• Tidak ada hasil yang ditemukan

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

2.1 ผลของการพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุตาม แนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก

ผู้วิจัยแบ่งการน าเสนอผลการพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุตาม แนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก ออกเป็น 1) ผลการพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุตาม แนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก 2) ผลการตรวจสอบคุณภาพและความเหมาะสมของโปรแกรมการ ส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก และ 3) ผลการปรับปรุงโปรแกรมการ ส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญและการ ทดลองใช้โปรแกรม (Try out) ดังนี้

2.1.1 ผลการพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุตามแนวคิด จิตวิทยาเชิงบวก

ผู้วิจัยได้พัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุตามแนวคิดจิตวิทยาเชิง บวก ซึ่งประกอบด้วยความเป็นมาและความส าคัญ วัตถุประสงค์ แนวคิด และกิจกรรมต่างๆ มี

รายละเอียดดังนี้

1.ที่มาและความส าคัญของโปรแกรม

ที่มาและความส าคัญของการพัฒนาโปรแกรมนี้ เกิดจากผู้วิจัยเล็งเห็นถึง ความส าคัญของสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ เพราะในปัจจุบันนั้นก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุและสุขภาพจิต ของผู้สูงอายุเป็นสิ่งส าคัญ ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาโปรแกรมนี้ขึ้นมา โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้ คือผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60-79 ปี ที่อาศัยอยู่ในชุมชนเขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ซึ่งผู้วิจัย ออกแบบโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกให้เหมาะสมกับ กลุ่มผู้สูงอายุและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกิจกรรมในแต่ละครั้ง และมีการพัฒนากิจกรรมที่

ประกอบไปด้วย 6 กิจกรรม กิจกรรมละ 1 ชั่วโมง แบ่งออกเป็น 3 ช่วง ได้แก่ ขั้นเริ่มต้นกิจกรรม 10 นาที ขั้นด าเนินกิจกรรม 40 นาที และขั้นสรุป 10 นาที

2.วัตถุประสงค์ของโปรแกรม

วัตถุประสงค์หลักของโปรแกรมการการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุตาม แนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ที่ยึดตามทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก 4 องค์ประกอบ คือ ด้านการรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy), ด้านการมีความหวัง (Hope), ด้านการมองโลกในแง่ดี (Optimisms) และด้านความยืดหยุ่นทางอารมณ์ (Resilience)

3.แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในโปรแกรม

จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบได้ว่าแนวทางในการ ส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุที่ผู้วิจัยสนใจคือแนวคิดจิตวิทยเชิงบวก ซึ่งในงานวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัย ได้น าแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกมาผสมผสานกับกระบวนการกิจกรรมบ าบัด ซึ่งผู้วิจัยได้น าทุนทาง จิตวิทยาเชิงบวก 4 ด้านคือ ด้านการรับรู้ความสามารถของตนเอง (Self-efficacy), ด้านการมี

ความหวัง (Hope), ด้านการมองโลกในแง่ดี (Optimisms) และด้านความยืดหยุ่นทางอารมณ์

(Resilience) มาพัฒนาโปรแกรมเพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้นผ่านกระบวนการท ากิจกรรม กลุ่ม

4.กิจกรรมในโปรแกรม

กิจกรรมโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุตามแนวคิดจิตวิทยา เชิงบวกพัฒนาจากการบูรณาการแนวคิดทฤษฎีและกระบวนการทางกิจกรรมบ าบัดให้สอดคล้อง กับทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกทั้ง 4 ด้าน โดยในแต่ละกิจกรรมประกอบด้วย วัตถุประสงค์ การ ประเมินผล วัสดุอุปกรณ์ เวลาที่ใช้ในการท ากิจกรรม และขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม โดย โปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุประกอบไปด้วยกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 สิ่งที่ฉันเป็น

กิจกรรมที่ 2 การเดินทางของชีวิต กิจกรรมที่ 3 ชีวิตดั่งสายน ้า กิจกรรมที่ 4 จดหมายจากฉัน กิจกรรมที่ 5 สถานีความสุข กิจกรรมที่ 6 โปสการ์ดพลังบวก

โดยแต่ละกิจกรรมจะเป็นกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุตามแนวคิด จิตวิทยาเชิงบวก ดังรายละเอียดตามตาราง 3

