• Tidak ada hasil yang ditemukan

THE RELATIONSHIP BETWEEN DEFERRED INCOME TAX AND SECVRITY PRICE OF LISTED COMPANIES ON THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "THE RELATIONSHIP BETWEEN DEFERRED INCOME TAX AND SECVRITY PRICE OF LISTED COMPANIES ON THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND"

Copied!
64
0
0

Teks penuh

(1)

ความสัมพันธ์ระหว่างภาษีเงินได้รอตัดบัญชีกับราคาหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

THE RELATIONSHIP BETWEEN DEFERRED INCOME TAX AND SECVRITY PRICE OF LISTED COMPANIES ON THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND

ณิตา บูรณะพิมพ์

มหาวิทยาลัยบูรพา 2564

(2)

ความสัมพันธ์ระหว่างภาษีเงินได้รอตัดบัญชีกับราคาหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ณิตา บูรณะพิมพ์

งานนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา

2564

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยบูรพา

(3)

THE RELATIONSHIP BETWEEN DEFERRED INCOME TAX AND SECVRITY PRICE OF LISTED COMPANIES ON THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND

NITA BOORANAPIM

AN INDEPENDENT STUDY SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE MASTER DEGREE OF ACCOUNTANCY

FACULTY OF MANAGEMENT AND TOURISM BURAPHA UNIVERSITY

2021

COPYRIGHT OF BURAPHA UNIVERSITY

(4)

คณะกรรมการควบคุมงานนิพนธ์และคณะกรรมการสอบงานนิพนธ์ได้พิจารณางาน นิพนธ์ของ ณิตา บูรณะพิมพ์ ฉบับนี้แล้ว เห็นสมควรรับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบัญชี

มหาบัณฑิต ของมหาวิทยาลัยบูรพาได้

คณะกรรมการควบคุมงานนิพนธ์

อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก

(ดร. ศิรดา จารุตกานนท์)

คณะกรรมการสอบงานนิพนธ์

ประธาน

(ดร. ศักดิ์ชาย จันทร์เรือง)

กรรมการ

(ดร. เนตรดาว ชัยเขต)

กรรมการ

(ดร. ศิรดา จารุตกานนท์)

คณะการจัดการและการท่องเที่ยวอนุมัติให้รับงานนิพนธ์ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของ การศึกษาตามหลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต ของมหาวิทยาลัยบูรพา

คณบดีคณะการจัดการและการ

ท่องเที่ยว (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรรณี พิมาพันธุ์ศรี)

วันที่ เดือน พ.ศ.

(5)

บทคัดย่อภาษาไทย

60920148: สาขาวิชา: -; บช.ม. (-) คำสำคัญ:

ณิตา บูรณะพิมพ์ : ความสัมพันธ์ระหว่างภาษีเงินได้รอตัดบัญชีกับราคาหลักทรัพย์ของ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (THE RELATIONSHIP BETWEEN

DEFERRED INCOME TAX AND SECVRITY PRICE OF LISTED COMPANIES ON THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND) คณะกรรมการควบคุมงานนิพนธ์: ศิรดา จารุตกานนท์ ปี พ.ศ. 2564.

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาษีเงินได้รอตัดบัญชีกับราคา หลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การศึกษาครั้งนี้ คือ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ยกเว้น บริษัทที่อยู่

ในกลุ่มอุตสาหกรรมธุรกิจการเงิน, กลุ่มกองทุนรวมของอุตสาหกรรมอื่นๆ และทรัสต์เพื่อการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์, บริษัทที่อยู่ระหว่างฟื้นฟูการดำเนินงานและเข้าข่ายอาจถอนเพิกถอน ในช่วงปี พ.ศ.

2558-2562

ผลการศึกษาพบว่า รายการสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีมี

ความสัมพันธ์เชิงบวกกับราคาหลักทรัพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่รายการหนี้สินภาษีเงิน ได้รอตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และรายได้ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีไม่มีความสัมพันธ์กับ ราคาหลักทรัพย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า นักลงทุนนำรายการสินทรัพย์ภาษีเงินได้

รอตัดบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินมาใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุน ในขณะที่ นักลงทุนไม่ได้

นำรายการหนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินเช่นเดียวกับรายการสินทรัพย์

ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีมาใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุน และไม่ได้นำรายการค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้รอตัด บัญชี และรายได้ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีที่เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินมาใช้ประกอบการ ตัดสินใจ

(6)

บทคัดย่อภาษาอังกฤษ

60920148: MAJOR: -; M.Acc. (-) KEYWORDS:

NITA BOORANAPIM : THE RELATIONSHIP BETWEEN DEFERRED INCOME TAX

AND SECVRITY PRICE OF LISTED COMPANIES ON THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND.

ADVISORY COMMITTEE: SIRADA JARUTAKANONT, Ph.D. 2021.

A research aims to study the relationship between deferred income tax and security price of listed companies on the Stock Exchange of Thailand. Samples are listed companies on the Stock Exchange of Thailand, excepted companies in financial industry, mutual fund groups and real estate investment trusts, recovering operations and subject to withdrawal group during year 2015-2019.

The study finds that deferred tax asset is positively related with the securities price. However, the study does not find the relationship between deferred tax liability, deferred tax expense, and deferred tax revenue with security price.

The research results show that investors use deferred tax assets shown in the statement of financial position to make investment decisions. While investors do not use deferred tax liability presented in the statement of financial position and deferred tax expense and deferred tax revenue disclosed in note to financial statements in their investment decisions.

