• Tidak ada hasil yang ditemukan

3.1 รูปแบบการวิจัย

การวิจัยครัUงนีU เป็นการวิจัยเชิงปริมาณเพื+อเป็นการแสวงหาความรู้เชิงประจักษ์เกี+ยวกับ แรงจูงใจในการทํางานกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการ Generation Y ในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยมีจุดมุ่งหมายเพื+อบรรยายลักษณะ ทํานายความสัมพันธ์ หรืออธิบาย ความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลของปรากฏการณ์ที+ทําการศึกษา มีทฤษฎีหรือกรอบแนวคิดเป็น

แนวทางในการดําเนินงานอย่างชัดแจ้ง มีการกําหนดมิติของปรากฏการณ์ รวมทัUงกลุ่มเป้าหมาย ที+ต้องการศึกษาอย่างเป็นระบบ ตลอดจนมีการวัดผลและการวิเคราะห์เชิงสถิติ เป็นเครื+องมือเพื+อ

นําไปสู่ความแม่นยําของผลการวิจัย เน้นการใช้ตัวเลขเป็นหลักฐานสนับสนุนข้อค้นพบและข้อสรุป ต่าง ๆ เพื+อนําไปใช้ในการตัดสินใจสรุปอ้างอิงผลของการศึกษาไปยังประชากรที+เป็นกลุ่มเป้าหมาย (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2561)

3.2 ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง

3.2.1 ประชากร

ประชากรที+ทําการศึกษาวิจัยครัUงนีU คือ ข้าราชการ Generation Y ที+ขึUนทะเบียนรายชื+อ เพื+อปฏิบัติงานราชการในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ+งไม่ทราบจํานวนประชากร

3.2.2 การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างที+ทําการศึกษาวิจัยครัUงนีU คือ ส่วนหนึ+งของประชากรที+นํามาศึกษาซึ+งเป็น ตัวแทนของข้าราชการ Generation Y ที+ขึUนทะเบียนรายชื+อเพื+อปฏิบัติงานราชการในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ซึ+งไม่ทราบจํานวนประชากรมากก่อน ผู้วิจัยจึงใช้สูตรของ Cochran(1977)โดย กําหนดค่าความคลาดเคลื+อนที+ยอมรับได้ เท่ากับ 0.05 ดังนีU

สูตร n =

เมื+อ n หมายถึง จํานวนกลุ่มตัวอย่าง

P หมายถึง สัดส่วนประชากรที+ต้องการสุ่ม ร้อยละ 50 (0.50) Z หมายถึง ระดับความเชื+อมั+นที+กําหนด (ร้อยละ 95, Z = 1.96)

e หมายถึง ค่าความคลาดเคลื+อนที+ยอมรับได้ (0.05) แทนค่าในสูตร จะได้

n = 0.50(1-050).1962 0.052

= 0.9604 0.0025

= 384.16 385 คน

ดังนัUนจํานวนกลุ่มตัวอย่างขัUนตํ+าของงานวิจัยนีU คือ 385 คน ผู้วิจัยจึงดําเนินการเก็บ แบบสอบถามเพิ+มเป็น 400 คน โดยผู้วิจัยจะใช้การสุ่มแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non- probability) แบบตามความสะดวก (Convenience Sampling) ซึ+งเป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างตาม ความสะดวก ข้อดี คือ สะดวก รวดเร็ว และประหยัดค่าใช้จ่ายส่วนข้อเสีย คือ ไม่สามารถอ้างอิงไป ยังประชากรได้ จะสามารถสรุปอยู่เพียงขอบเขตของกลุ่มตัวอย่างเท่านัUน โดยหน่วยตัวอย่างที+ได้นัUน ขึUนอยู่กับการตัดสินใจของผู้วิจัย และองค์ประกอบบางตัวไม่สามารถควบคุมได้ จึงอาจเกิด ความคลาดเคลื+อนที+เกิดจากการสุ่มตัวอย่างได้ (Sampling Error) (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2561)

3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูลครัUงนีU ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื+องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ+งแบ่งเนืUอหาออกเป็น 4 ส่วนดังนีU

ส่วนที+ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์ ซึ+งเป็นคําถามแบบเลือกตอบ (Check List) มีลักษณะ มาตราวัดแบบนามบัญญัติ (Nominal Scale) และมาตราเรียงลําดับ (Ordinal Scale) ประกอบด้วย เพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การรับราชการ

ส่วนที+ 2 แรงจูงใจในการทํางานของข้าราชการ Generation Y ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยประยุกต์ข้อคําถามจากดาริน ปฎิเมธีภรณ์ (2556) ประกอบด้วย ปัจจัยจูงใจ จํานวน 3 ด้าน ได้แก่

( )

2 2

e Z P - 1 P

ลักษณะของงาน การยอมรับนับถือ และโอกาสความก้าวหน้าในงาน และปัจจัยอนามัย ได้แก่

นโยบายในการบริหาร เพื+อวัดระดับแรงจูงใจในการทํางาน ผ่านองค์ประกอบต่าง ๆ 5 ระดับ ส่วนที+ 3 ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการ Generation Y ในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยประยุกต์ข้อคําถามจากปัญญาภา อัคนิบุตร (2564) มีลักษณะมาตราวัดแบบ

มาตราอันตรภาค (Interval Scale)เพื+อวัดระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ผ่านความคิดเห็น 5 ระดับ

สําหรับการวัดระดับความคิดเห็นในแบบสอบถามส่วนที+ 2-3 ผู้วิจัยกําหนดระดับการวัด ซึ+งผู้วิจัยประยุกต์การวัดระดับความคิดเห็นจากดาริน ปฎิเมธีภรณ์ (2556) และปัญญาภา อัคนิบุตร

(2564) โดยเกณฑ์การประเมินสามารถแบ่งช่วงคะแนนที+ใช้วิธีการคํานวณหาความกว้างของ อันตรภาค (Class Interval : I) ผู้วิจัยใช้เกณฑ์เฉลี+ยในการอภิปรายผล (กัลยา วานิชย์บัญชา, 2561)

คะแนนเฉลี+ย 4.21–5.00 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ+ง คะแนนเฉลี+ย 3.41–4.20 หมายถึง เห็นด้วย คะแนนเฉลี+ย 2.61–3.40 หมายถึง ไม่แน่ใจ คะแนนเฉลี+ย 1.81–2.60 หมายถึง ไม่เห็นด้วย

คะแนนเฉลี+ย 1.00–1.80 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ+ง

ส่วนที+ 4 ข้อเสนอแนะ เป็นคําถามปลายเปิด (Open-ended Questions) ที+ให้ผู้ตอบ แบบสอบถามแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ

3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล

หลังจากเก็บข้อมูลเสร็จสิUนแล้ว ผู้วิจัยได้ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม ทุกชุด และนํามาประมวลข้อมูลด้วยโปรแกรมสําเร็จรูป โดยสถิติที+ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนีU

1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)

1.1 การแจกแจงค่าความถี+ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)

1.2 การคํานวณค่าเฉลี+ย (Mean) และค่าเบี+ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)

2.1 การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสํารวจ (Exploratory Factor Analysis: EFA) 2.2 การหาค่าความเชื+อมั+น (Reliability)

2.3 การหาค่าสัมประสิทธิ_สหสัมพันธ์ (Correlation) 2.4 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression)

บททีK 4