• Tidak ada hasil yang ditemukan

View of ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "View of ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม"

Copied!
8
0
0

Teks penuh

(1)

ภาวะผูนําเชิงจริยธรรม Ethical Leadership

พระครูประโชติสารนิวิฐ1 Phrakruprachotisaniwit 1 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตรอยเอ็ด1 Mahamakut Buddhist University Roi Et Campus1 Email : sumat@gmail.com

บทคัดย&อ

สังคมปXจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากผลความกาวหนาของเทคโนโลยีการสื่อสารทําให เหตุการณ`ที่เกิดขึ้น สามารถสcงผลกระทบแพรcกระจายไปยังสcวนอื่นไดอยcางรวดเร็ว โดยเฉพาะความเสื่อม โทรมดานจริยธรรมของสังคมที่มาจากสาเหตุของการยึดวัตถุมากกวcาความดีและการแขcงขันเพื่อเอาชนะ แทนการรcวมมือ สิ่งสําคัญที่สังคมพึงปรารถนา คือ ควรเนนใหคนมีจริยธรรม มีจิตสํานึกตcอความ รับผิดชอบตcอสังคม และมีระเบียบวินัย เอื้ออํานวยในการพัฒนาบุคลากรใหมีความรับผิดชอบ สามารถ ดํารงชีวิตในสังคมที่กําลังเปลี่ยนแปลงและสามารถชcวยสรางสรรค`สังคมไดอยcางมีความสุข

คําสําคัญ : ผูนํา; ภาวะผูนํา; ภาวะผูนําเชิงจริยธรรม

ABSTRACT

Society today has changed due to the advancement of communication technology.

Make the event happen Can affect and spread quickly to other parts. In particular, the ethical degradation of society is caused by an object over virtue and competition to

overcome instead of cooperation. Important things that society desires: Is to emphasize that people have ethics Have an awareness of social responsibility and discipline Facilitate the development of personnel to be responsible Able to live in a changing society and can help create a happy society.

Keywords : Leader; Leadership; Ethical Leadership

(2)

1. บทนํา

ปXญหาทางจริยธรรมเปtนปXญหาเกี่ยวกับการกระทา กับความประพฤติที่มีความหมาย ดีชั่ว ถูก ผิด ควร ไมcควร ความประพฤติที่ผิดจริยธรรมตั้งแตcเรื่องงcายๆ ไปจนถึงเรื่องที่

สลับซับซอน และปXญหาในเรื่องการวินิจฉัยตัดสินวcา อะไรคือความประพฤติที่ดีชั่ว ถูก ผิด ควร ไมcควรถาสังคมขาดมาตรฐานในการตัดสินทางจริยธรรม ซึ่งเปtนที่ยอมรับรcวมกันยcอมทําใหปXญหา จริยธรรมในระดับปรากฏการณ`ทางสังคมแกไขไดยาก(สรรเสริญ อินทรัตน` และคณะ, 2552)

ปXจจุบันมีการพูดถึงเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมในการบริหารงานกันอยcางกวางขวาง ทั้งนี้

เนื่องจากผูบริหารที่มีความรอบรูและมีความฉลาดทางสติปXญญา(Intelligence Quotient : IQ) สูงแตcขาด จริยธรรมหรือธรรมจริยา(Moral Quotient : MQ) และขาดซึ่งความฉลาดทางดานอารมณ`(Emotional Quotient : EQ) อาจไมcเปtนที่ยอมรับจากผูใตบังคับบัญชา ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวไดเพราะบุคคล สcวนมากตองการความซื่อสัตย`และความจริงใจ เสมอตนเสมอปลายจากผูบริหารในองค`การนั้น ผูบริหารที่

มีลับลมคมในหรือไมcโปรcงใสในการทํางาน อาจไมcสามารถยืนหยัดในโลกของการเปลี่ยนแปลงที่เรียกรอง

ความเปtนหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) นั้นได (ชัยเสฎฐ` พรหมศรี, 2549) ดังนั้น ผูบริหาร ในองค`การโดยเฉพาะผูบริหารสถานศึกษา จึงเปtนความหวังของการเปtนแบบอยcางที่ดีในดานจริยธรรม แกcสังคมเพราะผูบริหารสถานศึกษาถือเปtนหัวหนา (Figurehead) คือเปtนทั้งหัวและหนาตาของ