(7)

กิตติกรรมประกาศ

กิตติกรรมประกาศ

งานศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีข้อมูลที่เป็นประโยชน์และความร่วมมือ ต่างๆ ของหลายท่าน ที่ให้การสนับสนุนข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ผู้วิจัยให้งานออกมาเสร็จสมบูรณ์ และ ขอขอบคุณ ดร.ศิรดา จารุตกานนท์ อาจารย์ประจำหลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต คณะการจัดการและการ ท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา ที่กรุณารับเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาของงานค้นคว้าอิสระในครั้งนี้ โดยสละ เวลาให้คำปรึกษาและคำแนะนำรวมทั้งให้ความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ ในการนำมาปรับปรุงและแก้ไข งานค้นคว้าอิสระให้ประสบผลสำเร็จบรรลุเป้าหมายเป็นอย่างดี และขอขอบคุณ ดร.ศักดิ์ชาย จันทร์เรือง (ประธานกรรมการ) และ ดร.เนตรดาว ชัยเขต (กรรมการ) ซึ่งทั้งสองท่านได้สละเวลามาเป็นประธาน และกรรมการในการสอบการค้นคว้าอิสระฉบับนี้ อีกทั้งยังให้คำแนะนำและเสนอแนะในการปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ เพื่อให้การค้นคว้าอิสระในครั้งนี้มีความถูกต้องเหมาะสมและสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

นอกจากนี้ผูวิจัยของกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา บุคคลภายในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อนร่วมงาน เพื่อนๆ พี่ๆน้องๆของผู้วิจัย ผู้สนับสนุนให้ทุนการศึกษา ตลอดจนศิลปินอันเป็นที่รักยิ่ง ของผู้วิจัย ได้แก่ EXO (XIUMIN, SUHO, LAY, BAEKHYUN, CHEN, CHANYEOL, KAI, SEHUN) ,

SHINee (ONEW, JONGHYUN, KEY, MINHO, TAEMIN) , LUHAN, KRIS WU และ Z.TAO ที่เป็น

ขวัญกำลังใจอย่างมากในเวลาที่ผู้วิจัย เหนื่อย ท้อ หมดกำลังใจ หรือเจออุปสรรค์มากมายในช่วงเวลา ต่างๆ และให้ความช่วยเหลือในการศึกษานนี้เป็นอย่างดีเสมอมา

หากงานค้นคว้าอิสระฉบับนี้มีข้อบกพร่องประการใด ผู้วิจัยขอน้อมรับไว้แค่เพียงผู้เดียว

ณิตา บูรณะพิมพ์

(8)

สารบัญ

หน้า บทคัดย่อภาษาไทย... ง บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ... จ กิตติกรรมประกาศ ... ฉ สารบัญ ... ช สารบัญตาราง ... ฌ สารบัญภาพ ... ญ

บทที่ 1 บทน ำ... 22

ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ ... 22

วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย ... 23

กรอบแนวคิดในกำรวิจัย ... 24

สมมติฐำนของกำรวิจัย ... 24

ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรวิจัย ... 25

ขอบเขตของกำรวิจัย ... 25

บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ... 26

2.1 กำรแสดงรำยกำรและกำรเปิดเผยข้อมูล ... 26

2.2 มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่องภำษีเงินได้ ... 29

2.3 สมมติฐำนและแนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิภำพตลำดทุน (Efficient Market) ... 32

2.4 งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ... 36

สรุปแนวคิด ทฤษฎี และงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง ... 42

บทที่ 3 ... 43

วิธีด ำเนินกำรวิจัย ... 43

(9)

3.1 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง ... 43

3.2 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ... 44

3.3 สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล ... 45

3.4 ตัวแบบที่ใช้ในกำรวิจัย ... 45

3.5 ตัวแปรและกำรวัดค่ำ ... 47

บทที่ 4 ... 28

ผลกำรวิจัย ... 28

ผลกำรวิเครำะห์สถิติเชิงพรรณนำ ... 31

ผลกำรวิเครำะห์สถิติเชิงอนุมำน ... 30

สรุปผลกำรทดสอบสมมติฐำน ... 40

บทที่ 5 ... 45

สรุปผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ ... 45

สรุปผลและอภิปรำยผลกำรวิจัย... 46

ข้อเสนอแนะในกำรศึกษำครั้งต่อไป ... 47

บรรณานุกรม ... 48

ประวัติย่อของผู้วิจัย... 53

(10)

สารบัญตาราง

หน้า

ตารางที่ 1 จ ำนวนกลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรศึกษำ ... 44

ตารางที่ 2 สรุปวิธีที่ใช้ในกำรวัดมูลค่ำของตัวแปรที่ใช้ในกำรศึกษำ ... 22

ตารางที่ 3 รำยกำรสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี (DTA) และหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี (DTL) ในงบแสดงฐำนะกำรเงินของบริษัทแยกตำมกลุ่มอุตสำหกรรม ... 29

ตารางที่ 4 กำรเปิดเผยรำยกำรค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้รอตัดบัญชี (DTE) และรำยได้ภำษีเงินได้รอตัด บัญชี (DTR) ในหมำยเหตุประกอบงบกำรเงินของบริษัทแยกตำมกลุ่มอุตสำหกรรม ... 30

ตารางที่ 5 กำรวิเครำะห์สถิติพรรณนำของตัวแปรที่ใช้ในกำรศึกษำ ... 28

ตารางที่ 6 ผลกำรวิเครำะห์ค่ำสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson correlation) ... 31

ตารางที่ 7 ผลกำรวิเครำะห์กำรถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple regression analysis)... 33

ตารางที่ 8 ผลกำรวิเครำะห์ค่ำสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ... 35

ตารางที่ 9 ผลกำรวิเครำะห์กำรถดถอยเชิงพหุคูณ ... 38

ตารางที่ 10 สรุปผลกำรทดสอบสมมติฐำน ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรำยกำรที่เกี่ยวข้องกับภำษีเงินได้ รอตัดบัญชีและรำคำหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย ... 40

(11)

สารบัญภาพ

หน้า ภำพที่ 1 กรอบแนวคิดในกำรวิจัย... 24

(12)