ตาราง 3 รายละเอียดกิจกรรม

ครั้งที่ กิจกรรม วัตถุประสงค์ ค ำอธิบำยกิจกรรม ทุนทำงจิตวิทยำ เชิงบวก 1 สิ่งที่ฉันเป็น? เพื่อส่งเสริมให้

ผู้สูงอายุส ารวจตนเอง ในด้านการรับรู้

ความสามารถของ ตนเองและ

ประสบการณ์ในอดีต ที่ผ่านมา

กิจกรรม “สิ่งที่ฉันเป็น?” เป็น กิจกรรมที่ให้ผู้สูงอายุท าความ รู้จักตนเอง โดยให้ผู้สูงอายุ

สลับเป็นผู้หยิบกระดาษ ค าถาม และตอบค าถาม โดย ค าถามทั้งหมดเป็นค าถามเชิง บวกที่เข้าใจง่าย และเป็น ค าถามที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ

ทั้งสิ้น

การรับรู้

ความสามารถ ของตนเอง (Self-efficacy และ ความหวัง (Hope)

2 “การเดินทาง ของชีวิต”

1.เพื่อส่งเสริมให้

ผู้สูงอายุเกิดการ ส ารวจประสบการณ์

ในอดีต การ เปลี่ยนแปลงทั้ง ทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม การท า กิจกรรมต่างๆเมื่อเข้า สู่วัยผู้สูงอายุ

2.เพื่อส่งเสริมให้

ผู้สูงอายุมองเห็น ความสามารถของ ตนเองที่สามารถข้าม ผ่านการเปลี่ยนแปลง ต่างๆที่เกิดขึ้นได้

กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่

ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุร่วมกัน อภิปรายถึงการเปลี่ยนแปลง เมื่อเข้าสู่ช่วงวัยผู้สูงอายุ โดย ให้ผู้สูงอายุร่วมกันแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับการ

เปลี่ยนแปลงนั้น ทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคม และ กิจกรรมต่างๆ และการ เปลี่ยนแปลงนั้นส่งผลกระทบ อย่างไร และผู้สูงอายุสามารถ ก้าวข้ามผ่านการเปลี่ยนแปลง นั้นมาได้อย่างไร

การรับรู้

ความสามารถ ของตนเอง (Self-efficacy) และ ความ ยืดหยุ่นทาง อารมณ์

(Resilience)

ตาราง 3 (ต่อ)

ครั้ง ที่

กิจกรรม วัตถุประสงค์ ค าอธิบายกิจกรรม ทุนทางจิตวิทยา เชิงบวก 3 ชีวิตดั่ง

สายน ้า

1.เพื่อส่งเสริมให้

ผู้สูงอายุทบทวน ประสบการณ์ในอดีตที่

ผ่านมา ทั้งเรื่องราวที่

ยากล าบากในชีวิต และ สิ่งที่ท าให้ข้ามผ่านความ ยากล าบากนั้นมาได้

2.เพื่อส่งเสริมให้

ผู้สูงอายุมองเห็น ความสามารถของ ตนเองและการมี

ความหวังที่ช่วยให้ข้าม ผ่านความยากล าบากใน อดีตมาได้

ให้ผู้สูงอายุถ่ายทอดเรื่องราว ต่างๆในอดีตผ่านการวาดภาพ โดยให้เปรียบเทียบชีวิตตนเอง เป็นเหมือนแม่น ้าสายหนึ่ง แม่น ้าสายนี้จะมีลักษณะเช่น ไร และหากในแม่น ้าสายนี้

ต้องมีสิ่ง 2 สิ่ง คือก้อนหินที่

เปรียบเสมือนอุปสรรคในชีวิต และขอนไม้ที่เป็นเหมือนคนที่

คอยช่วยเหลือ สนับสนุน คิด ว่าทั้ง 2 ส่วนนี้อยู่ตรงส่วนไหน ของแม่น ้าสายนี้ และร่วมกัน อภิปราย

ความหวัง (Hope) และ ความยืดหยุ่น ทางอารมณ์

(Resilience)

4 “จดหมาย

จากฉัน”

เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ

appreciate กับชีวิตที่

ผ่านมา

จากการร่วมกันอภิปรายที่ผ่าน มาจะเห็นได้ว่าผู้สูงอายุได้

ผ่านอุปสรรคมามากมายจน มาถึงปัจจุบันนี้ จึงอยากให้

ผู้สูงอายุเขียนจดหมาย ขอบคุณอย่างน้อยสองฉบับ ฉบับแรกเป็นจดหมาย ขอบคุณตนเองที่สามารถก้าว ผ่านอุปสรรคต่างๆมาได้ และ ฉบับที่สองเป็นจดหมาย ขอบคุณบุคคลอื่นที่ช่วยให้