สถานศึกษาที่สังคมเฝ|ามองอยูcเสมอ ในฐานะเปtนสถาบันหลักในสังคมผูบริหารสถานศึกษา จึงควรเปtน แบบอยcางที่ดีทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยในสถานศึกษา ผูบริหารสถานศึกษาตองเปtนผูนําทางวิชาการ

กระตุนใหครูสอนใหดีที่สุด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามวิสัยทัศน` วัตถุประสงค`ของสถานศึกษาใหได เมื่อผูบริหารสถานศึกษามีความรู ความสามารถ และมีจริยธรรมสูง ครูยcอมรักและศรัทธา ทุcมเทกําลังกาย

และกําลังใจในการทํางานใหโรงเรียนประสบความสําเร็จ โรงเรียนสามารถผลิตนักเรียนที่มีคุณภาพมี

ความรูความสามารถ เปtนเด็กดี มีความสุข มีคุณธรรมจริยธรรมและสามารถอยูcในสังคมไดอยcางมีความสุข สcวนนอกสถานศึกษาผูบริหารคือ สัญลักษณ`ของสถานศึกษา ชุมชนและผูปกครอง หากผูบริหาร สถานศึกษาเปtนเปtนผูนําที่มีจริยธรรมแลว ยcอมไดรับความไววางใจและการสนับสนุนจากชุมชน เมื่อชุมชน และผูใตบังคับบัญชาเกิดความเชื่อมั่นและศรัทธาตcอผูบริหาร การทํางานก็จะบรรลุวัตถุประสงค`ของ องค`การไดอยcางรวดเร็ว เกิดการทํางานเปtนทีมแตcในทางตรงกันขามถาผูบริหารไมcมีภาวะผูนําเชิงจริยธรรม แลว ความเชื่อถือ ความศรัทธาก็จะเสื่อมลงไป เมื่อชุมชนและผูใตบังคับบัญชาหมดความศรัทธาแลวก็ไมc เกิดความรcวมมือในการทํางานขาดการทํางานเปtนทีม วิสัยทัศน`ขององค`การที่ตั้งไวก็อาจจะไมcบรรลุ

วัตถุประสงค`ไปได ดังนั้น พฤติกรรมภาวะผูนําเชิงจริยธรรมในการบริหารสถานศึกษาของผูบริหารยcอม สcงผลตcอคุณภาพครูและคุณภาพผูเรียนอยcางหลีกเลี่ยงไมcได

(3)

2. ภาวะผูนําเชิงจริยธรรม

ภาวะผูนําเชิงจริยธรรม (Ethical Leadership) เปtนความนcาเชื่อถือไววางใจจากประชาชน เกิดจากอิทธิพลของพฤติกรรมทางจริยธรรมที่แสดงถึงความมีศักดิ์ศรีความเป~ดเผยความจงรักภักดี

ความสามารถ และความสม่ําเสมอในการบริการเปtนการแสดงออกถึงพฤติกรรมสcวนตัวและเปtนกลยุทธ`

ขององค`กรในการสรางองค`กรที่มีจริยธรรมสcงผลตcอบรรยากาศดานของจริยธรรมองค`กรภาวะผูนํา เชิงจริยธรรมตองเริ่มจากตัวผูนําที่มีคุณธรรมและมีประสิทธิผล ซึ่งจะตองมีความรอบรูดานคุณธรรม

นอกเหนือจากการสอนผูอื่นดวยคําพูดโดยการประพฤติปฏิบัติใหเปtนแบบอยcางที่ดีแกcคนทั่วไป (Hosmer, 1995)

ภาวะผูนําเชิงจริยธรรมเปรียบเสมือนการเปลี่ยนสภาพทั้งผูนํา และผูตามตามกระบวนการของ ภาวะผูนําเชิงการเปลี่ยนแปลง จะนํามาซึ่งจริยธรรมในการยกระดับความประพฤติของภาวะผูนํา ผูนําและ

ผูตามจะบรรลุถึงผลความสําเร็จสูงสุดตองเกิดการยอมรับ ชื่นชม และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ผูนําเชื่อถือในตนเอาใจใสcในสิทธิและศักยภาพของคนสรางระบบกลุcม โดยใชการนําแบบประสานความ

รcวมมือดวยการนํา ผูอื่นไปสูcการยอมรับในความรับผิดชอบของผูนําจะตองชcวยผูตามประเมินคcานิยมและ

