• Tidak ada hasil yang ditemukan

บทที่ 2

หนา 0.380 มิลลิเมตรก็คือ 380 ไมครอน

2) ตัวแปรที่จะศึกษา ได้แก่

- ตัวแปรต้น ได้แก่ ศึกษาหลักการผลิตต้นแบบบรรจุภัณฑ์

- ตัวแปรตาม ได้แก่ สร้างต้นแบบบรรจุภัณฑ์ตัวใหม่ ที่มีความร่วมสมัย จากผลผลิตคงเหลือทางการเกษตร กรณีศึกษากลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิต อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี

3.2 เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย

3.2.1 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลตามขั้นตอนการด าเนินงานของวัตถุประสงค์ของการวิจัย - แบบสอบถาม ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามความต้องการข้อมูลเบื้องต้น (ส าหรับกลุ่มเป้าหมาย)

และแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจต่อรูปแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนด การเก็บ ข้อมูลด้านการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ประชาชนในกลุ่ม/ชุมชน (วิสาหกิจ ชุมชนกลุ่มกล้วยสุกแปรรูป”กรุทอง” ต.บ่อกรุ อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี) ประชาชนทั่วไปของ อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี และนักท่องเที่ยวต่างถิ่น ซึ่งแบ่งเป็น 2 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 แบบสอบถามสภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตอนที่ 2 ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถาม โดยสร้างเป็นแบบ Rating Scale เพื่อเป็น แนวทางให้ได้ข้อมูลด้านความพึงพอใจต่อรูปแบบของบรรจุภัณฑ์ใหม่ ได้แก่ ด้านการออกแบบ โครงสร้างบรรจุภัณฑ์ และด้านการออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ ดังนี้

5 หมายถึง มีระดับความพึงพอใจมากที่สุด 4 หมายถึง มีระดับความพึงพอใจมาก 3 หมายถึง มีระดับความพึงพอใจปานกลาง 2 หมายถึง มีระดับความพึงพอใจน้อย 1 หมายถึง มีระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด 3.2.2 กระบวนการวิจัยกับการใช้เครื่องมือในการวิจัย

ช่วงที่ 1 : ขั้นตอนการศึกษาข้อมูลในหลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์ร่วมสมัยจากผลผลิต คงเหลือทางการเกษตร กรณีศึกษากลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิต อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี

เพื่อใช้ประกอบในงานวิจัย เรื่อง “การศึกษาเพื่อการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ร่วมสมัย ใน การเพิ่มยอดจ าหน่ายสินค้าแก่ชุมชนจากผลผลิตคงเหลือทางการเกษตร กรณีศึกษากลุ่มวิสาหกิจชุมชน แปรรูปผลผลิต อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี”

1) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่

- การศึกษาค้นคว้า การจดบันทึก ใช้ในการสรุปผลเพื่อน าไปใช้

ประกอบแนวความคิดในการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์

- แบบสอบถาม ใช้สอบถามกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกล้วยสุกแปรรูป

”กรุทอง” ต.บ่อกรุ อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี, สถานประกอบการ, ร้านค้า และประชาชนทั่วไป ภายใน อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี และนักท่องเที่ยวต่างถิ่น

ช่วงที่ 2 : ขั้นตอนการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์

1) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่

- การศึกษาค้นคว้า การจดบันทึก เพื่อน าไปใช้ประกอบแนวความคิด ในการออกแบบและพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์

- แบบสอบถาม ใช้สอบถามกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกล้วยสุกแปรรูป

”กรุทอง” ต.บ่อกรุ อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี, สถานประกอบการ, ร้านค้า และประชาชนทั่วไป ภายใน อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี และนักท่องเที่ยวต่างถิ่น

ช่วงที่ 3 : ขั้นตอนการประเมินผลความพึงพอใจต่อรูปแบบของบรรจุภัณฑ์

1) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่

- แบบสอบถาม ใช้ในการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง เพื่อ ประเมินความพึงพอใจต่อรูปแบบบรรจุภัณฑ์

ช่วงที่ 4 : ขั้นตอนการน าผลการศึกษาด้านการออกแบบ และการพัฒนารูปแบบของ บรรจุภัณฑ์ที่ได้ไปใช้งาน และถ่ายทอดผลงานการวิจัยสู่สังคม ชุมชน

1) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่

- แบบสอบถาม ใช้ในการประเมินความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเพื่อ ประเมินรูปแบบบรรจุภัณฑ์ตัวใหม่ ที่มีความร่วมสมัยจากผลผลิตคงเหลือทางการเกษตร กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิต อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี

3.3 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล

ช่วงที่ 1 : ขั้นตอนการศึกษาข้อมูลในหลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์ร่วมสมัย จาก ผลผลิตคงเหลือทางการเกษตร กรณีศึกษากลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิต อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี

เป็นการเก็บข้อมูล โดยการวิเคราะห์จากเอกสาร ต ารา และผลงานที่

เกี่ยวข้อง การพูดคุย การสอบถาม การสัมภาษณ์ เพื่อให้ทราบข้อมูลเบื้องต้นส าหรับน าไปใช้

ประกอบการออกแบบรูปแบบบรรจุภัณฑ์ตัวใหม่ เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์ข้อมูล ช่วงที่ 2 : ขั้นตอนการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์

เป็นการเก็บข้อมูล เป็นการวิเคราะห์แนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์

และแบบสอบถาม การพูดคุย สัมภาษณ์ร่วมกับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกล้วยสุกแปรรูป”กรุทอง”ต.บ่อกรุ

อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี สถานประกอบการ ร้านค้า ประชาชนทั่วไปใน อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี และนักท่องเที่ยวต่างถิ่น ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์ข้อมูล

ช่วงที่ 3 : ขั้นตอนการประเมินผลความพึงพอใจต่อรูปแบบบรรจุภัณฑ์ตัวใหม่ใหม่

เป็นการเก็บข้อมูล โดยการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง เพื่อ ประเมินผลความพึงพอใจต่อรูปแบบบรรจุภัณฑ์ร่วมสมัยจากผลผลิตคงเหลือทางการเกษตร กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิต อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ

ช่วงที่ 4 : ขั้นตอนการน าผลการศึกษาด้านการออกแบบ และการพัฒนารูปแบบของ บรรจุภัณฑ์ที่ได้ไปใช้งาน และถ่ายทอดผลงานการวิจัยสู่สังคม ชุมชน

เป็นการเก็บข้อมูล ใช้ในการประเมินความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง เพื่อ ประเมินรูปแบบบรรจุภัณฑ์ตัวใหม่ ที่ทีความร่วมสมัยจากผลผลิตคงเหลือทางการเกษตร กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิต อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี

รูปที่ 3.1 แผนผังแสดงขั้นตอนการะบวนการ วิจัย