• Tidak ada hasil yang ditemukan

The main river is the Mae Rim River

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "The main river is the Mae Rim River"

Copied!
2
0
0

Teks penuh

(1)

ชื่อเรื่อง ธรณีสัณฐานที่เกิดจากการกระท้าของธารน้้าในพื้นที่ลุ่มน้้าแม่ริม (Fluvial geomorphology in Mae Rim Basin)

ผู้วิจัย ใบชา วงศ์ตุ้ย

หน่วยงาน/คณะ ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ทุนอุดหนุนการวิจัย กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

ปีที่พิมพ์ 2564

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทเชิงพื้นที่ของลุ่มน้้าแม่ริม ศึกษาประเภทและ จ้าแนกชนิดของธรณีสัณฐานที่เกิดจากการกระท้าของธารน้้าแม่ริม เพื่อจัดท้าแผนที่แสดงธรณีสัณฐาน ขอบเขตพื้นที่ศึกษา คือ พื้นที่ลุ่มน้้าแม่ริมที่อยู่ในเขตต้าบลสะลวง อ้าเภอแม่ริม และต้าบลสันป่ายาง อ้าเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ครอบคลุมพื้นที่ 148.40 ตารางกิโลเมตร โดยใช้ข้อมูลแบบจ้าลองระดับสูง เชิงเลข SRTM 1 Arc-Second Global ความละเอียด 30 เมตร มาท้าการวิเคราะห์ภูมิประเทศ ค้านวณ ค่าดัชนีต้าแหน่งภูมิประเทศ(TPI)ด้วยโปรแกรม SAGA GIS

ผลการศึกษาพบว่า พื้นที่ศึกษากว่าร้อยละ 60 มีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาและเนินเขา ทางด้านตะวันตก เอียงลาดเทจากแนวตะวันตกมาทางตะวันออก มีความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 340 - 1440 เมตร หน่วยหินส่วนใหญเป็นหินตะกอนและหินแปร และหินอัคนี บริเวณที่ราบด้าน ตะวันออกพบตะกอนตะพักล้าน้้าและตะกอนธารน้้าพัดพา ล้าน้้าที่ส้าคัญคือล้าน้้าแม่ริม ลักษณะธรณี

สัณฐานสามารถจ้าแนกได้ 10 ประเภท คือ บริเวณความลาดเอียงคงที่(34.16%), ที่ราบ(19.34%), สันเขา ที่มีความลาดเอียงระดับกลาง(9.18%), ทางน้้าที่มีความเอียงระดับกลาง(8.80%), หุบเขา(8.35%), บริเวณ ที่มีความชันสูง(7.62%), สันเขาสูง(5.82%), ธารน้้า(5.34%), ทางน้้าในพื้นที่สูง(0.86%)และ สันเขาขนาด เล็ก(0.53%)

ค าส าคัญ : ธรณีสัณฐานวิทยา, การวิเคราะห์ภูมิประเทศ, ดัชนีต้าแหน่งภูมิประเทศ, ธรณีสัณฐานจากธารน้้า

(2)

Research Title: Fluvial geomorphology in Mae Rim Basin Researcher: Baicha Wongtui

Faculty/Department: Department of Geography, Faculty of Humanities and Social Sciences

Research Grant: Research Fund of Chiang Mai Rajabhat University Published Year: 2021

Abstract

The purposes of this research were to investigate the spatial context of the Mae Rim River Basin, to study the types of geomorphology and classification caused by the fluvial process of the Mae Rim River and to create a geomorphology map of the study area. The study area was the Mae Rim River basin (covering 148.40 square kilometers) located in Saluang Sub district, Mae Rim District, and San Pa Yang Sub district, Mae Taeng District, Chiang Mai Province.

Topography was analyzed by using 30-meter SRTM 1 Arc-Second Global high- level numerical model data. Then the Topographic Position Index (TPI) was calculated by using SAGA GIS.

The results showed that more than 60% of the studied areas are mountainous and hilly terrain. The area’s slopes are from west to east. The height is from 340 - 1440 meters above sea level. Most of the rock units are sedimentary and metamorphic and igneous. The sediments of the riverbeds and the stream sediments were found in the eastern plain. The main river is the Mae Rim River. In terms of geomorphology, there are 10 types of geomorphology, including areas of open slope( 3 4. 1 6 %), plains(19.34 %), midslope ridges(9.18 %), midslope drainages(8.80 %), valleys(8.35 %), upper slopes(7.62

%), high ridges(5.82 %), streams (5.34 %), upland drainages(0.86 %), and local ridges(0.53%).

Keywords: Geomorphology, Terrain analysis, TPI, Fluvial landforms

Referensi

Dokumen terkait

The group in Bindu Traditional Village is a group formed as a result of the inter- action between the residents and the community of Sengkidu Village who adhere to

1 April 2023 – pISSN: 2827-8852, eISSN: 2827-8860 Received Februari 30, 2023; Revised Maret 02, 2023; Accepted April 04, 2023 JURNAL PENDIDIKAN DAN SASTRA INGGRIS Halaman