ความตองการเพื่อที่จะยกระดับการกระทําใหสูงขึ้นจนถึงระดับคcานิยมดานอิสรภาพ ความยุติธรรม และความเทcาเทียมกัน (Moriarty, 1992)

มุมมองทางจริยธรรมของเซอร`เมอฮอร`น ใหมุมมองทางจริยธรรมแบบถือประโยชน`เปtนสําคัญ เปtนพฤติกรรมทางจริยธรรมที่คํานึงถึงการนําสิ่งที่ดีมาใหกับบุคคล เปtนแบบปXจเจกบุคคลจะขึ้นอยูcกับ ความเชื่อสcวนตัวซึ่งตองคํานึงถึงความกาวหนาในระยะยาวของผลประโยชน`สcวนตนและพยายามทําทุก วิถีทางใหไดผลประโยชน`นั้นมา มีสิทธิทางศีลธรรมดานพฤติกรรมที่จะเคารพและปกป|องสิทธิพื้นฐานของ บุคคล มีความยุติธรรมซึ่งเปtนพฤติกรรมการตัดสินใจที่มีจริยธรรมปฏิบัติตcอบุคคลอยcางเทcาเทียมกันและ ยุติธรรมตามกฎระเบียบและมาตรฐาน เชอร`มาร`ฮอม (Schermerhom, 2005)

ภาวะผูนําเชิงจริยธรรมวcาเปรียบเสมือนการเปลี่ยนสภาพ (Transformation) ทั้งผูนําและผูตาม ตามกระบวนการของภาวะผูนําเชิงการเปลี่ยนแปลง ในทายที่สุดจะนํามาซึ่งจริยธรรมในการยกระดับความ ประพฤติและการดลใจทางจริยธรรมของผูนํา นอกจากนี้พลวัตของภาวะผูนําเชิงจริยธรรมจะทําใหทั้งผูนํา และผูตามบรรลุถึงผลสําเร็จสูงสุดและเกิดการยอมรับชื่นชม และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันผูนําควรเชื่อถือ

ในคนเอาใจใสcในสิทธิและศักยภาพของคน สรางระบบกลุcมโดยใชการนําแบบประสานความรcวมมือ นําผูอื่นไปสูcการยอมรับในความรับผิดชอบและเริ่มตนการฝ•กปฏิบัติดวยตนเองกcอนการนําเป|าหมาย เชิงจริยธรรม

(4)

3. หลักการภาวะผูนําเชิงจริยธรรม

หลักการภาวะผูนําเชิงจริยธรรมซึ่งเปtนพื้นฐานสําหรับการพัฒนาภาวะผูนําเชิงจริยธรรม ประกอบดวย ความเคารพ(Respect) การบริการ(Service) ความยุติธรรม(Justice) ความซื่อสัตย`(Honesty) และสรางชุมชน(Community) (รัตติกรณ` จงวิศาล, 2556) ดังนี้

1. ผูนําที่มีจริยธรรมจะเคารพผูอื่น การปฏิบัติตcอผูอื่นดวยความเคารพ หมายถึงการปฏิบัติตcอ ผูอื่นเหมือนวcาเขาเปtนจุดหมาย ไมcใชcเปtนเครื่องมือรวมถึงตองปฏิบัติตcอการตัดสินใจและคcานิยมของผูอื่น ดวยความเคารพ ผูนําจะปลcอยใหผูตามเปtนตัวของตัวเองและเคารพวcาผูอื่นมีความแตกตcางและมีคุณคcา อยcางไมcมีเงื่อนไขผูนําจะเคารพความคิดของผูอื่นยอมรับผูอื่นในฐานะเปtนบุคคล ผูนําตองรับฟXงผูตามอยcาง ใกลชิด มีความเห็นใจอดทน และใจกวางตcอความคิดเห็นที่ขัดแยงหรือตรงกันขามกันเมื่อผูนําแสดงถึง ความเคารพตcอผูตามจะทํา ใหผูตามรูสึกวcาตนเองมีคุณคcาและมีความสามารถในการทํางาน

2. ผูนําที่มีจริยธรรมจะใหบริการผูอื่น การใหบริการเปtนตัวอยcางของแนวคิดจริยธรรมที่เห็นแกc ผลประโยชน`ของผูอื่น ผูนําจะเอาประโยชน`ของผูอื่นเปtนหลักเปtนอันดับแรก เชcน การใหคําปรึกษา พฤติกรรมการเพิ่มพลังอํานาจ(Empowerment Behaviors) การสรางทีม พฤติกรรมการเปtนสมาชิกที่ดี