บทน ำ

ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ

เนื่องจำกอดีตที่ผ่ำนมำบริษัทจดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยส่วนใหญ่ ใช้วิธีกำร บัญชีภำษีเงินได้ แบบวิธีภำษีเงินได้ค้ำงจ่ำย (Tax payable method) โดยวิธีภำษีเงินได้ค้ำงจ่ำย จะ ค ำนึงถึงแต่ภำษีเงินได้ในงวดปัจจุบัน และไม่ค ำนึงถึงผลกระทบทำงภำษีในงวดของอนำคต ท ำให้

กำรรับรู้รำยกำรสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับภำษีเงินได้ในงบแสดงฐำนะกำรเงินต ่ำไป กล่ำวคือ วิธีภำษีเงินได้ค้ำงจ่ำยส่วนใหญ่ค ำนึงถึงว่ำงวดปัจจุบันจะต้องเสียภำษีจ ำนวนเท่ำไรและไม่

ค ำนึงถึงผลภำระผูกพันหรือประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในงวดของอนำคตที่จะเกิดขึ้น ซึ่งท ำให้งบ กำรเงินไม่สะท้อนฐำนะกำรเงินของกิจกำรอย่ำงแท้จริง จึงเป็นเหตุให้มีกำรก ำหนดวิธีกำรบัญชีภำษี

เงินได้อีกหนึ่งวิธี เรียกว่ำ “วิธีภำษีเงินได้รอตัดบัญชี (Deferred tax Method)”

มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่12 เรื่องภำษีเงินได้ ก ำหนดให้บริษัทที่มีส่วนได้เสียสำธำรณะ ใช้วิธีภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี (Deferred Tax Method) โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกรำคม 2556 เพื่อให้สอดคล้องกับมำตรฐำนกำรบัญชีระหว่ำงประเทศ (International Accounting

Standards: IAS) กำรใช้วิธีกำรบัญชีภำษีเงินได้ดังกล่ำวท ำให้ภำษีเงินได้ประกอบด้วยภำษีเงินได้ใน งวดปัจจุบันและภำษีเงินได้รอตัดบัญชี และท ำให้รำยได้เกิดกำรรับรู้รำยกำรสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอ ตัดบัญชีหรือหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี โดยมำตรฐำนฉบับนี้จะมำช่วยแก้ไขจุดอ่อนของวิธีภำษี

เงินได้ค้ำงจ่ำย ในเรื่องกำรไม่รับรู้รำยกำรสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับภำษีเงินได้ที่เกิดขึ้นใน อนำคตในงบแสดงฐำนะกำรเงิน

งำนวิจัยต่ำงประเทศในอดีตส่วนใหญ่ศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรำยกำรบัญชีภำษีเงิน ได้รอตัดบัญชีกับรำคำหลักทรัพย์ ซึ่งพบว่ำรำยกำรบัญชีภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีควำมสัมพันธ์กับ รำคำหลักทรัพย์ (Amir, et al., 1997; Ayers, 1998; Guenther & Sansing 2000, 2004; Dotan, 2003;

Chen, et al., 2007; Hanlon, 2005; Lev & Nissim, 2004; Diehl, 2010; Laux ,2013; Brouwer &

Naarding, 2018) ในส่วนงำนวิจัยในอดีตที่ศึกษำในประเทศไทย ได้ศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำง รำยกำรบัญชีภำษีเงินได้รอตัดบัญชีกับรำคำหลักทรัพย์ และพบว่ำรำยกำรบัญชีภำษีเงินได้รอตัด บัญชีมีควำมสัมพันธ์กับรำคำหลักทรัพย์ (วรงค์ ผ่องใส, 2549; Acaranupong, 2010; อำรีรัตน์

หิรัญร ำไพ, 2556; อภิวัฒน์ ฉิมจินดำ, 2561)

(13)

อย่ำงไรก็ตำมงำนวิจัยที่ศึกษำในประเทศไทยยังมีควำมไม่สอดคล้องของผลวิจัยที่ได้รับ เช่น งำนวิจัยของอภิวัฒน์ ฉิมจินดำ (2561) ได้ศึกษำรำยกำรบัญชีภำษีเงินได้รอตัดบัญชีโดยไม่ได้

แยกรำยกำรสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีและรำยกำรหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี พบว่ำ รำยกำร สินทรัพย์(หนี้สิน)ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีควำมสัมพันธ์เชิงลบกับรำคำหลักทรัพย์ ซึ่งขัดแย้งกับ งำนวิจัยของ อุไรรัตน์ ชูวันกลำง (2548) และ ไพฑูรย์ กอบกำญจนพฤติและคณะ(2558) ที่พบว่ำ รำยกำรบัญชีภำษีเงินได้รอตัดบัญชีไม่มีควำมสัมพันธ์กับรำคำหลักทรัพย์ Acaranupong (2010) ได้

ศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรำยกำรบัญชีภำษีเงินได้รอตัดบัญชีกับรำคำหลักทรัพย์ โดยแยกรำยกำร สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีและรำยกำรหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี พบว่ำรำยกำรสินทรัพย์

ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีควำมสัมพันธ์กับรำคำหลักทรัพย์ แต่ไม่พบควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรำยกำร หนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีและรำคำหลักทรัพย์ ซึ่งขัดแย้งกับ วรงค์ ผ่องใส (2549) และ อำรีรัตน์

หิรัญร ำไพ (2556) พบว่ำรำยกำรหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีควำมสัมพันธ์กับรำคำหลักทรัพย์

จำกผลของงำนวิจัยดังกล่ำวที่ไม่สอดคล้องกัน อำจสืบเนื่องมำจำกงำนวิจัยในอดีตได้ท ำกำรศึกษำ ในช่วงเวลำก่อนที่มำตรฐำนกำรบัญชีฉบับที่ 12 เรื่องภำษีเงินได้ จะมีผลบังคับใช้ ซึ่งกลุ่มตัวอย่ำง เป็นบริษัทที่น ำมำตรฐำนกำรบัญชีฉบับนี้มำถือปฏิบัติก่อน ซึ่งอำจมีจ ำนวนตัวอย่ำงที่ใช้ใน กำรศึกษำจ ำนวนน้อยด้วยเหตุนี้จึงท ำให้ผู้วิจัยสนใจศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรำยกำรบัญชีภำษี

เงินได้รอตัดบัญชีกับรำคำหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ว่ำ รำยกำรบัญชีที่เกิดขึ้นจำกกำรใช้วิธีภำษีเงินได้รอตัดบัญชีตำมมำตรฐำนกำรบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภำษีเงินได้(วิธีภำษีเงินได้รอตัดบัญชี) จะให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์และมีควำมเกี่ยวข้องกับกำร ตัดสินใจของนักลงทุนหรือไม่

วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย

1. เพื่อศึกษำกำรแสดงรำยกำรและกำรเปิดเผยข้อมูลของรำยกำรสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอ ตัดบัญชี หนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้รอตัดบัญชี และรำยได้ภำษีเงินได้รอตัด บัญชี ตำมมำตรฐำนกำรบัญชีฉบับที่ 12 เรื่องภำษีเงินได้ ในงบกำรเงินของบริษัทจดทะเบียนใน ตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

2. เพื่อศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรำยกำรภำษีเงินได้รอตัดบัญชีอันประกอบด้วย สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี หนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้รอตัดบัญชี และ รำยได้ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีกับรำคำหลักทรัพย์

(14)

กรอบแนวคิดในกำรวิจัย

ภำพที่ 1 กรอบแนวคิดในกำรวิจัย

สมมติฐำนของกำรวิจัย

งำนวิจัยในอดีตพบว่ำรำยกำรสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีควำมสัมพันธ์กับรำคำหลักทรัพย์

(Acaranupong, 2010) แสดงให้เห็นว่ำ รำยกำรสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีเป็นข้อมูลที่เป็น ประโยชน์และมีควำมเกี่ยวข้องกับกำรตัดสินใจของนักลงทุน จึงเป็นที่มำของสมมติฐำนที่ 1

สมมติฐำนที่ 1: สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีควำมสัมพันธ์กับรำคำหลักทรัพย์

งำนวิจัยในอดีตพบว่ำรำยกำรหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีควำมสัมพันธ์กับรำคำ หลักทรัพย์ (วรงค์ ผ่องใส, 2549; อำรีรัตน์ หิรัญร ำไพ, 2556) แสดงให้เห็นว่ำ รำยกำรหนี้สินภำษีเงิน ได้รอตัดบัญชีเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์และมีควำมเกี่ยวข้องกับกำรตัดสินใจของนักลงทุน จึงเป็น ที่มำของสมมติฐำนที่ 2

สมมติฐำนที่ 2: หนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีควำมสัมพันธ์กับรำคำหลักทรัพย์

ตัวแปรต้น

- สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี

- หนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี

- ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้รอตัดบัญชี

- รำยได้ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี

ตัวแปรควบคุม

- ส่วนของผู้ถือหุ้น - ผลกำรด ำเนินงำน - ขนำดของกิจกำร - โครงสร้ำงเงินทุน

ตัวแปรตำม รำคำหลักทรัพย์

(15)

เมื่อมีกำรบันทึกรำยกำรสินทรัพย์ (หนี้สิน) ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี จะมีผลท ำให้ต้องบันทึกรำยกำร รำยได้ (ค่ำใช้จ่ำย) ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีคู่กันเสมอ ซึ่งส่งผลกระทบต่อก ำไรสุทธิของกิจกำร โดย Phillips et al. (2003) พบว่ำ รำยกำรค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีควำมสัมพันธ์เชิงลบกับกำร จัดกำรก ำไรอย่ำงมีนัยส ำคัญทำงสถิติ สอดคล้องกับงำนวิจัยของ อำทิตย์ นิรันดรธรำกุล (2559) พบว่ำ กำรเปลี่ยนแปลงค่ำใช้จ่ำยทำงภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีควำมสัมพันธ์เชิงลบกับมูลค่ำของ กิจกำร หมำยควำมว่ำ หำกค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้รอตัดบัญชีเพิ่มขึ้น ส่งผลท ำให้ก ำไรสุทธิของบริษัท ลดลง ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อมูลค่ำกิจกำรที่จะลดลงตำมไปด้วย จึงเป็นที่มำของสมมติฐำนที่ 3 และ 4

สมมติฐำนที่ 3: ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีควำมสัมพันธ์กับรำคำหลักทรัพย์

สมมติฐำนที่ 4: รำยได้ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีมีควำมสัมพันธ์กับรำคำหลักทรัพย์

ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรวิจัย

1. ผู้ใช้งบกำรเงินและผู้บริหำรทรำบถึงผลกระทบของรำยกำรภำษีเงินได้รอตัดบัญชีที่มี

ต่อรำคำหลักทรัพย์

2. สภำวิชำชีพบัญชีในพระรำชูปถัมภ์ทรำบถึงกำรแสดงรำยกำรและกำรเปิดเผยรำยกำร ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีของกิจกำรรวมถึงผลกระทบของกำรรับรู้รำยกำรภำษีเงินได้รอตัดบัญชีของ กำรออกมำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่องภำษีเงินได้

ขอบเขตของกำรวิจัย

ขอบเขตของงำนวิจัยเรื่องควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรำยกำรบัญชีภำษีเงินได้รอตัดบัญชีกับรำคำ หลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผู้วิจัยศึกษำข้อมูลกำรเงินจำก งบแสดงฐำนะกำรเงิน งบก ำไรขำดทุน หมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน และรำคำหลักทรัพย์โดยใช้

ข้อมูลระหว่ำงปี พ.ศ. 2558-2562 จ ำนวน 5 ปี ของบริษัทที่จดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ยกเว้นกลุ่มอุตสำหกรรมธุรกิจกำรเงิน เนื่องจำกวิธีกำรทำงบัญชีและกำรแสดงรำยกำร ในงบกำรเงินมีควำมแตกต่ำงจำกกิจกำรในอุตสำหกรรมอื่น

