• Tidak ada hasil yang ditemukan

ข้อเสนอแนะในการน าผลการค้นคว้า อิสระไปใช้

บทความวิจัย

1. ข้อเสนอแนะในการน าผลการค้นคว้า อิสระไปใช้

วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปีที่ 9 ฉบับที่ 17 มกราคม-มิถุนายน 2562 ชัญญาณิศา ศุภอักษร และคณะ ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการ... 41

การน าข้อมูลอัตราส่วนความสามารถ ในการท าก าไรมาประกอบการตัดสินใจของนักลงทุนใน กลุ่มธุรกิจโรงพยาบาล และบริการด้านสุขภาพ ที่จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย สามารถ ท าได้เพียงบางบริษัทเท่านั้น

2. ข้อเสนอแนะในการท าการค้นคว้า อิสระครั้งต่อไป

ควรศึกษาเพิ่มเติมถึงปัจจัยด้านอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่ออัตราส่วนต่างราคาหุ้นของบริษัทใน กลุ่ม ธุรกิจโรงพยาบาล และบริการด้านสุขภาพ ที่จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย เช่น ภาวะทาง เศรษฐกิจโลกและภายในประเทศ นโยบายของรัฐบาลใน การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพ นานาชาติ (Medical Hub) จ านวนผู้สูงอายุและกลุ่มชน ชั้นกลาง ความมีชื่อเสียงและการขยายกิจการของบริษัท เป็นต้น

กิตติกรรมประกาศ

การค้นคว้าอิสระฉบับนี้ส า เร็จลุล่วงได้ด้วยดี ผู้

ศึกษาขอขอบพระคุณ ดร.นิรันดิ์เกียรติ ลิ่วคุณูปการ รอง ศาสตราจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร .ฐานกุล กุฏิภักดี

และ ดร.ศิษฏ์ธวัช มั่นเศรษฐวิทย์ ที่ได้ให้ค าแนะน าและ ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนท าให้ผลการวิจัย ครั้งนี้เสร็จสมบูรณ์

นอกจาก นี้ขอขอบคุณผู้เขียนและผู้เรียบเรียง เอกสารและผลงานวิจัยต่าง ๆ ที่ผู้ศึกษาได้น ามาอ้างอิง ตลอดจนขอขอบคุณแหล่งข้อมูลที่ผู้ศึกษาใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลจนท าให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์และเป็น ประโยชน์ต่อการศึกษาครั้งนี้

ท้ายที่สุดขอขอบพระคุณคณบดีคณะวิทยาการ จัดการ ปร ะธานหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ตลอดจนผู้อ านวยการและเจ้าหน้าที่ส านักงาน บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาทุกท่าน ที่ให้

ความอนุเคราะห์อ านวยความสะดวกในการด าเนินการ ค้นคว้าอิสระครั้งนี้จนส าเร็จลุล่วงด้วยดี

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงสาธารณสุข. (2560) . แผนพัฒนาสุขภาพ แห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ 2560-2564.

กฤษฎา เสกตระกูล . (2556). การวิเคราะห์งบการเงิน . ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ตลาดทุน . ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.

กองข้อมูลธุรกิจ กระทรวงพาณิชย์ . (2560). ธุรกิจด้าน สุขภาพ. กองข้อมูลธุรกิจ กระทรวงพาณิชย์.

จันทร์เพ็ญ บุญฉาย. (2556). การเงินธุรกิจ : งบการเงิน Financial Statements. กรุงเทพฯ : โรง พิมพ์ฟูจิซีร็อกซ์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

จารุวรรณ ทองมั่น (2557). อัตราส่วนทางการเงินที่มี

ความสัมพันธ์กับราคาตลาดของหลักทรัพย์

ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย หมวดธุร กิจการแพทย์ . รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ระดับชาติ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ธนบุรี.

เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค์ . (2557). วิเคราะห์งบการเงิน เพื่อศึกษาแนวโน้มการลงทุนในธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ ที่จดทะเบียนอยู่ในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.