ขององค`กร(Organization Citizenship Behavior) ผูนําจะมีความรับผิดชอบในการบริการผูอื่นโดยการ เอาใจใสcดูแลผูอื่น ใหบริการและตัดสินใจในทางที่กcอใหเกิดผลดีและไมcเปtนผลเสียตcอผูอื่น กลcาวไดวcา การบริ การ คือ การทําใหเกิดผลประโยชน`แกcคนหมูcมากผูนําเชิงจริยธรรมตองเต็มใจที่จะเอาผูตามเปtน

ศูนย`กลางถือเอาผลประโยชน`ของผูอื่นเปtนสิ่งแรกในการทํางานและตองปฏิบัติตนเพื่อเปtนประโยชน`

ตcอผูอื่น

3. ผูนําที่มีจริยธรรมเปtนคนยุติธรรม ผูนําเชิงจริยธรรมมีความเกี่ยวของกับประเด็นเรื่อง ความเที่ยงธรรมและความยุติธรรม ผูนําจะใหความสําคัญสูงสุดในการปฏิบัติตcอผูตามดวยความยุติธรรม หลักของความยุติธรรม คือ ผูนําตองยึดหลักความเที่ยงธรรม และยุติธรรมในการตัดสินใจและจะไมcมีใคร

ไดรับการปฏิบัติเปtนพิเศษ ยกเวนในกรณีที่มีเหตุจําเปtนเทcานั้นในกรณีที่จําเปtนจะตองมีแนวทางเปtนการ

ปฏิบัติที่ชัดเจน สมเหตุสมผลและมีคcานิยมทางศีลธรรมที่ชัดเจน ผูนําที่มีจริยธรรมจะตองเปtนคนยุติธรรม ไมcมีผูใตบังคับบัญชาเปtนคนโปรดหรือเปtนคนพิเศษที่มักจะไดรับความเอ็นดูความใสcใจ หรือผลประโยชน`

เปtนพิเศษ ทั้งนี้บางคนจะไดรับมอบหมายหรือเสนองานเปtนพิเศษใหดวย (Beauchamp and Bowie, 1984) 4. ผูนําที่มีจริยธรรมตองซื่อสัตย` เพื่อจะสามารถเขาใจความสําคัญของความซื่อสัตย`ไดอยcาง

ชัดเจนใหลองพิจารณาถึงสิ่งที่ตรงขาม นั่นคือความไมcซื่อสัตย`ซึ่งเปtนรูปแบบหนึ่งของการโกหกหรือ ทําใหความจริงคลาดเคลื่อนไป ความไมcซื่อสัตย`ทําใหเกิดผลลัพธ`ที่นcารังเกียจโดยเฉพาะอยcางยิ่ง ความไมcนcาเชื่อถือไววางใจเมื่อผูนําไมcซื่อสัตย`ตcอคนอื่นจะถูกมองวcาพึ่งพาไมcไดและไมcนcาเชื่อถือ สcงผลให

หมดศรัทธาในสิ่งที่พูดและสิ่งที่ยืนหยัดทําใหอิทธิพลของผูนําลดนอยลงเพราะความไมcเชื่อถือไววางใจและ

(5)

ไมcเชื่อมั่นอีกตcอไป สําหรับคนอื่นทั่วไปความไมcซื่อสัตย`สcงผลในทางลบ คือ ทําใหความสัมพันธ`ระหวcาง บุคคลตึงเครียดและเกิดความไมcไววางใจจะทําใหเกิดผลกระทบในระยะยาว คือ ทําใหความสัมพันธ`

อcอนแอลงความไมcซื่อสัตย`แมจะกระทําดวยเจตนาดีก็ตามทําใหความสัมพันธ`แตกสลายลงไดความซื่อสัตย`

ไมcไดหมายถึงการพูดความจริงอยcางเดียวแตcรวมไปถึงการเป~ดใจตcอผูอื่นนําเสนอขอเท็จจริงอยcางเต็มที่และ ครบถวนเทcาที่จะเปtนไปไดความทาทายสําหรับผูนําคือ ตองหาจุดสมดุลของการเป~ดเผยแสดงความจริงใจ และคอยตรวจสอบวcาสิ่งใดเหมาะสมที่จะเป~ดเผยในสถานการณ`นั้นๆ ผูนําตองมีความรูสึกไวตcอทัศนคติ

