• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ตาราง 7 ต่อ)

สถานภาพ

ระดับการรู้สารสนเทศสุขภาพ รวม

ต ่า ปานกลาง สูง สูงมาก

จ านวน (n)

ร้อย ละ

จ านวน (n)

ร้อย ละ

จ านวน (n)

ร้อย ละ

จ านวน (n)

ร้อย ละ

จ านวน (n)

ร้อย ละ รายได้

(เฉลี่ยต่อ เดือน) น้อยกว่า 5,000 บาท

120 31.7 39 10.3 17 4.5 2 0.5 178 47.1

มากกว่า 5,000 บาท ขึ้นไป

125 33.1 47 12.4 24 6.3 4 1.1 200 52.9

รวม 245 64.8 86 22.8 41 10.8 6 1.6 378 100.0

จากตาราง 7 พบว่า โดยรวมทั้งผู้สูงอายุสมาชิกชมรมผู้สูงอายุศูนย์บริการสาธารณสุข ในเขตกรุงเทพมหานคร ชายและหญิง มีการรู้สารสนเทศระดับต ่า (ร้อยละ 18.3, 46.6 ตามล าดับ) พิจารณาตามระดับการศึกษาพบว่า มีการรู้สารสนเทศสุขภาพระดับต ่า (ร้อยละ 54.5, 10.3 ตามล าดับ) พิจารณาตามรายได้พบว่า มีการรู้สารสนเทศสุขภาพระดับต ่า (ร้อยละ 31.7, 33.1 ตามล าดับ)

2.2 ระดับการรู้สารสนเทศสุขภาพของผู้สูงอายุสมาชิกชมรมผู้สูงอายุศูนย์บริการ สาธารณสุขในเขตกรุงเทพมหานคร

ตาราง 8 ระดับการรู้สารสนเทศสุขภาพของผู้สูงอายุสมาชิกชรมผู้สูงอายุศูนย์บริการสาธารณสุข ในเขตกรุงเทพมหานครโดยรวม และรายด้าน

การรู้สารสนเทศสุขภาพ คะแนนเต็ม ร้อยละ

ระดับการรู้

สารสนเทศ สุขภาพ 1. ด้านการเข้าถึงสารสนเทศสุขภาพ

1.1 ผู้สูงอายุสามารถก าหนดขอบเขตของ สารสนเทศสุขภาพที่ต้องการใช้ได้

5 50.9 ต ่า

1.2 ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงสารสนเทศ สุขภาพที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล

5 49.1 ต ่า

รวม 10 50.1 ต ่า

2. ด้านการประเมินสารสนเทศสุขภาพ 2.1 ผู้สูงอายุสามารถประเมินสารสนเทศ สุขภาพและแหล่งสารสนเทศได้อย่าง มีวิจารณญาณได้

12 41.7 ต ่า

รวม 12 41.7 ต ่า

3. ด้านการใช้สารสนเทศสุขภาพ

3.1 ผู้สูงอายุสามารถใช้สารสนเทศสุขภาพได้

อย่างมีประสิทธิภาพ

4 58.7 ต ่า

3.2 ผู้สูงอายุสามารถใช้สารสนเทศสุขภาพ อย่างมีจริยธรรมและถูกต้องตามกฎหมาย

4 58.3 ต ่า

รวม 8 58.5 ต ่า

รวมทุกด้าน 30 50.1 ต ่า

จากตาราง 8 พบว่าผู้สูงอายุมีระดับการรู้สารสนเทศสุขภาพ โดยรวมอยู่ในระดับต ่าเมื่อ พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการเข้าถึงสารสนเทศสุขภาพ ด้านการประเมินการรู้สารสนเทศ

สุขภาพ และด้านการใช้สารสนเทศสุขภาพผู้สูงอายุมีระดับการรู้สารสนเทศสุขภาพในระดับต ่า เช่นเดียวกัน

3. การเปรียบเทียบระดับการรู้สารสนเทศสุขภาพของผู้สูงอายุสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

ศูนย์บริการสาธารณสุขในเขตกรุงเทพมหานครจ าแนกตาม เพศ ระดับการศึกษา และรายได้

3.1 ผลการเปรียบเทียบระดับการรู้สารสนเทศสุขภาพของผู้สูงอายุสมาชิกชมรม ผู้สูงอายุศูนย์บริการสาธารณสุขในเขตกรุงเทพมหานครจ าแนกตามเพศ

ตาราง 9 ผลการเปรียบเทียบระดับการรู้สารสนเทศสุขภาพของผู้สูงอายุสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

ศูนย์สาธารณสุขในเขตกรุงเทพมหานครจ าแนกตามเพศ

การรู้สารสนเทศสุขภาพ

เพศชาย เพศหญิง

t P

X

̅ S.D. X̅ S.D.

