• Tidak ada hasil yang ditemukan

ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม

สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน

การทดสอบค่าที (t-test) เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างที่มี 2 กลุ่ม โดยใช้

t-test (Independent Samples) ทดสอบความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม เพื่อทดสอบความแปรปรวนของประชากร มีสูตรดังนี้ (ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2541)

จากสูตร

เมื่อ t แทน ค่าสถิติใช้ในการเปรียบเทียบค่าวิกฤตในการแจกแจง แบบ t เพื่อทราบความมีนัยส าคัญ

𝑥1,𝑥2 แทน คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มเป้าหมาย 1 และกลุ่มเป้าหมาย 2 ตามล าดับ

𝑛1,𝑛2 แทน ขนาดของกลุ่มเป้าหมาย 1 และกลุ่มเป้าหมาย 2 ตามล าดับ

𝑠1,𝑠2 แทน ความแปรปรวนของกลุ่มเป้าหมาย 1 และกลุ่มเป้าหมาย 2 ตามล าดับ

การทดสอบค่า F (F-test) เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างที่มีมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (one-way ANOVA) ทดสอบความ แตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่มากกว่า 2 กลุ่ม มีสูตรดังนี้ (วิเชียร เกตุสิงห์.

2541)

จากสูตร 𝐹 = 𝑀𝑆𝐵

𝑀𝑆𝑤 , 𝑑𝑓1 = 𝑘 − 1 , 𝑑𝑓2 = 𝑁 − 𝑘 เมื่อ 𝐹 แทน ค่าสถิติที่ทดสอบ

𝑀𝑆𝐵 แทน ค่าเฉลี่ยก าลังสองระหว่างกลุ่ม 𝑀𝑆𝑊 แทน ค่าเฉลี่ยก าลังสองภายในกลุ่ม 𝑑𝑓 แทน ชั้นแห่งความอิสระ

𝑁 แทน จ านวนตัวอย่างทั้งหมด

การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ค่าสัมประสิทธิ์ของตัวพยากรณ์

(ตัวแปรอิสระ) โดยใช้สูตรหาสมการตัวแปรพยากรณ์ โดยการวิเคราะห์ถดถอย (Multiple Regression Analysis) ซึ่งมีสูตรสมการในรูปคะแนนดิบ ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2541 : 143) จากสูตร = 𝑎 + b1x1 + b2x2 + b3x3 + ⋯ bkxk

เมื่อ แทน คะแนนพยากรณ์ของตัวแปรตาม

𝑎 แทน ค่าคงที่ของสมการการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ b1b2b3… bk แทน ค่าน ้าหนักคะแนน หรือสัมประสิทธิ์การถดถอยของ

ตัวแปร พยากรณ์ตัวที่ 2 ถึงตัวที่ k ตามล าดับในรูปแบบ คะแนนดิบ

x1x2x3… xk แทน คะแนนของตัวพยากรณ์ ตัวแปรที่ 2 ถึงตัวที่ k ตามล าดับในรูปคะแนนดิบ

𝑘 แทน จ านวนพยากรณ์ตัวแปรอิสระ

จากสูตรสมการในรูปคะแนนมาตรฐาน

= 𝑎 + b1𝑧1 + b2z2 + b3z3 + ⋯ bkzk เมื่อ แทน คะแนนพยากรณ์ของตัวแปรตาม รูปคะแนนมาตรฐษน

A แทน ค่าคงที่ของสมการการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ b1b2b3… bk แทน ค่าน ้าหนักคะแนน หรือสัมประสิทธิ์การถดถอย

ของตัวแปร พยากรณ์ตัวที่ 2 ถึงตัวที่ k ตามล าดับใน รูปแบบคะแนนมาตรฐาน

x1x2x3… xk แทน คะแนนของตัวพยากรณ์ ตัวแปรที่ 2 ถึงตัวที่ ตามล าดับ ในรูปคะแนนมาตรฐาน

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การน าเสนอผลการวิจัยเรื่องประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัย สายปฏิบัติการ กรณีศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้วิจัยได้ก าหนดสัญลักษณ์ ต่างๆ ที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

n แทน ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง X̅ แทน ค่าคะแนนเฉลี่ย

S.D. แทน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.E. แทน ความคาดเคลื่อนมาตรฐาน

MS แทน ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลบวกก าลังสองของคะแนน (Mean of Squares)

df แทน ระดับชั้นแห่งความเป็นอิสระ (Degree of Freedom) SS แทน ผลบวกก าลังสองของคะแนน (Sum of Squares) t แทน ค่าสถิติที่ใช้พิจารณาใน t-distribution

F แทน ค่าสถิติที่ใช้พิจารณาใน F-distribution B แทน ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย (Unstandardized) β แทน ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยมาตรฐาน (Standardized) R แทน ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์

R2Adj แทน ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจของสถิติวิเคราะห์

ความถดถอยพหุคูณ

p-value แทน ระดับนัยส าคัญทางสถิติจากการทดสอบใช้ในการ สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน

* แทน มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05

** แทน มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 H0 แทน สมมติฐานหลัก (Null Hypothesis) H1 แทน สมมติฐานรอง (Alternative Hypothesis)

การเสอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยใช้โปรแกรมส าเร็จรูป SPSS (Statistic Package for Social Science) ซึ่งในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลของการวิจัย ครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ท าการวิเคราะห์และด าเนินการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยแบ่งการน าเสนอ ออกเป็น 6 ตอน ตามล าดับ ดังนี้

ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม ที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตอนที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต ที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตอนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแรงจูงใจ ที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ของพนักงานมหาวิทยาลัยสายปฏิบัติการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตอนที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ตอนที่ 6 ผลการทดสอบสมมติฐาน

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา

ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์

การวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ของผู้บริโภค ได้แก่ เพศ อายุ ระดับ การศึกษาสูงสุด ประเภทพนักงาน ระยะเวลาในการท างาน หน่วยงานที่สังกัด และ รายได้เฉลี่ย ต่อเดือน โดยแจกแจงจ านวน (Frequency) ค่าเปอร์เซ็นต์หรือร้อยละ (Percentage) ได้ดังนี้

ตาราง 10 แสดงจ านวนและค่าร้อยละของลักษณะทางประชากรศาสตร์ของพนักงานมหาวิทยาลัย