และความรูสึกของผูอื่นการไมcสัญญาในสิ่งที่ไมcสามารถทํา ไดไมcบิดเบือนความจริง ไมcอําพรางหนาที่

ไมcหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ และไมcยอมรับแรงกดดันของการอยรูc อดของผูที่แข็งแรงที่สุด

5. ผูนําที่มีจริยธรรมสรางชุมชน ภาวะผูนําเปtนกระบวนการสcงอิทธิพลตcอผูอื่นเพื่อใหบรรลุ

เป|าหมายรcวมกัน โดยการแสดงถึงมิติทางจริยธรรมที่ชัดเจนมีการอางอิงถึงเป|าหมายรcวมกันซึ่งหมายความวcา

ผูนํา และผูตามตองเห็นดวยกับแนวทางปฏิบัติของกลุcมผูนําตองคํานึงถึงเป|าหมายของตนเองและ ของผูตามใหบรรลุถึงเป|าหมายรcวมกันผูนําตองคนหาเป|าหมายที่เขากันไดกับทุกคนแนวคิดที่เปtนหัวใจ

สําคัญ คือ ทฤษฎีภาวะผูนํา การเปลี่ยนแปลงที่จะพยายามขับเคลื่อนกลุcมไปในทิศทางที่ดีงาม เพื่อผลประโยชน`รcวมกันทั้งฝ…ายผูนําและผูตาม ซึ่งในกระบวนการนั้นผูนําและผูตามก็จะมีการเปลี่ยนแปลง

เกิดขึ้น ผูนําแบบนี้จะแสดงจริยธรรมของการดูแลเอาใจใสcผูอื่นและไมcบีบบังคับผูอื่น นอกจากนี้ภาวะผูนํา ที่มีจริยธรรมจะตองมีพฤติกรรมการใหความรcวมมือ(Civic Virtue) คือ ทั้งผูนําและผูตามตองใสcใจ นอกเหนือจากเป|าหมายรcวมกันของพวกเขาแลวจะตองใสcใจตcอเป|าหมายและความตองการของชุมชนดวย

4. รูปแบบภาวะผูนํา

โรนาล` ลิพพิท(Ronald Lippitt) และราล`ฟ ไวท`(Ralph White) ไดอธิบายถึงรูปแบบภาวะผูนําไว 3 ลักษณะ ดังนี้

1. ภาวะผูนําแบบปลcอยเสรีหรือเสรีนิยม(Laissez-Faire Leadership) ภาวะการเปtนผูนําชนิดนี้

ผูนําจะปลcอยใหผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติงานอยcางเต็มที่ โดยผูนําเปtนเพียงผูดูแลอยูcหcางๆ ไมcคcอยมีบทบาท อะไรมากนัก จึงมีคําเรียกผูนําแบบนี้วcา “ผูนําแบบบุรุษไปรษณีย`” เพราะผูนํามีหนาที่เพียงสcงผcานขcาวสาร เทcานั้น จุดเนนอยูcที่ผูใตบังคับบัญชาเปtนสําคัญ จะเห็นวcาผูนําแบบนี้ไมcไดเปtนผูนําเลย ดังนั้นจึงอาจ เรียกวcา เปtนผูนําจอมปลอม แตcสcวนใหญcผูใตบังคับบัญชาจะมีความพึงพอใจภาวะผูนําแบบนี้สําหรับผล การทํางานนั้นขึ้นอยูcกับศักยภาพของผูปฏิบัติงานเอง

2. ภาวะผูนําแบบอัตนิยม หรือแบบเผด็จการ(Autocratic Leadership) ภาวะการเปtนผูนํา แบบนี้ ผูนําจะยึดตนเองเปtนสําคัญ ตั้งแตcการเปtนผูตัดสินใจ กําหนดเป|าหมายวิธีการทํางาน การสั่งการแกc ผูใตบังคับบัญชา และควบคุมบังคับบัญชาอยcางใกลชิดดวยตนเอง(Close Supervision)ไมcปลcอยใหมีอิสระ

(6)

ในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เพราะเขาจะไมcมีความไววางใจในผูใตบังคับบัญชา ภายใตภาวะการเปtนผูนําแบบนี้