ฐาปนา ฉิ่นไพศาล. (2556). การเงินธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่

25). กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจ ากัด ยงพลเทรด ดิ้ง.

ธีระ กุลสวัสดิ์ . (2558). การหาคุณภาพของเครื่องมือ ในการวิจัย. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์

มหาวิทยาลัยบูรพา.

ปรารถนา สุวรรณ และ บุญเลิศ จิตรมณีโรจน์ (2557).

ปัจจัยที่มีผลต่อดัชนีราคาหลักทรัพย์หมวด การแพทย์ บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จ ากัด(มหาชน) (BDMS) และบริษัท

วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปีที่ 9 ฉบับที่ 17 มกราคม-มิถุนายน 2562 ชัญญาณิศา ศุภอักษร และคณะ ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการ... 42

โรงพยาบาลบ ารุงราษฎร์ จ ากัด (มหาชน) (BH). การค้นคว้าอิสระ. บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

เพชรรี ขุมทรัพย์. (2554). วิเคราะห์งบการเงิน หลักและ การประยุกต์ พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : ห้าง หุ้นส่วนจ ากัด สามลดา.

ยิ่งรัก ปริยานนท์ และ คณะ . (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อ ราคาหลักทรัพย์ในหมวดธุรกิจการแพทย์ที่

จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย. การค้นคว้าอิสระ . บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

วิรันญา ทัษณิวรรตกุล และ วรรณรพี บานชื่นวิจิตร (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อราคาหุ้น บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จ ากัด (มหาชน ).

วารสารการเงิน การธนาคาร และการลงทุน : ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน.

ศูนย์วิจัย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา. (2561). แนวโน้มของ ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน.

ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจ ธุรกิจและเศรษฐกิจฐานราก. (2560).

ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน.

ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564).

วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปีที่ 9 ฉบับที่ 17 มกราคม-มิถุนายน 2562 วิรัตน์ นาทิพเวทย์, นัชมุดดีน อัตตอฮีรี ปัญหาการฟ้องคดีอาญาและการเข้าร่วมเป็นโจทย์... 43

ปัญหาการฟ้องคดีอาญาและการเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ : ศึกษากรณีการบังคับบุคคลให้สูญหาย จากข้อเท็จจริงในค าพิพากษาศาลฎีกาที่10915/2558

วิรัตน์ นาทิพเวทย์*, นัชมุดดีน อัตตอฮีรี**

*น.ม. ,น.บ.ท. อาจารย์ประจ าคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

**น.ม. (สาขากฎหมายอาญา) อาจารย์ประจ าคณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

บทคัดย่อ

การบังคับบุคคลให้สูญหายเกิดจากการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลซึ่งด าเนินการโดยได้รับการ อนุญาต การสนับสนุน หรือการยอมรับโดยปริยายของรัฐ โดยบุคคลดังกล่าวได้ ท าการจับกุม กักขัง ลักพาตัว หรือ กระท าในรูปแบบใดๆก็ตามที่เป็นการลิดรอนเสรีภาพ และตามมาด้วยการปฏิเสธที่จะยอมรับว่าได้มีการลิดรอน เสรีภาพ หรือ การปกปิดชะตากรรมหรือที่อยู่ของบุคคลที่หายสาบสูญ ท าให้บุคคลดังกล่าวตกอยู่ภายนอกการ คุ้มครองของกฎหมาย ดังนั้น เมื่ อเกิดการบังคับบุคคลให้สูญหายขึ้นทางครอบครัวผู้ถูกบังคับให้สูญหายมิอาจทราบ ชะตากรรมของผู้สูญหายว่ายังมีชีวิตอยู่หรือไม่ จึงเป็นเหตุให้ได้รับอุปสรรคต่างๆในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ทางอาญา ได้แก่ การที่ไม่สามารถที่ฟ้องเจ้าหน้าที่รัฐเป็นคดีอาญาในความผิดฐานบังคับบุคคลให้สูญหาย และไม่อาจ เข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการได้