(16)

บทที่ 2

เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง

แนวคิด ทฤษฎีและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์ในกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำง รำยกำรบัญชีภำษีเงินได้รอตัดบัญชีกับรำคำหลักทรัพย์ ประกอบด้วย

2.1 กำรแสดงรำยกำรและกำรเปิดเผยข้อมูลในงบกำรเงิน 2.2 มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่องภำษีเงินได้

2.3 สมมติฐำนและแนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิภำพตลำดทุน (Efficient Market) 2.4 งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1 กำรแสดงรำยกำรและกำรเปิดเผยข้อมูล

วัตถุประสงค์หลักของกรอบแนวคิดส ำหรับกำรรำยงำนทำงกำรเงินคือ กำรแสดงรำยกำร และกำรเปิดเผยข้อมูลทำงกำรเงินที่เกี่ยวกับทรัพยำกรเชิงเศรษฐกิจของกิจกำรและสิทธิเรียกร้องต่อ กิจกำร ซึ่งถูกน ำเสนอในงบแสดงฐำนกำรเงิน เพื่อให้ผู้ใช้งบกำรเงินทรำบข้อมูลเกี่ยวกับกำร เปลี่ยนแปลงทรัพยำกรเชิงเศรษฐกิจรวมทั้งสิทธิเรียกร้องเหล่ำนั้น เป็นผลมำจำกกำรด ำเนินงำนของ กิจกำร ตลอดจนรำยกำร เหตุกำรณ์และสถำนกำรณ์อื่น ๆ ซึ่งเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อกำร ตัดสินใจของผู้ใช้งบกำรเงินทั้งในปัจจุบันและอนำคตกำรใช้ประโยชน์จำกข้อมูลทำงกำรเงินในกำร ประเมินจ ำนวนเงินจังหวะเวลำตลอดจนควำมไม่แน่นอนของกระแสเงินสดรับสุทธิในอนำคตของ กิจกำร นอกจำกนี้ข้อมูลทำงกำรเงินนั้นยังสำมำรถช่วยประเมินมูลค่ำของกิจกำรได้ ซึ่งเป็น ประโยชน์ต่อกำรประเมินผลตอบแทนจำกตรำสำรทุนเพื่อใช้ในกำรตัดสินใจเกี่ยวกับกำรให้

ทรัพยำกรแก่กิจกำรไม่ว่ำจะเป็นกำรซื้อ ขำย หรือกำรถือครองตรำสำรทุน ทั้งนี้ กำรแสดงรำยกำร และกำรเปิดเผยข้อมูลผลกำรด ำเนินงำนของกิจกำรถูกน ำเสนอในงบก ำไรขำดทุนและก ำไรขำดทุน เบ็ดเสร็จของกิจกำรจำกกำรด ำเนินงำนอย่ำงต่อเนื่องเพื่อให้ผู้ใช้งบกำรเงินสำมำรถทรำบ

ผลตอบแทนจำกำรใช้ทรัพยำกรเชิงเศรษฐกิจของกิจกำรตลอดจนสำมำรถประเมินประสิทธิภำพ และประสิทธิผลในกำรใช้ทรัพยำกรของฝ่ำยบริหำรและกำรพยำกรณ์ผลตอบแทนในอนำคต โดย กำรแสดงรำยกำรหรือกำรเปิดเผยข้อมูลทำงกำรเงินให้มำเป็นส่วนหนึ่งของงบกำรเงินของกิจกำร ซึ่งข้อมูลทำงกำรเงินนั้น ๆ จะต้องมีควำมเป็นไปได้ค่อนข้ำงแน่นอนว่ำกิจกำรจะได้รับหรือสูญเสีย ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนำคต และ สำมำรถวัดมูลค่ำได้อย่ำงน่ำเชื่อถือ ทั้งนี้ หำกข้อมูลทำง กำรเงินดังกล่ำวไม่เป็นไปตำมเงื่อนไข กิจกำรต้องเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องไว้ในหมำยเหตุประกอบ

(17)

งบกำรเงินหำกข้อมูลทำงกำรเงินนั้นเกี่ยวข้องกับกำรตัดสินใจของนักลงทุน โดยข้อมูลทำงกำรเงินที่

แสดงในงบกำรเงินจะมีประโยชน์และมีควำมเกี่ยวข้องกับกำรตัดสินใจจะต้องมีองค์ประกอบของ ลักษณะเชิงคุณภำพ 2 ลักษณะดังนี้

1. ลักษณะเชิงคุณภำพพื้นฐำน ประกอบด้วยองค์ประกอบส ำคัญ 2 องค์ประกอบ คือ 1.1 ควำมเกี่ยวข้องกับกำรตัดสินใจ คือ ข้อมูลทำงกำรเงินที่มีควำมเกี่ยวข้องกับกำร ตัดสินใจสำมำรถท ำให้ผู้ใช้งบกำรเงินตัดสินใจแตกต่ำงกันออกไป เนื่องจำกข้อมูลทำงกำรเงินที่มี

ควำมเกี่ยวข้องกับกำรตัดสินใจสำมำรถน ำมำใช้พยำกรณ์เหตุกำรณ์ในอนำคต และสำมำรถช่วย ยืนยันหรือชี้ให้เห็นถึงผลของกำรประเมินในอดีต นอกจำกนี้ข้อมูลทำงกำรเงินที่มีควำมเกี่ยวข้องกับ กำรตัดสินใจของข้อมูลจะขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลแล้วยังขึ้นอยู่กับควำมมีสำระส ำคัญของ ข้อมูลด้วย กล่ำวคือ ข้อมูลนั้นจะมีสำระส ำคัญก็ต่อเมื่อไม่แสดงข้อมูลหรือกำรแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ ข้อเท็จจริงที่มีผลกระทบต่อผู้ใช้งบกำรเงินในกำรใช้ข้อมูลทำงกำรเงินที่มีควำมเกี่ยวข้องกับกำร ตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ ซึ่งควำมมีสำระส ำคัญของข้อมูลนั้นอำจต้องพิจำรณำจำกลักษณะหรือขนำด ของรำยกำรขึ้นอยู่กับริบทเฉพำะของแต่ละกิจกำร โดยบำงกรณีมีลักษณะของรำยกำรเพียงอย่ำง เดียวก็สำมำรถท ำให้ทรำบได้ว่ำข้อมูลนั้นมีควำมเกี่ยวข้องกับกำรตัดสินใจหรือไม่