ผูใตบังคับบัญชาจะมีความไมcพอใจในผูนําแบบนี้และจะแสดงความกาวราวตอบโตผูนํา หรือไมcก็เฉยเมย เสียเลยหรือแสดงความกาวราวเมื่อผูนําไมcอยูc

3.ภาวะผูนําแบบประชาธิปไตย(Democratic Leadership) ผูนําแบบนี้จะมีทัศนคติ

ตcอผูใตบังคับบัญชาแตกตcางจากแบบอัตนิยม เขาจะมีความไวเนื้อเชื่อใจในผูใตบังคับบัญชา เห็นผูใตบังคับบัญชามีความรูความสามารถ ดังนั้น เขาจะเป~ดโอกาสใหผูใตบังคับบัญชามีสcวนรcวม

(Participation) ในการตัดสินใจ กําหนดนโยบาย รวมตลอดถึงวิธีการปฏิบัติงาน โดยตัวผูนําเองก็มีสcวน

รcวมอยcางเต็มที่เชcนกัน ดังนั้นจุดเนนของผูนําแบบนี้จึงอยูcที่ทั้งตัวผูนําและผูปฏิบัติงานทั้งหลายหรือ รวมเรียกวcากลุcมนั่นเอง ภายใตภาวการณ`เปtนผูนําแบบนี้สมาชิกในกลุcมจะมีความพึงพอใจสูงจึงกลcาวไดวcา ผูนําที่ดีตองใชภาวะผูนําที่เหมาะสมกับผูตามและสถานการณ`ที่เปtนอยูcในขณะนั้น เพื่อใหบรรลุ

วัตถุประสงค`ขององค`การ

จากการศึกษาเกี่ยวกับผูนําและภาวะผูนําตามหลักวิชาการทั่วไปจะพบวcา คําวcาผูนํานั้นตาม ความหมายจริงๆ แลวหมายถึง ผูที่ไดรับการแตcงตั้งหรือเลือกตั้งจากผูคนในสังคมหรือหมูcคณะในองค`กร ชุมชน สังคมที่ใดที่หนึ่งเพื่อใหเปtนผูมีอํานาจและหนาที่ในการนําพาผูคนในสังคมหรือชุมชนในสังคมนั้นๆ ดําเนินกิจกรรมภายในสังคมหรือชุมชนใหบรรลุเป|าหมายตามที่กําหนดไวซึ่งความเปtนผูนําที่ไดรับแตcงตั้ง หรือเลือกตั้งภายใตมติของสังคมดังกลcาวนี้จะมีอํานาจและหนาที่ในการนําหรือเปtนผูใชอํานาจเพื่อการ กระทําการบางอยcางใหสําเร็จ

สcวนคําวcาภาวะผูนํานั้น หมายถึง ศักยภาพ ทั้งสcวนที่เปtนศาสตร`และศิลป‹ในการเปtนผูนําหรือ เปtนลักษณะพิเศษของผูนําทั้งที่อยูcภายนอกและอยูcภายในที่ผูนําสามารถนําเอาศาสตร`และศิลป‹หรือ เทคนิคและวิธีการในนํามาใชซึ่งภาวะผูนํานี้ยังหมายถึงคุณธรรมที่อยูcภายในจิตใจของผูนําคนนั้นดวยและ เมื่อนําคําวcาผูนํามาวิเคราะห`กับคําวcาภาวะผูนําก็จะพบวcา ผูนํานั้นใครๆ ก็เปtนไดซึ่งอาจจะมาจากการ เลือกหรือแตcงตั้งไดสcวนคําวcาผูนําเปtนคณะลักษณะภายในของผูที่เปtนผูนําทั้งเทคนิควิธีการและคุณธรรม จริยธรรมสติปXญญา เปtนตน ซึ่งจะพบวcาผูนํานั้นใครๆ ก็เปtนไดแตcจะไดรับการยอมรับจากคนในสังคม หรือไมcนั้นก็อยูcที่ศาสตร`ของความเปtนผูนําที่เราเรียกกันวcา ภาวะผูนําเทcานั้นหากผูนําไมcมีภาวะผูนําก็

อาจจะถูกสังคมตcอตานไดแตcถาผูนําที่มีภาวะผูนําก็จะเปtนที่ยอมรับของชุมชน และสามารถนําพาองค`กร หรือชุมชนไปสูcเป|าหมายหรือความสําเร็จได

(7)

