• Tidak ada hasil yang ditemukan

View of หลักเกณฑ์การเขียนบทความ

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "View of หลักเกณฑ์การเขียนบทความ"

Copied!
7
0
0

Teks penuh

(1)

คูมือสําหรับผูเขียนบทความ วารสารวิชาการศึกษาศาสตร มศว

วารสารวิชาการศึกษาศาสตร มศว จัดทําโดยคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนสื่อกลางในการเผยแพรผลงานทางวิชาการ ทั้งในลักษณะที่เปนบทความวิชาการ และบทความวิจัย ซึ่งแสดงใหเห็นสาระความรูใหมจากการทบทวนวรรณกรรม ระเบียบวิธีวิจัยผลการวิจัย การสรุปอภิปราย และหรือการนําไปใชเพื่อความนาเชื่อถือและประโยชนเชิงวิชาการ ในศาสตรของ ศึกษาศาสตรและสังคมศาสตร โดยมีผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีจํานวนไมนอยกวา 2 คน (Double blinded) เปนผู

ประเมินบทความกอนดําเนินการเผยแพรลงในวารสาร ซึ่งมีวาระออกเผยแพรเปนประจําทุกป ปละ 2 ฉบับ (มกราคม – มิถุนายน และ กรกฎาคม – ธันวาคม) โดยปจจุบันวารสารวิชาการศึกษาศาสตร ไดรับการรับรองจาก ศูนยดัชนีการอางอิงวารสารไทย (ศูนย TCI) ใหอยูในฐานขอมูล TCI กลุม 1

ทั้งนี้ กองบรรณาธิการขอเรียนแจงจริยธรรมในการตีพิมพผลงานทั้งบทความวิชาการและบทความวิจัย ในวารสารวิชาการศึกษา สําหรับผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝาย อาทิ ผูเขียน บรรณาธิการ และผูประเมิน ดังนี้

ผูเขียน มีบทบาทและหนาที่ตอวารสารวิชาการศึกษาศาสตร ดังนี้

1. ตองรับรองวาผลงานที่สงมานั้นเปนงานใหมที่ไมเคยตีพิมพที่ใดมากอน

2. ตองรับรองวาการนําเสนอรายงาน ขอมูล หรือขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นจากการทําวิจัยนั้น รายงาน ตามความเปนจริง ไมบิดเบือนหรือใหขอมูลที่เปนเท็จ

3. หากมีการคนควาหรือนําผลงานของผูอื่นมาใช ตองจัดทํารายการอางอิงทั้งในเนื้อหาและทาย บทความตามความเปนจริงอยางถูกตอง

4. ผูเขียนตองดําเนินการตรวจสอบบทความของตนเพื่อปองกันการคัดลอกผลงานทางวิชาการ ของผูอื่น กอนการตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการศึกษาศาสตร

5. ตองเขียนบทความใหถูกตองตามรูปแบบที่วารสารวิชาการศึกษาศาสตรกําหนดไวใน

“คูมือสําหรับผูเขียนบทความ”

6. กรณีที่มีผูเขียนหลายคน ตองระบุชื่อและสังกัดของผูเขียนใหครบทุกคน ทั้งนี้ตองเปน ผูที่มีสวนในการดําเนินการวิจัยจริง

7. หากเปนงานที่มีแหลงทุนสนับสนุน ผูเขียนตองระบุแหลงทุนที่สนับสนุนในการทําวิจัยดวย 8. ผูเขียนตองระบุผลประโยชนทับซอน (หากมี)

(2)

บรรณาธิการ มีบทบาทและหนาที่ตอวารสารวิชาการศึกษาศาสตร ดังนี้

1. บรรณาธิการมีหนาที่พิจารณาคุณภาพของบทความที่ตีพิมพเผยแพรในวารสารที่รับผิดชอบ 2. บรรณาธิการตองไมเปดเผยขอมูลของผูเขียน และผูประเมินบทความแกบุคคลอื่น ที่ไมเกี่ยวของ ในระหวางชวงเวลาการประเมินบทความ

3. บรรณาธิการพิจารณาคัดเลือกบทความมาตีพิมพหลังจากผานกระบวนการประเมินบทความ แลว โดยพิจารณาจากความสําคัญ องคความรู และความสอดคลองของเนื้อหากับนโยบายของวารสารเปนสําคัญ

