• Tidak ada hasil yang ditemukan

การจัดท าและการวิเคราะห์ข้อมูล

1. การวิจัยเชิงส ารวจ

1.5 การจัดท าและการวิเคราะห์ข้อมูล

การจัดท าและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการทางสถิติ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1. การวิเคราะห์ข้อมูล น าข้อมูลที่ได้จากการสอบถามโดยการแจก แบบสอบถามมาวิเคราะห์และอภิปรายผลข้อมูลส่วนบุคคล และเศรษฐกิจ โดยใช้สถิติเชิง พรรณ นา (Descriptive Statistics) บรรยายลักษณ ะของกลุ่มตัวอย่างในรูปค่าร้อยละ (Percentage) ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

2. การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาปัจจัยที่มีอิทธิพลกับการช าระเงินคืนกองทุนเงิน ให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา โดยปัจจัยที่คาดว่าจะมีอิทธิพลต่อการช าระเงินคืนกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อ การศึกษาจะน ามาทดสอบด้วยไคสแควร์ (Chi-Square Test) เป็นการหาความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยใช้ระดับนัยส าคัญ 0.10 หรือความเชื่อมั่น ร้อยละ 90 ซึ่งเป็นการทดสอบว่ามีความสัมพันธ์กัน หรือไม่

สูตรที่ใช้การค านวณความสัมพันธ์ระหว่าตัวแปร คือ

𝑋2 = ∑ ∑ (𝑂 − 𝐸𝑗)2

𝐸𝑗 , 𝑑𝑓 = (𝑟 − 1)(𝑐 − 1)

𝐶 𝑗=1 𝑟

𝑖=1

เมื่อ O แทน ความที่ที่สังเกตได้

E แทน ความถี่ที่คาดหวัง

โดยที่

𝐸 = 𝑅 𝑥 𝐶

𝑁

ก าหนดให้

𝑋2 = ค่าไคสแควร์

𝑂𝑖𝑗 = ค วาม ถี่ ที่ ได้จ าก ก ารสังเก ต (Observed Frequency)

ในแถวที่ I คอลัมน์ที่ j

𝐸𝑖𝑗 = ความถี่ที่คาดหวัง (Expected Frequency)

ในแถวที่ I คอลัมน์ที่ j

r = จ านวนแถวนอน

c = จ านวนคอลัมน์

สมมติฐานการวิจัย

ความถี่ที่สังเกตได้กับความถี่ที่คาดหวังแตกต่างกัน

สมมติฐานทางสถิติ

𝐻0 : ความถี่ที่สังเกตได้กับความถี่ที่คาดหวังไม่แตกต่างกัน

𝐻1 : ความถี่ที่สังเกตได้กับความถี่ที่คาดหวังแตกต่างกัน

การทดสอบนี้เป็นการทดสอบสมมติฐานสองตัวแปรว่าเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่จะก าหนดระดับความสัมพันธ์ด้วยค่าสัมประสิทธิ์ ณ ระดับนัยส าคัญ 0.10 โดยการทดสอบ สมมติฐาน ดังนี้

𝐻0 : การวางแผนการช าระเงินคืนของผู้กู้ยืมเงินกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อ การศึกษากับปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สาขาที่เรียน ระดับผลการเรียน ภูมิล าเนาเกิด จ านวนสมาชิกในครอบครัว ไม่มีความสัมพันธ์กัน

𝐻1 : การวางแผนการช าระเงินคืนของผู้กู้ยืมเงินกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อ การศึกษากับปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สาขาที่เรียน ระดับผลการเรียน ภูมิล าเนาเกิด จ านวนสมาชิกในครอบครัว มีความสัมพันธ์กัน

โดยไม่ปฏิเสธ 𝐻0 เมื่อค่า Pearson Chi – Square มีค่า Asymp. Sig. (2 – sided) หรือค่า P (ความน่าจะเป็น) มากกว่าระดับนัยส าคัญ 0.10

จากนั้นท าการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการช าระเงินผู้

กู้ยืมเงินกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ในวัตถุประสงค์ที่ 3 ซึ่งจะใช้การวิเคราะห์แบบจ าลอง สองทางเลือก (Binary Choice Model) ในการวิเคราะห์โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนช าระ เงินคืนของผู้กู้ยืมเงินกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ด้วยสมการดังนี้

𝑃𝑙𝑎𝑛𝑝𝑎𝑦

= 𝛽0 + 𝑆𝑒𝑥𝛽1 + 𝐴𝑔𝑒𝛽2 + 𝑀𝑎𝑗𝑜𝑟𝛽3 + 𝐺𝑟𝑎𝑑𝑒𝛽4 + 𝐴𝑟𝑒𝑎𝛽5 + 𝑁. 𝑓𝑎𝑚𝛽6 + 𝑀. 𝐾𝑛𝑜𝑤𝑙𝑒𝑑𝑔𝑒𝛽7 + 𝑅. 𝐾𝑛𝑜𝑤𝑙𝑒𝑑𝑔𝑒𝛽8

+ 𝐼𝑛𝑐𝑜𝑚𝑒𝛽9 + 𝐸𝑥𝑝𝑒𝑛𝛽10+ 𝑇𝑟𝑒𝑎𝑡𝑚𝑒𝑛𝑡 𝐴𝛽11+ 𝑇𝑟𝑒𝑎𝑡𝑚𝑒𝑛𝑡 𝐵𝛽12 + 𝐷𝑒𝑓𝑎𝑢𝑙𝑡 𝑂𝑝𝑡𝑖𝑜𝑛 𝛽13 + 𝜀

โดยที่

𝑃𝑙𝑎𝑛𝑝𝑎𝑦 คือ ตัวแปรหุ่นที่แสดงถึงการวางแผนการช าระเงินคืน โดยที่ 𝑅𝑒𝑝𝑎𝑦 = 1 ในกรณี มีการวางแผนการช าระเงินคืน

𝑅𝑒𝑝𝑎𝑦 = 0 ในกรณี ไม่มีการวางแผนการช าระเงินคืน

𝑆𝑒𝑥 คือ เพศ

𝐴𝑔𝑒 คือ อายุ

𝑀𝑎𝑗𝑜𝑟 คือ สาขาที่เรียน

𝐺𝑟𝑎𝑑𝑒 คือ ระดับผลการศึกษา

𝐴𝑟𝑒𝑎 คือ ภูมิล าเนาที่เกิด

𝑁. 𝑓𝑎𝑚 คือ จ านวนสมาชิกในครัวเรือน

𝑀. 𝐾𝑛𝑜𝑤𝑙𝑒𝑑𝑔𝑒 คือ ระดับความรู้ทางการเงิน

𝑅. 𝐾𝑛𝑜𝑤𝑙𝑒𝑑𝑔𝑒 คือ ระดับความเข้าใจกฎเกณฑ์ของกองทุนเงินให้

กู้ยืมเพื่อการศึกษา

𝐼𝑛𝑐𝑜𝑚𝑒 คือ รายรับ

𝐸𝑥𝑝𝑒𝑛 คือ รายจ่าย

Treatment A คือ การให้ข้อมูลเชิงบวก

Treatment B คือ การให้ข้อมูลเชิงลบ

Default Option คือ การเสนอทางเลือก (กองทุนการออมแห่งชาติ)

𝛽0 คือ ค่าคงที่

𝛽𝑖 คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของตัวแปรอิสระ เมื่อ i = 1, 2, 3,….,11

𝜀 คือ error term