5. จริยธรรมของภาวะผูนําแบบเปลี่ยนสภาพ

ทฤษฎีภาวะผูนําแบบเปลี่ยนสภาพ มีลักษณะโดดเดcนที่ตcางไปจากทฤษฎีภาวะผูนําอื่นที่มักเนน การแลกเปลี่ยนระหวcางผูนํากับผูตาม แตcทฤษฎีนี้มุcงเนนการยกระดับคุณธรรม และจริยธรรมของผูตามให สูงขึ้น จึงเปtนภาวะผูนําเชิงคุณธรรม (Ethical Leadership) ดวยดังนี้

ผูนําแบบเปลี่ยนสภาพ (Transformational Leaders) มุcงเปลี่ยนแปลงผูตามในประเด็น 1. สรางความตระหนักถึงการตองมีมาตรฐานดานคุณธรรม (Moral Standards) แกcผูตาม 2. ชี้ประเด็นที่ตองมุcงเนนทางจริยธรรมตามลําดับความสําคัญกcอนหลัง

3. พยายามยกระดับความตองการของผูตาม (Follower Needs) ใหสูงขึ้นถึงระดับตองการ มุcงผลสําเร็จ (Need for Achievement)

4. สcงเสริมใหระดับวุฒิภาวะดานคุณธรรม (Moral Maturity) ของผูตามสูงขึ้น

5. เสริมสรางบรรยากาศของที่ทํางานหรือองค`การใหมีบรรยากาศของคุณธรรม(Ethical Climate) เชcน การยึดคcานิยมและการมีมาตรฐานดานคุณธรรมรcวมกันเปtนตน

6. ปลุกเราและสcงเสริมใหผูตามเห็นวcา การทํางานที่ยึดหลักผลประโยชน`สcวนรวมมากcอน ประโยชน`สcวนตนนั้น เปtนสิ่งดีงามที่ควรยึดถือรcวมกัน

7. สcงเสริมใหผูตามยึดหลักของความรcวมมือ(Cooperation)มากกวcาการแขcงขันกัน (Competitiveness) และยึดหลักสามัคคีธรรม(Harmony)

6. สรุป

ภาวะผูนําเชิงจริยธรรมเปtนตัวแบบความประพฤติปฏิบัติที่ดีทางจริยธรรมเปtนที่ยอมรับแกcผูตาม ทั้งในดานความซื่อสัตย`สุจริต ความนcาไววางใจ ความยุติธรรมและความเอาใจใสc ผนวกเขากับแนวคิด หลักการทางวิชาการ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย` การงบประมาณ และการบริหารทั่วไป เพื่อนําไปสูc

แนวทางในการปรับปรุงองค`กรโดยการใชภาวะผูนําเชิงจริยธรรมซึ่งสามารถจําแนกแหลcงที่มาของผูนํา เชิงจริยธรรมไดนอกจากนี้ ภาวะผูนําเชิงจริยธรรมของผูบริหาร ตองเอาใจใสcและนําไปสูcการกระตุน ความตองการของแตcละบุคคล กระตุนใหเกิดปXญญาและคนหาวิธีการทํางานแบบใหมcๆเพื่อการปรับปรุง

การทํางานและความสามารถในการตัดสินใจ

7. บรรณานุกรม

ชัยเสฏฐ` พรหมศรี. (2549). การเปtนผูนําที่มีจริยธรรม. วารสารนักบริหาร. 26(3). 20-25.

รัตติกรณ` จงวิศาล. (2556). ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู&การพัฒนา. พิมพ`ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ`แหcงจุฬาลงกรณ`มหาวิทยาลัย.

(8)

สรรเสริญ อินทรัตน` และคณะ . (2557). ผลการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการคุณธรรมจริยธรรม ตามแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต. วารสารครุศาสตรNอุตสาหกรรม. 13(3). 113-119.

Hosmer, L.T. (1995). Trust The Connecting Link between Organizational Theory and Philosophical Ethics. Academy of Management Review. 20(1). 379-403.

Journal 3. New York : McGraw-Hill.

Schermerhorn, John R. (2005). Management. New York : John Wiley & Sons.

Tom L. Beauchamp. (1984). Manipulation Advertising Business and Professional Ethics

Referensi

Dokumen terkait

The results of this study were the sustainability leadership of human resources in the organization formed by four factors, namely factor 1- harmony leadership, factor 2-

There is a wonderful notice on the foot of the child's bed, "Beware of Book!" And the final page of the story shows the enchanted dog sitting on a shelf amidst other less animated book-