4. บรรณาธิการตองไมตีพิมพบทความที่เคยตีพิมพที่อื่นมาแลว

5. บรรณาธิการไมปฏิเสธการตีพิมพบทความ เพราะความสงสัยหรือไมแนใจ แตตองหาหลักฐาน มาพิสูจนขอสงสัยนั้นกอน

6. บรรณาธิการตองมีการตรวจสอบบทความในดานการคัดลอกผลงานผูอื่น (Plagiarism) อยางจริงจัง โดยใชโปรแกรมที่เชื่อถือได เพื่อใหแนใจวาบทความที่ลงตีพิมพในวารสารไมมีการคัดลอกผลงานของ ผูอื่น หากบรรณาธิการตรวจสอบพบวามีการคัดลอกผลงานของผูอื่น ในกระบวนการประเมินบทความ บรรณาธิการตองหยุดกระบวนการประเมิน และติดตอผูเขียนหลักทันทีเพื่อขอคําชี้แจง เพื่อประกอบการพิจารณา ตอบรับหรือปฏิเสธการตีพิมพความนั้นๆ

7. บรรณาธิการตองไมมีผลประโยชนทับซอนกับผูนิพนธ ผูประเมิน และทีมผูบริหาร ผูประเมิน มีบทบาทหนาที่ตอวารสารวิชาการศึกษาศาสตร ดังนี้

1. ผูประเมินตองรักษาความลับและไมเปดเผยขอมูลบางสวนหรือทุกสวนของบทความที่สงมาเพื่อ พิจารณาแกบุคคลอื่นที่ไมเกี่ยวของในชวงระยะเวลาของการประเมินบทความนั้น

2. หลังจากไดรับบทความ หากผูประเมินตระหนักวาตนอาจมีผลประโยชนทับซอนกับผูเขียน เชน เปนผูรวมโครงการ หรือรูจักผูเขียนเปนการสวนตัว หรือเหตุผลอื่นๆ ที่ทําใหไมสามารถใหขอคิดเห็นและ ขอเสนอแนะอยางอิสระได ผูประเมินควรแจงใหบรรณาธิการวารสารทราบ และปฏิเสธการประเมินบทความนั้น

3. ผูประเมินควรประเมินบทความในสาขาวิชาที่ตนมีความเชี่ยวชาญ และประเมินบทความโดย พิจารณาจากความสําคัญหรือคุณคาของเนื้อหา คุณภาพของการวิเคราะห และความเขมขนของบทความ ไมควรใช

ความคิดเห็นสวนตัวที่ไมมีขอมูลรองรับมาเปนเกณฑในการตัดสิน

4. ผูประเมินตองระบุผลงานวิจัยหรือเอกสารสําคัญที่เกี่ยวของหรือสอดคลองกับบทความที่กําลัง ประเมิน แตผูนิพนธไมไดอางถึง เขาไปในการประเมินบทความดวย นอกจากนี้ หากมีสวนใดของบทความที่มีความ เหมือน หรือซ้ําซอนกับผลงานอื่น ผูประเมินตองแจงใหบรรณาธิการทราบดวย

ขอตกลงเบื้องตนในการสงบทความเพื่อตีพิมพ

1. ตองเปนบทความที่ไมเคยตีพิมพ หรือกําลังเสนอตีพิมพในวารสารทางวิชาการที่ใดมากอน ทั้งนี้

บทความที่ไดนําเสนอในการประชุมวิชาการในระดับชาติ หรือนานาชาติ สามารถนํามาตีพิมพในวารสารวิชาการ ศึกษาศาสตรไดหากมีการปรับปรุงเพิ่มเติมบทความใหมีความสมบูรณ

(3)

2. ผูเขียนตองดําเนินการตรวจสอบบทความของตนเพื่อปองกันการคัดลอกผลงานทางวิชาการของผูอื่น กอนการตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการศึกษาศาสตร ผานเว็บไซต http://www.akarawisut.com/โดยแนบผล การตรวจสอบที่ไดมาพรอมกับบทความที่ตองการตีพิมพ

3. บทความเขียนดวยภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษที่เขียนถูกตองตามหลักไวยากรณและหลักการใชภาษา รวมถึงมีการตรวจพิสูจนอักษรมาแลวเปนอยางดี ดวยกระดาษขนาด A4 อักษร Cordia New ขนาด 16 pt. ความ ยาวของตนฉบับรวมทั้งตาราง แผนภูมิ และเอกสารอางอิง ไมควรเกิน 15 หนา สงบทความในลักษณะของไฟล