บังคับให้สูญหาย, หายสาบสูญ, อุ้มหาย,อุ้มฆ่า

ค าส าคัญ: บังคับให้สูญหาย, หายสาบสูญ, อุ้มหาย, อุ้มฆ่า

บทความวิจัย

วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปีที่ 9 ฉบับที่ 17 มกราคม-มิถุนายน 2562 วิรัตน์ นาทิพเวทย์, นัชมุดดีน อัตตอฮีรี ปัญหาการฟ้องคดีอาญาและการเข้าร่วมเป็นโจทย์... 44

Prosecution Problems and Association as a joint prosecutor: a Case Study of Enforced Appearance from Facts in the Sentence of Supreme Court No.

10915/2558

Virat Natipvad*, Najmuddeen Attahiree**

*LL.M. , (Barrister-at- Law), a lecturer at the Faculty of Law, Taksin University

**LL.M. (Criminal Law), a lecturer at the Faculty of Islamic Studies and Laws, Fatoni University

Abstract

Enforced Disappearance occurs when an individual is arrested, imprisoned, abducted, or done in any forms of actions regarding deprivation of liberty by state officials, personnel or people groups with authorization, support, or acquiescence of a state, followed by a refusal to accept deprivation of liberty or concealing the individual’s fate or whereabouts, with the intent of placing the person outside the protection of the law. When enforced disappearance happens, the individual’s family would not know the individual’s fate whether he/she is alive or not. As a result, there will be obstacles to approach the criminal procedure, namely being unable to prosecute a state official in a criminal case of enforced disappearance and to associate as a joint prosecutor.

Keywords: enforced disappearance, disappearance, abduct, murder

Research

วารสาร อัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี ปีที่ 9 ฉบับที่ 17 มกราคม-มิถุนายน 2562 วิรัตน์ นาทิพเวทย์, นัชมุดดีน อัตตอฮีรี ปัญหาการฟ้องคดีอาญาและการเข้าร่วมเป็นโจทย์... 45

1.บทน า

การบังคับให้สูญหายได้ถูกบัญญัติครั้งแรกในกฎหมาย ของประเทศไทยซึ่งปรากฏอยู่ในระเบียบคณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวั ดชายแดนใต้ ว่าด้วย การให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายและผู้

ได้รับผลกระทบจากการกระท าของเจ้าหน้าที่ของรัฐอัน สืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัด ชายแดนใต้ พ .ศ. 2555 เท่ากับเป็นการยอมรับของ รัฐบาลไทยว่าการบังคับให้สูญหายมีและเกิดขึ้นจริงใน พื้นที่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัดป๎ตตานี จังหวัดยะลา จังวัดสตูล และจังหวัดสงขลา แต่ในความเป็นจริง ป๎ญหาการบังคับให้สูญหายได้อยู่คู่กับสังคมไทยมาช้า นาน ซึ่งคนในสังคมไทยจะเข้าใจกันดี และ เรียกขาน กันว่า “การอุ้ม” “การอุ้มฆ่า” และ “การอุ้มหาย”(คม กฤช หาญพิชาญชัย, 2552 : หน้า 35)

การบังคับให้สูญหายได้มีการบัญญัติใน กฎหมายระหว่างประเทศเช่นเดียวกันคือ อนุสัญญา ระหว่างประเทศว่าด้วยการการคุ้มครองบุคคลทุกคน จากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ ค .ศ. 2006 โดยมี

วัตถุประสงค์เพื่อก าหนดให้การหายสาบสูญโดยถูก บังคับเป็นฐานความผิดตามกฎ หมายอาญา รวมทั้ง ก าหนดโทษตามกฎหมายดังกล่าว ซึ่งตามอนุสัญญา ดังกล่าว ข้อ 1 บัญญัติว่า บุคคลทุกคนจะถูกกระท าให้