ผ่านอุปสรรคในอดีตมาได้

การมองโลกในแง่

ดี

(Optimisms)และ ความยืดหยุ่น ทางอารมณ์

(Resilience)

ตาราง 3 (ต่อ)

ครั้งที่ กิจกรรม วัตถุประสงค์ ค าอธิบายกิจกรรม ทุนทางจิตวิทยา เชิงบวก

5 “สถานี

ความสุข”

1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ

ค้นหากิจกรรมที่สามารถ ท าในปัจจุบันและ เสริมสร้างความสุขให้กับ ตน

2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ

เห็นถึงความส าคัญในการ ท ากิจกรรมที่จะช่วยคง ความสามารถในปัจจุบัน และสร้างความรู้สึก ทางบวก ความคิดเชิง บวกในขณะท ากิจกรรม ด้วย

เป็นกิจกรรมที่มีความหมาย มี

คุณค่ากับผู้สูงอายุ และ จะต้องสร้างให้เกิดความรู้สึก ทางบวกด้วย ในกิจกรรมนี้

เน้นให้ผู้สูงอายุเขียนกิจกรรม และจัดท าเป็นตารางกิจวัตร ประจ าวัน โดยที่ให้ระบุ

กิจกรรมที่สร้างความรู้สึก ทางบวกลงไปในตารางใน ทุกๆวันด้วย เพื่อเป็นการ กระตุ้นให้ผู้สูงอายุมีแผนการ ท ากิจกรรมและสามารถ ปฏิบัติได้จริงในทุกๆวัน

การรับรู้

ความสามารถ ของตนเอง Self-efficacy) และการมองโลก ในแง่ดี

(Optimisms)

6 “โปสการ์ด

พลังบวก”

1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ

ค้นหาความต้องการของ ตนเองในอนาคต 2.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ

ฝึกความคิดแบบเชิงบวก เพื่อเสริมสร้างความหวัง ให้ตนเอง

ให้ผู้สูงอายุร่วมแลกเปลี่ยน ความคิด และความหวังของ ตนเอง ผ่านการท าการ์ด ส าหรับตนเอง ซึ่งเป็นการ์ดที่

สื่อถึงความรู้สึกทางบวก ความหวัง และก าลังใจ เพื่อ เป็นการให้ก าลังใจตนเองใน การด าเนินชีวิตต่อไปใน อนาคต และท าการ์ดอีกหนึ่ง ใบให้กับสมาชิกในกลุ่ม เป็น การมอบความรู้สึกดีๆให้กัน

ความหวัง (Hope) และ การมองโลกใน แง่ดี

(Optimisms)

2.1.2 ผลการตรวจสอบคุณภาพและความเหมาะสมของโปรแกรมการส่งเสริม สุขภาพจิตผู้สูงอายุตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกโดยผู้เชี่ยวชาญ

ผู้วิจัยได้น าโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิจากหลากหลายสาขาที่

เชี่ยวชาญตรวจสอบ ประกอบไปด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาเชิงบวก ด้านสุขภาพจิตและ ผู้สูงอายุ และด้านกิจกรรมบ าบัดและกระบวนการกลุ่ม แล้วน าข้อมูลที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญมา ค านวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item-Objective Congruence: IOC) โดยได้ผลการ ตรวจสอบความสอดคล้องทั้งภาพรวมและแต่ละกิจกรรมของโปรแกรม มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ตาราง 4 แสดงผลการประเมินภาพรวมของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุตามแนวคิด จิตวิทยาเชิงบวก

ข้อที่ รายการที่ประเมิน ค่า IOC

1 ความสอดคล้องระหว่างความส าคัญของปัญหาและโปรแกรมส่งเสริม สุขภาพจิตผู้สูงอายุตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก

1 2 ความสอดคล้องของกระบวนการจัดโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิต

ผู้สูงอายุตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวก

1 3 ความสอดคล้องของโปรแกรมกระบวนการกลุ่มการส่งเสริมสุขภาพจิต

ผู้สูงอายุตามแนวคิดจิตวิทยาเชิงบวกมีความเหมาะสมกับผู้สูงอายุ

1

4 ความสอดคล้องเหมาะสมของล าดับกิจกรรม 1

รวมค่า IOC 1

Dokumen terkait