PDF ทางที่อยูที่กําหนด พรอมแนบแบบฟอรมการขอสงบทความตีพิมพ ซึ่งสามารถดาวนโหลดแบบฟอรมไดที่

http://edu.swu.ac.th/index.php/2905-2/

4. ผูเขียนบทความจะตองดําเนินการปรับแกไขบทความตามผลการประเมินของกองบรรณาธิการและ ผูทรงคุณวุฒิอยางเครงครัด พรอมสงตนฉบับสุดทายในลักษณะของไฟลเวิรด (DOC)

5. กองบรรณาธิการจะออกใบรับรองการตีพิมพเมื่อบทความผานความเห็นชอบจากผูทรงคุณวุฒิแลว เทานั้น

6. คาใชจายในการตีพิมพจํานวน 3,000 บาท /บทความ กองบรรณาธิการจะไมคืนเงินในกรณีที่บทความไม

ผานการพิจารณาจากผูทรงคุณวุฒิ ไมวากรณีใดๆ

7. หากผูเขียนบทความไมปฏิบัติตามระเบียบการตีพิมพ กองบรรณาธิการสามารถแจงยกเลิกการตีพิมพ

บทความ และจะไมไดรับเงินคาธรรมเนียมคืน

8. กองบรรณาธิการขอใชสิทธิในการนําบทความที่ตีพิมพในวารสารวิชาการศึกษาศาสตร มศว เผยแพรลง เว็บไซต

9. ผูเขียนบทความจะไดรับวารสารวิชาการ จํานวน 2 เลม รูปแบบการเขียน

ก) บทความวิชาการ มีสวนประกอบทั่วไปดังนี้

1. ชื่อเรื่อง :กระชับ ชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาสําคัญ (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

2. ชื่อผูเขียนบทความ :ระบุชื่อ นามสกุล (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) พรอมระบุหนวยงานที่สังกัด ชื่อที่ปรึกษา (ถามี) : ระบุชื่อ นามสกุล (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) พรอมระบุตําแหนงทางวิชาการ (ถามี) และหนวยงานที่สังกัด

3. บทคัดยอ :ระบุความสําคัญ วัตถุประสงค ประเด็นและแนวคิด และบทสรุป โดยยอไมเกิน 300 คํา (ทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

4. คําสําคัญ : 2 – 3 คํา (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

5. บทนํา :กลาวถึงความเปนมาและความสําคัญของประเด็นและแนวคิดที่จะนําเสนอกระชับ ชัดเจน 6. เนื้อหา :นําเสนอประเด็นและแนวคิดหลักโดยมีรายละเอียดสนับสนุนถูกตองสมบูรณ มีความเชื่อมโยง และการจัดเรียงลําดับเนื้อหา แสดงถึงแนวคิด ทัศนะ หรือขอคนพบของผูเขียนอยางชัดเจน

7. บทสรุป :กระชับ ชัดเจน แสดงใหเห็นถึงคุณคาหรือประโยชนที่ชัดเจน

(4)

8. บรรณานุกรม :การอางอิงสวนทายเลมโดยการรวบรวมรายการเอกสารทั้งหมดที่ผูเขียนไดใชอางอิง ในบทความ จัดเรียงตามลําดับอักษรชื่อผูแตง โดยใชรูปแบบการเขียนเอกสารอางอิงแบบ APA (American Psychological Association) โดยทุกรายการเขียนเปนภาษาอังกฤษ กรณีที่เปนเอกสารอางอิงภาษาไทยใหแปล เปนภาษาอังกฤษและวงเล็บ (In Thai)กํากับไวตอนทาย ดังแสดงในตัวอยางบรรณานุกรม

ข) บทความวิจัย มีสวนประกอบทั่วไปดังนี้

1. ชื่อเรื่อง :กระชับ ชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาสําคัญ (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) 2. ชื่อผูเขียนบทความ :ระบุชื่อ นามสกุล (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

ชื่อที่ปรึกษา (ถามี) : ระบุชื่อ นามสกุล (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) พรองระบุตําแหนงทางวิชาการ (ถามี) และหนวยงานที่สังกัด

3. บทคัดยอ :ระบุความสําคัญ วัตถุประสงค วิธีการวิจัย ผลการวิจัย และบทสรุปโดยยอไมเกิน 300 คํา (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

