สิทธิเลือกตั้งโดยสุจริต และเที่ยงธรรม

5) หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข ้องต ้องเสริมสร ้างส่งเสริมศักยภาพ ท ้องถิ่นและความ เข ้มแข็งให ้กับชุมชนและองค์กรประชาชน โดยทุก ภาคส่วนต ้องบูรณาการวางแผนและทำาร่วมกัน และส่งเสริมควบคู่ไปกับ ระบบเศรษฐกิจชุมชน เพื่อให ้การดำาเนินงานไม่กระทบกระเทือนต่อวิถี

ชีวิตของคนในชุมชน

ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป

1) ควรศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพของปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการ ตัดสินใจเลือกตั้งผู ้บริหารท ้องถิ่นและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วน ตำาบลในเขต อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทั

(16)

ธันวาาคม 2564)

2) ควรศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพรูปแบบการบริหารงานของผู ้บริหาร ท ้องถิ่นและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำาบลในเขตพื้นที่ตำาบล โตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย

3) ควรศึกษาเกี่ยวกับความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหาร งานของผู ้บริหารท ้องถิ่นและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำาบลในเขต พื้นที่ตำาบลโตนด อำาเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย

เอกสารอ้างอิง

กรมการปกครอง (2562). องค์การบริหารส่วนจังหวัด. สืบค ้นเมื่อวันที่

1 พฤษภาคม

2563จากhttps://www.dopa.go.th/info_organ/about7/

topic31

ชัยพจน์ จำาเริญนิติพงศ์ (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือก สมาชิกสภาผู ้แทนราษฎรของประชาชนในเขตเลือกตั้งที่ 1 จังหวัดชลบุรี. (วิทยานิพนธ์การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน) มหาวิทยาลัยบูรพา.

ปิยะรัตน์ สนแจ ้ง (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิก สภาผู ้แทนราษฎร : ศึกษากรณีประชาชนกรุงเทพมหานคร. (การ ค ้นคว ้าอิสระรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารการเมือง).

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก.

พันธุ์ทิพา อัครธีรนัย (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู ้แทนราษฎรจังหวัดนครนายก. (การค ้นคว ้าอิสระรัฐ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารการเมือง). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก.

ลัคนา ถูระบุตร (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิก สภาผู ้แทนราษฎร(..) กรณีศึกษา อำาเภอโนนไทย จังหวัด นครราชสีมา. บทความรัฐประศาสนศาสตร์

ศุภเสฎฐ์ ปานคง (2559) : วัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อการเลือกตั้งผู ้นำา ท ้องถิ่นจังหวัดเพชรบุรี.ออนไลน์. สืบค ้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2563 จากhttps://research.kpru.

ac.th/sac/fileconference/18942018-05-04.pdf สำานักงานคณะกรรมการการกระจายอำานาจให ้แก่องค์กรปกครองส่วน

ท ้องถิ่น (2557).

การมีส่วนร่วมของประชาชนกับการกระจายอำานาจ. สืบค ้นเมื่อวัน ที่ 19 พฤษภาคม 2563

(17)

จากhttp://www.odloc.go.th/web/wpcontent/

uploads/2014/08/2km_001.pdf

Referensi

Dokumen terkait