• Tidak ada hasil yang ditemukan

ตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถาม

ความรูสึกพฤติกรรม

2. ตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถาม

3. นําแบบสอบถามมาบันทึกและตรวจใหคะแนนตามเกณฑที่กําหนดไว

3.6 การวิเคราะหขอมูล

หลังจากเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางจนครบตามจํานวนที่ไดกําหนดไวแลว กอนการวิเคราะหขอมูลสําหรับการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยไดนําขอมูลมาตรวจสอบความสมบูรณและ ความถูกตองกอนแลวจึงนาขอมูลไปคํานวณดวยคอมพิวเตอรโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS

(Statistical Package for Social Science for Window version 20) และใชสถิติวิเคราะหขอมูลประเภท ตางๆ ดังนี้

3.6.1 สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic)

แบบสอบถามสวนที่ 1 ศึกษาขอมูลทางดานประชากรศาสตร ทําการวิเคราะหโดยใช

การแจกแจงความถี่ (Frequency) และรอยละ (Percentage)

แบบสอบถามสวนที่ 2 ศึกษาดานการรับรูที่มีตอการเปลี่ยนแปลงวิสัยทัศนองคกรและ คานิยมองคกร ทําการวิเคราะหโดยใชคาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยกําหนดเกณฑสําหรับแปลความหมายสําหรับคะแนนเฉลี่ยโดยอาศัยหลักการแบงอันตรภาคชั้น ตามวิธีการคํานวณทางคณิตศาสตร ไวดังนี้

คาเฉลี่ย 4.21 – 5.00 หมายถึง ระดับการรับรูมากที่สุด คาเฉลี่ย 3.41 – 4.20 หมายถึง ระดับการรับรูมาก คาเฉลี่ย 2.61 – 3.40 หมายถึง ระดับการรับรูปานกลาง คาเฉลี่ย 1.81 – 2.60 หมายถึง ระดับการรับรูนอย คาเฉลี่ย 1.00 – 1.80 หมายถึง ระดับการรับรูนอยที่สุด

แบบสอบถามสวนที่ 3 ศึกษาดานทัศนคติที่มีตอการเปลี่ยนแปลงวิสัยทัศนองคกรและ คานิยมองคกร ทําการวิเคราะหโดยใชคาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยกําหนดเกณฑสําหรับแปลความหมายสําหรับคะแนนเฉลี่ยโดยอาศัยหลักการแบงอันตรภาคชั้น ตามวิธีการคํานวณทางคณิตศาสตร ไวดังนี้

คาเฉลี่ย 4.21 – 5.00 หมายถึง ระดับความคิดเห็นมากที่สุด คาเฉลี่ย 3.41 – 4.20 หมายถึง ระดับความคิดเห็นมาก คาเฉลี่ย 2.61 – 3.40 หมายถึง ระดับความคิดเห็นปานกลาง คาเฉลี่ย 1.81 – 2.60 หมายถึง ระดับความคิดเห็นนอย คาเฉลี่ย 1.00 – 1.80 หมายถึง ระดับความคิดเห็นนอยที่สุด

3.6.2 สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)

โดยนําขอมูลตัวอยางมาอธิบายสวนรวม เปนการอางอิงหรือการอนุมาน โดยใชโปรแกรม SPSS (Statistical Package for Social Science for Window version 20) รายละเอียดการวิเคราะหใน แตละดานเปนดังตอไปนี้

1. คา t-test เพื่อทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ย 2 กลุม กรณีทราบความแปรปรวน ของกลุมตัวอยางทั้ง 2 กลุม แบบกลุมตัวอยางทั้ง 2 กลุม เปนอิสระตอกัน (Independent Sample) ที่ระดับ นัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 หรือระดับความเชื่อมั่น 95% (กัลยา วาณิชยบัญชา, 2545: 135)

2. การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) เพื่อหาความแตกตาง ระหวาง คาเฉลี่ยของกลุมตัวอยางมากกวา 2 กลุมขึ้นไป (กัลยา วาณิชยบัญชา. 2546: 144) กรณีพบ ความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จะทําการทดสอบความแตกตางเปนรายคูในระดับนัยสําคัญ 0.05 หรือระดับความเชื่อมั่น 95% โดยใชสูตรตามวิธี (Least Significant Difference) เพื่อเปรียบเทียบ คาเฉลี่ย ประชากร (กัลยา วาณิชยบัญชา, 2545: 161)

3.7 ระยะเวลาในการศึกษา

กําหนดระยะเวลาเก็บขอมูลประมาณ 2 เดือน ระหวางตุลาคม ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560

บทที่ 4