4. คําสําคัญ : 2 – 3 คํา (ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

5. บทนํา :กลาวถึงความสําคัญ ที่มา รวมถึงการทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ 6. วัตถุประสงคการวิจัย :สอดคลองกับชื่อเรื่อง

7. กรอบความคิดในการวิจัย (ถามี) 8. สมมติฐานการวิจัย (ถามี) 9. วิธีดําเนินการวิจัย

- ประชากรและกลุมตัวอยาง/กลุมเปาหมาย/กรณีศึกษา (ระบุรายละเอียดของการไดมาและการสุม กลุมตัวอยาง/กลุมเปาหมาย/กรณีศึกษา)

- ตัวแปรที่ศึกษา

- วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

- เครื่องมือที่ใชในการวิจัย (ระบุวิธีการตรวจสอบและระบุคุณภาพของขอมูล) - การวิเคราะหขอมูล

10. ผลการวิจัย : เสนอตามวัตถุประสงค โดยเสนอผลการวิเคราะหขอมูลหรือผลการวิจัยไดทั้งในลักษณะ การเขียนบรรยาย และหรือตารางประกอบ (มีคําอธิบายประกอบตาราง)

11. อภิปรายผล : อภิปรายขอคนพบที่เกิดจากผลการวิจัย หรือกระบวนการวิจัย ซึ่งสอดคลองกับ การทบทวนวรรณกรรม วัตถุประสงคหรือความสําคัญของการวิจัย

12. ขอเสนอแนะ : ขอเสนอแนะในการผลการวิจัยไปใชและขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป

13. บรรณานุกรม: การอางอิงสวนทายเลมโดยการรวบรวมรายการเอกสารทั้งหมดที่ผูเขียนไดใชอางอิงใน บทความ จัดเรียงตามลําดับอักษรชื่อผูแตง โดยใชรูปแบบการเขียนเอกสารอางอิงแบบ APA (American Psychological Association) โดยทุกรายการเขียนเปนภาษาอังกฤษ กรณีที่เปนเอกสารอางอิงภาษาไทยใหแปล เปนภาษาอังกฤษและวงเล็บ (In Thai) กํากับไวตอนทาย ดังแสดงในตัวอยางบรรณานุกรม

(5)

รายละเอียดการเขียนรายการอางอิง

ก) การเขียนอางอิงแทรกในเนื้อความ (In- text citation) 1. (ผูแตง, ปที่พิมพ, เลขหนา) ไวทายขอความที่อางอิง

2. ผูแตง (ปที่พิมพ, เลขหนา) กรณีมีการระบุชื่อผูแตงในเนื้อหาแลว

ก. ผูแตงชาวไทย ใหใสชื่อตามดวยชื่อสกุล โดยไมมีเครื่องหมายใดๆ คั่น

ข. ผูแตงที่มียศทางทหาร ตํารวจ ตําแหนงทางวิชาการ หรือวิชาชีพ ใหใสเฉพาะชื่อสกุล ค. ผูแตงชาวตางประเทศ ใหใสชื่อสกุลเทานั้น

กรณีผูแตง 1 คนตัวอยาง เชน

 ปราณี วองวิทวัส (Pranee Wongvittawat, 1989, p. 4-5) อธิบายหลักการ...

 หลักการเขียน (Pranee Wongvittawat, 1989, p.4-5; 1993, p.18)

 เมอรฟ (Murphy, 1999, p. 85) กรณีผูแตง 2 คนตัวอยาง เชน

 นัทธีรัตน พีระพันธุ และ ณรงค สมพงษ. (Nutteerat Pheeraphan & Narong Sompong, 2554, p. 27-35)

 Harlow and Simpson (2004, p. 25) หรือ (Harlow & Simpson, 2004, p. 25) กรณีผูแตงตั้งแต 3-5 คนใหลงชื่อทุกคน (สําหรับชาวตางประเทศลงเฉพาะชื่อสกุล สําหรับชาว ไทยลงทั้งชื่อและชื่อสกุล) เชน

กรณีผูแตง 6 คน หรือมากกวา 6 คน ขึ้นไปลงเฉพาะผูแตงคนแรก ตามดวยคําวา et al.