ด้านการเข้าถึงสารสนเทศสุขภาพ 5.00 2.22 5.01 2.06 -.045 .963 ด้านการประเมินสารสนเทศสุขภาพ 5.27 2.58 4.90 2.04 1.356 .177 ด้านการใช้สารสนเทศสุขภาพ 4.57 2.13 4.72 2.04 -.643 .521

รวม 14.85 5.72 14.63 4.91 .343 .732

P<.05

จากตาราง 9 พบว่า ผู้สูงอายุที่มีเพศแตกต่างกัน มีการรู้สารสนเทศสุขภาพโดยรวมและ รายด้านไม่แตกต่างกันซึ่งไม่เป็นไปตาม สมมติฐานการวิจัยข้อ 1

3.2 ผลเปรียบเทียบระดับการรู้สารสนเทศสุขภาพของผู้สูงอายุสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

ศูนย์บริการสาธารณสุขในเขตกรุงเทพมหานครจ าแนกตาม ระดับการศึกษา

ตาราง 10 ผลการเปรียบเทียบระดับการรู้สารสนเทศสุขภาพของผู้สูงอายุสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

ศูนย์บริการสาธารณสุขในเขตกรุงเทพมหานครจ าแนกตามระดับการศึกษา

การรู้สารสนเทศสุขภาพ

ต ่ากว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี

ขึ้นไป

t P

X̅ S.D. X̅ S.D.

ด้านการเข้าถึงสารสนเทศสุขภาพ 4.80 2.00 5.74 2.32 -3.587 .000*

ด้านการประเมินสารสนเทศสุขภาพ 4.73 2.07 6.00 2.43 -4.662 .000*

ด้านการใช้สารสนเทศสุขภาพ 4.62 2.08 4.87 2.03 -.950 .343

รวม 14.17 4.94 16.61 5.47 -3.850 .000*

*P<.05

จากตาราง 10 พบว่า พบว่า ผู้สูงอายุที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีการรู้สารสนเทศ สุขภาพโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการ วิจัยข้อ 2 โดยผู้สูงอายุที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไปมีการรู้สารสนเทศสุขภาพสูงกว่า ผู้สูงอายุที่มีระดับการศึกษาต ่ากว่าปริญญาตรี และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าผู้สูงอายุที่มี

ระดับการศึกษาแตกต่างกันมีการเข้าถึงสารสนเทศสุขภาพ และมีการประเมินสารสนเทศสุขภาพ แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยที่ผู้สูงอายุที่มีระดับการศึกษาระดับปริญญา ตรีขึ้นไปมีการเข้าถึงสารสนเทศสุขภาพ และมีการประเมินสารสนเทศสุขภาพสูงกว่าผู้สูงอายุที่มี

ระดับการศึกษาต ่ากว่าปริญญาตรี

3.3 ผลการเปรียบเทียบระดับการรู้สารสนเทศสุขภาพของผู้สูงอายุสมาชิกชมรม ผู้สูงอายุศูนย์บริการสาธารณสุขในเขตกรุงเทพมหานครจ าแนกตาม รายได้

ตาราง 11 ผลการเปรียบเทียบระดับการรู้สารสนเทศสุขภาพของผู้สูงอายุสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

ศูนย์บริการสาธารณสุขในเขตกรุงเทพมหานครจ าแนกตามรายได้

การรู้สารสนเทศสุขภาพ

น้อยกว่า 5,000 บาท

มากกว่า 5,000 บาท ขึ้นไป

t P

X̅ S.D. X̅ S.D.

ด้านการเข้าถึงสารสนเทศสุขภาพ 4.59 2.04 5.37 2.09 -.3649 .000*

ด้านการประเมินสารสนเทศสุขภาพ 4.80 2.20 5.19 2.22 -1.696 .091 ด้านการใช้สารสนเทศสุขภาพ 4.89 2.08 4.49 2.04 1.921 .055

รวม 14.29 5.20 15.05 5.09 -.1428 .154

*P<.05

จากตาราง 11 พบว่า ผู้สูงอายุที่มีรายได้แตกต่างกันมีการรู้สารสนเทศสุขภาพโดยรวม แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยข้อ 3 และ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ในด้านการเข้าถึงสารสนเทศสุขภาพ ผู้สูงอายุที่มีรายได้แตกต่าง กันมีการเข้าถึงสารสนเทศแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยที่ผู้สูงอายุที่มี

รายได้มากกว่า 5,000 บาทขึ้นไปมีการเข้าถึงสารสนเทศสุขภาพสูงกว่าผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อยกว่า 5,000 บาท