1.2 ควำมเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม คือ ข้อมูลทำงกำรเงินที่มีวำมเป็นตัวแทนอันเที่ยง ธรรมจะต้องให้ควำมส ำคัญกับกำรแสดงเนื้อหำและควำมเป็นจริงเชิงเศรษฐกิจมำกกว่ำที่จะเป็น รูปแบบทำงกฎหมำยเพียงอย่ำงเดียว ทั้งกำรแสดงข้อมูลทำงกำรเงินที่มีควำมเป็นตัวแทนอันเที่ยง ธรรมต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้

1.2.1 ควำมครบถ้วน คือ กิจกำรต้องแสดงรำยกำรและเปิดเผยข้อมูลทำงกำรเงิน ตลอดจนกำรให้ควำมหมำยและค ำอธิบำยที่จ ำเป็นอย่ำงครบถ้วน เพื่อให้ผู้ใช้งบกำรเงินเข้ำใจ รำยกำรที่ปรำกฎอยู่นั้น และเพื่อให้ผู้ใช้งบกำรเงินไม่เข้ำใจข้อมูลทำงกำรเงินของกิจกำรผิดทั้งข้อมูล เกี่ยวกับฐำนะทำงกำรเงินและผลกำรด ำเนินงำนของกิจกำร

1.2.2 ควำมเป็นกลำง คือ กิจกำรต้องแสดงรำยกำรและเปิดเผยข้อมูลทำงกำรเงิน โดยปรำศจำกอคติหรือควำมเอนเอียง แม้ว่ำกำรแสดงรำยกำรและเปิดเผยข้อมูลทำงกำรเงินนั้นอำจ ส่งผลเสียหำยแก่กิจกำรได้

1.2.3 กำรปรำศจำกข้อผิดพลำด คือ กำรแสดงรำยกำรและเปิดเผยข้อมูลทำง กำรเงินต้องไม่มีข้อผิดพลำดหรือกำรละเว้นกำรให้ข้อมูลทำงกำรเงิน ซึ่งข้อมูลทำงกำรเงินไม่

จ ำเป็นต้องถูกต้องสมบูรณ์ทุกลักษณะ เพรำะในกำรจัดท ำข้อมูลทำงกำรเงินบำงรำยกำรขึ้นอยู่กับ กำรใช้ดุลยพินิจและกำรประมำณกำร

(18)

2. ลักษณะเชิงคุณภำพเสริม ประกอบด้วยองค์ประกอบส ำคัญ 4 องค์ประกอบ คือ 2.1 ควำมสำมำรถเปรียบเทียบได้ คือ ผู้ใช้งบกำรเงินสำมำรถใช้ประโยชน์จำกข้อมูล ทำงกำรเงินในกำรเปรียบเทียบกับกิจกำรอื่น ๆ ที่มีควำมคล้ำยกันหรือแตกต่ำงกันส ำหรับรอย ระยะเวลำเดียวกันหรือรอบระยะอื่น ๆ ของรำยงำนทำงกำรเงินได้

2.2 ควำมสำมำรพิสูจน์ยืนยันได้ คือ ผู้ใช้งบกำรเงินมีควำมรอบรู้แตกต่ำงกันและมี

ควำมเป็นอิสระจำกกันสำมำรถได้ข้อสรุปตรงกันว่ำข้อมูลทำงกำรเงินนั้นมีควำมเป็นตัวแทนอัน เที่ยงธรรมตำมปรำกฎกำรณ์เชิงเศรษฐกิจของกิจกำรที่มีกำรแสดงรำยกำรและเปิดเผยข้อมูลทำง กำรเงินในงบกำรเงิน

2.3 ควำมทันเวลำ คือ ข้อมูลทำงกำรเงินจะมีประโยชน์ต่อกำรตัดสินใจของผู้ใช้งบ กำรเงินมำกยิ่งขึ้น ก็ต่อเมื่อข้อมูลทำงกำรเงินนั้นทันเวลำ ซึ่งข้อมูลทำงกำรเงินอำจส่งผลต่อกำร ตัดสินใจของผู้ใช้งบกำรเงิน

2.4 ควำมสำมำรถเข้ำใจได้ คือ ผู้ใช้งบกำรเงินจะต้องมีควำมเข้ำใจข้อมูลทำงกำรเงิน เพื่อประโยชน์ในกำรตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผู้ใช้งบกำรเงิน โดยกิจกำรจะต้องแสดงรำยกำรและ เปิดเผยข้อมูลทำงกำรเงินด้วยกำรจัดประเภท ก ำหนดลักษณะ และกำรน ำเสนออย่ำงชัดเจนและ กระชับ ทั้งนี้ผู้ใช้งบกำรเงินต้องมีควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกิจกรรมทำงธุรกิจและกิจกรรมเชิง เศรษฐกิจอย่ำงสมเหตุสมผล รวมทั้งกำรศึกษำข้อมูลทำงกำรเงินนั้นเพิ่มเติม โดยในบำงกรณีผู้ใช้งบ กำรเงินอำจจ ำเป็นต้องขอควำมช่วยเหลือจำกที่ปรึกษำ เพื่อให้สำมำรถเข้ำใจข้อมูลทำงกำรเงินที่มี

ควำมซับซ้อนได้ดียิ่งขึ้น ถึงแม้ว่ำข้อมูลทำงกำรเงินบำงรำยกำรจะมีควำมซับซ้อนมำกก็ตำม หำก ข้อมูลทำงกำรเงินนั้นมีควำมเกี่ยวข้องกับกำรตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผู้ใช้งบกำรเงิน ข้อมูล ทำงกำรเงินนั้นก็ควรถูกแสดงรำยกำรและเปิดเผยในงบกำรเงิน โดยกิจกำรที่น ำเสนอข้อมูลไม่