 Pavel Misha, et al (2013, p. 156-177)

ข) การอางอิงในบรรณานุกรม (ศึกษาเพิ่มเติมไดที่ http://stin.ac.th/th/file.pdf) 1. หนังสือ

ผูแตง. (ปพิมพ). ชื่อเรื่อง.(ครั้งที่). สถานที่พิมพ: สํานักพิมพ.

2. วารสาร

ผูแตง. (ปพิมพ). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปที่(ฉบับที่), เลขหนาที่ปรากฎ.

3. เอกสารจากอินเทอรเน็ต

ผูแตง. (ปพิมพ). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปที่(ฉบับที่), เลขหนา-เลขหนา. Retrieved from URLของวารสาร

4. วิทยานิพนธ/ปริญญานิพนธ

ผูแตง. (ปพิมพ). ชื่อวิทยานิพนธ. (Master’s thesis or Doctoral dissertation, ชื่อ มหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษา).

(6)

ตัวอยางบรรณานุกรม

Sukanya Rassametummachot. (2005). Guidelines for the Development of Human Potential with Competency. Bangkok: Siriwattana Inter Printing. (In Thai)

Light, I. (2008). Deflecting immigration: Networks, markets, and regulation in Los Angeles.

New York, NY: Russell Sage Foundation.

Bellanca, J. A., & Brandt, R. S. (2011). 21st Century Skills: Rethinking How Student Learn.

Bloomington, IN: USA.

National Statictical Office, Thailand. (2009). Exploring the Use of Information and Communication Technology in Educational Institutions, 2008. Bangkok: Bangkok Block Limited Partnership. (In Thai)

Nutteerat Pheeraphan and Narong Sompong. (2011). A Synthesis of Research on Online Learning in Thailand's Higher Education. Thaksin Curriculum and Instruction Journal,6(2), 87-95. (In Thai)

Suwimon Wongwanich. (2002). A Synthesis of Needs Assessment Techniques Used in Students’ Theses of Faculty of Education, Chulalongkorn University. Journal of Research Methodology,15(2), 255-277. (In Thai)

Mishra, P., & Koehler, M. (2008). Introducing Technological Pedagogical Content Knowledge. Retrieved from

http://punya.educ.msu.edu/presentations/AERA2008/MishraKoehler_AERA2008.pdf Sirirat Wattanasomsri. (2560). Development of a Digital Textbook Model on a Student-

Centered Approach to Enhanced Self-Directed Learning Skills of Primary Students. (Master’s thesis, Srinakharinwirot University).

Misha, P., et al. (2013). The Role of Technology and Engineering Models in Transforming Healthcare. IEEE Reviews in Biomedical Engineering,6, 156-177. doi:

10.1109/RBME.2012.2222636.

Lever-Duffy,Judy&McDonald,Jean B. (2007)Teaching and Learning with Technology. (3rd Edition).Boston: Allyn & Bacon: USA.

การติดตอวารสาร

กองบรรณาธิการวารสารวิชาการศึกษาศาสตร มศว คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 114 ถนนสุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

โทร. 0 2649 5000 ตอ 15509 โทรสาร 0 2260 0124 E-mail. somwan237@gmail.com

(7)

แบบฟอรมการตรวจสอบบทความเพื่อสงตีพิมพวารสารวิชาการศึกษาศาสตร มศว

กรุณาใสเครื่องหมาย หนากลอง  เพื่อยืนยันการตรวจสอบบทความตามรายการที่กําหนด

รายการตรวจสอบ

 1. ไฟลตนฉบับอยูในรูปแบบ PDF ไมเกิน 15 หนา

 2. บทคัดยอ ความยาวไมเกิน 300 อักษร

 3. มีการตรวจสอบการอางอิงในเนื้อความ และบรรณานุกรม ตามรูปแบบที่กําหนด

 4. ผานการตรวจพิสูจนอักษรและการใชภาษาตามหลักวิชาการ

 5. ผานการพิจารณาตนฉบับจากอาจารยผูควบคุมปริญญานิพนธ/อาจารยที่ปรึกษาหลัก (ถามี)

 6. ผานการตรวจสอบการคัดลอกผลงานของผูอื่น ดวยโปรแกรมอักขราวิสุทธิ์

ลงชื่อ ...

ผูเขียนบทความหลัก

Referensi

Dokumen terkait

Keywords---courtroom discourse, discursive-psychological approach, invective vocabulary, lexical means, phenomenon of transgression, psychological