หายสาบสูญไม่ได้ และไม่มีพฤติการณ์ใดๆ ไม่ว่าจะเป็น สภาวะสงคราม หรือสภาพคุกคามที่จะเกิดสงคราม การขาดเสถียรภาพทางการเมืองภายในประเทศ หรือ สภาวะฉุกเฉินส าธารณะอื่นใดที่ยกขึ้นมาเป็นข้ออ้างที่มี

เหตุผลส าหรับการกระท าให้บุคคลหายสาบสูญโดยถูก บังคับได้ อนุสัญญาดังกล่าวถือเป็นเครื่องมือส าคัญ อันหนึ่งอันเป็นแก่นแกนสิทธิมนุษยชนของ

สหประชาชาติ ผ่านการรับรองจากสหประชาชาติในปี

2006 โดยมีรัฐสมาชิกจ านวนหนึ่งให้สัตยาบันผู กมัดใน เบื้องต้น อาทิ แอลบาเนีย, อาร์เยนตินา, โบลีเวีย,คิวบา, ฝรั่งเศส , ฮอนดูรัส ,ญี่ปุ่น หรืออุรุกกวัย (จรัญ โฆษณา นันท์, 2559: 411-412)

การเข้าเป็นภาคีของไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติ

เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2554 เห็นชอบการลงนามใน อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มค รองบุคคลทุก คนจากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับตามที่กระทรวง ยุติธรรมเสนอ และกระทรวงการต่างประเทศได้ลงนาม (Signature) ในอนุสัญญาดังกล่าวต่อองค์การ สหประชาชาติแล้วเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2555 อย่างไรก็

ตามการลงนามดังกล่าวแม้จะยังไม่มีผลบังคับใช้กับ ประเทศไทย แต่ก็ถือเป็ นการแสดงเจตนารมณ์ของ รัฐบาลไทยที่มีความตั้งใจจริงที่จะส่งเสริม ปกป้อง และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน รวมทั้งเห็นความส าคัญของ การแก้ไขป๎ญหาการบังคับให้สูญหาย (กรมคุ้มครองสิทธิ

และเสรีภาพ : ออนไลน์) แต่เมื่อพิจารณาถึงสิทธิในการ เข้าถึงกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของผู้ ถูกบังคับให้

สูญหายแล้ว พบป๎ญหาดังที่ปรากฏในค าพิพากษาศาล ฎีกาที่10915/2558 อยู่ 2 ประการ คือ ประการแรก ป๎ญหาการน าคดีขึ้นสู่ศาล ไม่ตรงตามความประสงค์อัน แท้จริงที่ต้องการให้ศาลพิจารณาพิพากษา ประการที่

สอง ครอบครัวของเหยื่ออาชญากรรมไม่สามารถเข้าร่วม เป็นโจทก์กับพนักงานอัยการได้

2. ความหมายของ “การบังคับให้สูญหาย ” ตามที่

ปรากฏในกฎหมายระหว่างประเทศ และกฎหมาย ประเทศไทย

ตาม อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการ คุ้มครองบุคคลทุกคนจากการหายสาบสูญโดยถูกบังคับ ค.ศ. 2006 ข้อ 2 ค าว่า “การหายสาบสูญโดยถูกบังคับ”

หมายถึง การจับกุม กั กขัง ลักพาตัว หรือการกระท าใน รูปแบบใดๆก็ตาม ที่เป็นการลิดรอนเสรีภาพโดย เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือบุคคลหรือกลุ่มบุคคลซึ่ง ด าเนินการโดยได้รับอนุญาต การสนับสนุนหรือการ ยอมรับโดยปริยายของรัฐ ตามมาด้วยการปฏิเสธที่จะ ยอมรับว่าได้มีการลิดรอนเสรีภาพ หรือการปกปิดชะตา กรรมหรื อที่อยู่ของบุคคลที่หายสาบสูญ ซึ่งส่งผลให้

บุคคลดังกล่าวตกอยู่ภายนอกการคุ้มครองของกฎหมาย