สำมำรถอ้ำงได้ว่ำ ข้อมูลทำงกำรเงินนั้นไม่ควรแสดงรำยกำรและเปิดเผยในงบกำรเงิน เนื่องจำก ข้อมูลทำงกำรเงินนั้นมีควำมซับซ้อนและยำกเกินไปส ำหรับที่ผู้ใช้งบกำรเงินจะสำมำรถท ำควำม เข้ำใจได้ ทั้งนี้ ข้อมูลทำงกำรเงินจะไม่มีประโยชน์ส ำหรับผู้ใช้งบกำรเงินที่ไม่สำมำรถเข้ำใจ ควำมหมำยและค ำอธิบำยของข้อมูลทำงกำรเงินนั้น ถึงแม้ว่ำข้อมูลทำงกำรเงินนั้นจะมีควำม เกี่ยวข้องกับกำรตัดสินใจและควำมเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมก็ตำม (สภำวิชำชีพบัญชี ในพระบรม รำชูปถัมภ์, 2558)

ดังนั้นเมื่อกิจกำรจัดท ำงบกำรเงิน กิจกำรจะต้องน ำองค์ประกอบของลักษณะเชิงคุณภำพ พื้นฐำนและลักษณะเชิงคุณภำพเสริมมำใช้ในกำรพิจำรณำกำรจัดท ำงบกำรเงินของกิจกำร เพื่อให้

ข้อมูลทำงกำรเงินที่แสดงในงบกำรเงินของกิจกำรเป็นข้อมูลที่มีประโยชน์และมีควำมเกี่ยวข้องกับ กำรตัดสินใจของนักลงทุน

(19)

2.2 มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่องภำษีเงินได้

มำตรฐำนกำรบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภำษีเงินได้ เป็นมำตรฐำนกำรบัญชีฉบับหนึ่งที่น ำมำ ถือปฎิบัติกับงบกำรเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลำดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย วัตถุประสงค์

หลักของมำตรฐำนฉบับนี้ คือ เพื่อก ำหนดวิธีกำรปฎิบัติทำงบัญชีส ำหรับภำษีเงินได้ ซึ่งประเด็นหลัก ของกำรบัญชีเกี่ยวกับภำษีเงินได้อยู่ที่กำรรับรู้ผลกระทบทำงภำษีทั้งในงวดปัจจุบันและอนำคตจำก กำรได้รับประโยชน์ในอนำคตซึ่งมูลค่ำตำมบัญชีของสินทรัพย์และกำรจ่ำยช ำระในอนำคตซึ่งมูลค่ำ ตำมบัญชีของหนี้สินที่รับรู้ในงบแสดงฐำนะกำรเงินของกิจกำรและรำยกำรและเหตุกำรณ์อื่นของ งวดปัจจุบันที่รับรู้ในงบกำรเงินของกิจกำร และมำช่วยแก้ไขจุดอ่อนของหลักกำรบันทึกบัญชีแบบ วิธีภำษีเงินได้ค้ำงจ่ำย (Tax payable method) กำรบันทึกบัญชีแบบวิธีภำษีเงินได้รอตัดบัญชี

(Deferred tax method) ที่เกิดขึ้นอันเนื่องมำจกควำมแตกต่ำงของหลักกำรและช่วงเวลำกำรรับรู้

รำยกำรตำมหลักกำรทำงบัญชีและหลักกำรทำงภำษีอำกรของรำยกำรสินทรัพย์และหนี้สินในงบ แสดงฐำนะกำรเงินซึ่งเป็นผลแตกต่ำงที่เกิดขึ้นชั่วครำว ไม่ใช่เป็นผลแตกต่ำงที่เกิดขึ้นถำวร ท ำให้

กิจกำรต้องพิจำรณำผลแตกต่ำงชั่วครำวที่เกิดขึ้นและท ำควำมเข้ำใจถึงผลกระทบต่องบกำรเงิน เพื่อให้ข้อมูลในงบกำรเงินสะท้อนฐำนะกำรเงินและผลกำรด ำเนินงำนที่แท้จริงของกิจกำร หำก พิจำรณำจำกผลกระทบของสินทรัพย์และหนี้สินในงบแสดงฐำนะกำรเงิน ท ำให้กิจกำรจะต้องรับรู้

รำยกำรที่เกิดขึ้นใหม่ในงบแสดงฐำนะกำรเงิน คือ สินทรัพย์ภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี (Deferred Tax Assets: DTA) และ หนี้สินภำษีเงินได้รอกำรตัดบัญชี (Deferred Tax Liabilities: DTL) และเมื่อ มีกำรบันทึกบัญชีรำยกำรดังกล่ำวจะพบว่ำมีกำรส่งผลกระทบต่อ ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้ ซึ่งเป็นกำร เพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่งผลให้ค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้ลดลง ท ำให้ก ำไรสุทธิของ กิจกำรปรับเพิ่มขึ้น ในทำงกลับกันกำรเพิ่มขึ้นของหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี ส่งผลค่ำใช้จ่ำยภำษี

เงินได้เพิ่มขึ้น ท ำให้ก ำไรสุทธิของกิจกำรปรับลดลง เป็นผลกระทบที่ส ำคัญอย่ำงหนึ่งของกำรน ำ มำตรฐำนกำรบัญชีฉบับที่ 12 เรื่องภำษีเงินได้ มำใช้ คือ กำรเปลี่ยนแปลงในจ ำนวนของค่ำใช้จ่ำย ภำษีเงินได้นอกเหนือจำกค่ำใช้จ่ำยภำษีเงินได้ตำมจ ำนวนที่พึ่งช ำระในแต่ละรอบระยะเวลำบัญชี ท ำ ให้กิจกำรจ ำเป็นที่จะต้องสื่อสำรให้ผู้ใช้งบกำรเงินเข้ำใจถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจำกกำรเปลี่ยนแปลง นโยบำยกำรบัญชีต่อก ำไรสุทธิของกิจกำร (นัฐวุฒิ สุวรรณยั่งยืน, 2556) นอกจำกนี้สภำวิชำชีพบัญชี

ในพระบรมรำชูปถัมภ์มีควำมต้องกำรให้มำตรฐำนกำรบัญชีของไทยสอดคล้องกับมำตรฐำนกำร บัญชีระหว่ำงประเทศ (International Accounting Standards: IAS) ซึ่งเป็นประโยชน์แก่นักลงทุนใน กำรเปรียบเทียบควำมสำมำรถในกำรด ำเนินงำนของกิจกำรที่ประกอบธุรกิจในประเทศต่ำง ๆ ทั่ว โลกภำยใต้มำตรฐำนกำรบัญชีแบบเดียวกัน และน ำข้อมูลมำใช้ประกอบกำรตัดสินใจ (สุธี คทวณิช และกษิติ เกตุสุริยงค์, 2554)

(20)

ขั้นตอนกำรรับรู้รำยกำรและกำรวัดมูลค่ำสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีและหนี้สินภำษี

เงินได้รอตัดบัญชีประกอบด้วย

1. พิจำรณำมูลค่ำตำมบัญชีของรำยกำรสินทรัพย์และหนี้สินแต่ละรำยกำรที่เกี่ยวข้องกับ ภำษีเงินได้ของแต่ละกิจกำร ตำมหลักกำรทำงบัญชีของกิจกำร

2. พิจำรณำฐำนภำษีของรำยกำรสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับภำษีเงินได้ของแต่ละ กิจกำรที่รับรู้รำยกำรตำมหลักกำร กฎเกณฑ์ และนโนบำยทำงภำษีอำกรที่กิจกำรนั้นถือปฏิบัติอยู่

3. เปรียบเทียบมูลค่ำตำมบัญชีของรำยกำรสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับภำษีเงินได้

แต่ละรำยกำร ตำมข้อ 1 และ ฐำนภำษีของรำยกำรสินทรัพย์และหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับภำษีเงินได้ของ แต่ละรำยกำรตำมข้อ 2 ควำมแตกต่ำงที่เกิดขึ้นจะเรียกว่ำ “ผลแตกต่ำง”

4. พิจำรณำผลแตกต่ำงที่เกิดขึ้นตำมข้อที่ 3 ว่ำเป็น “ผลแตกต่ำงชั่วครำว” หรือ “ผล แตกต่ำงถำวร” จำกกำรพิจำรณำหำกพบว่ำผลแตกต่ำงนั้นมีกำรกลับรำยกำรในอนำคต จะเป็น “ผล แตกต่ำงชั่วครำว” แต่ถ้ำไม่มีกำรกลับรำยกำรในอนำคตจะเป็น “ผลแตกต่ำงถำวร”

5. กำรรับรู้รำยกำรสินทรัพย์และหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีจำกผลแตกต่ำงชั่วครำว โดยใช้อัตรำภำษีส ำหรับงวดบัญชีที่กิจกำรคำดว่ำจะได้รับประโยชน์จำกรำยกำรสินทรัพย์ภำษีเงิน ได้รอตัดบัญชีหรือ ตำมที่กิจกำรคำดว่ำจะจ่ำยช ำระหนี้สินภำษีเงินได้ โดยใช้อัตรำภำษีจำกหลักกำร ทำงภำษีอำกร ที่มีผลบังคับใช้หรือที่กิจกำรคำดว่ำจะมีผลบังคับใช้ภำยในสิ้นรอบระยะเวลำบัญชี

นั้น ๆ ในกรณีที่กิจกำรจะต้องเสียภำษีในอัตรำภำษีที่แตกต่ำงกันส ำหรับก ำไรในแต่ละระดับ กิจกำร ต้องวัดมูลค่ำรำยกำรสินทรัพย์ภำษีเงินได้และหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี โดยใช้อัตรำภำษีเฉลี่ยที่

กิจกำรคำดว่ำจะต้องใช้กับก ำไร (ขำดทุน) ทำงภำษี ในงวดที่กิจกำรคำดว่ำจะมีกำรกลับรำยกำรของ ผลแตกต่ำงชั่วครำวที่เกิดขึ้น

6. กิจกำรต้องพิจำรณำหลักเกณฑ์กำรรับรู้รำยกำรสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีและ หนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีดังต่อไปนี้

6.1 หลักเกณฑ์กำรรับรู้รำยกำรสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชี

กิจกำรต้องรับรู้รำยกำรสินทรัพย์ภำษีเงินได้รอตัดบัญชีจำกผลแตกต่ำงชั่วครำวที่ใช้

หักภำษีทุกรำยกำร โดยให้รับรู้รำยกำรเท่ำกับจ ำนวนที่มีควำมเป็นไปได้ค่อนข้ำงแน่ที่กิจกำรจะมี

ก ำไรทำงภำษีในอนำคตเพียงพอต่อกำรน ำผลแตกต่ำงชั่วครำวนั้นมำใช้ประโยชน์ ซึ่งกิจกำรต้อง พิจำรณำทั้งเงื่อนไขในด้ำนระยะเวลำของกำรกลับรำยกำรของผลแตกต่ำงชั่วครำวและก ำไรทำงภำษี

อำกรที่จะเกิดขึ้น

6.2 หลักเกณฑ์กำรรับรู้รำยกำรหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชี

กิจกำรต้องรับรู้รำยกำรหนี้สินภำษีเงินได้รอตัดบัญชีซึ่งเกิดจำกผลแตกต่ำงชั่วครำวที่

Referensi

Dokumen terkait

"The Effect of Return On Assets and Return On Equity To Earning Per Share and Price Book Value In Sub-Sectors of Construction Companies Listed In Indonesia Stock Exchange In 2015-2018",