• Tidak ada hasil yang ditemukan

การวิจัยเรื่อง “การนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ: ศึกษาเฉพาะกรณีบทบาท มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการนํานโยบายและปจจัยที่สงผลตอ การนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ ผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่ ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย จํานวน ๑๕๙ รูป/คน เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม สถิติที่ใชในการศึกษา ครั้งนี้คือ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน รวมทั้งทดสอบความสัมพันธระหวางตัวแปรโดยใชสถิติ

คาไคสแควร แลววิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม SPSS

การศึกษาศึกษาครั้งนี้ เปนการศึกษาเชิงสํารวจ (Survey Research)ภาคคัดขวาง (Cross-sectional Study) เพื่อศึกษาการนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ โดยมีขั้นตอนในการดําเนินการ ดังนี้คือ ๑) การกําหนดประชากรกลุมตัวอยาง ๒) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ๓) การสรางมือในการวิจัย ๔) การทดสอบคุณภาพเครื่องมือ ๕) การเก็บรวบรวมขอมูล ๖) การวิเคราะหขอมูลและ๗) สถิติที่ใชวิจัย ซึ่งมีขอมูลที่แจกแบบสอบถามตามกลุมตัวอยาง ตามลักษณะเครื่อง ดังนี้

๕.๑ สรุปผลการวิจัย

๕.๑.๑ ลักษณะทั่วไปของกลุมตัวอยาง

ลักษณะของกลุมตัวอยางของผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย พบวา ผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่ สวนใหญมีเพศเปนบรรพชิต คิดเปนรอยละ ๖๘.๕๕ และ รองลงมาเปนเพศคฤหัสถ คิดเปนรอยละ ๓๐.๘๒ ดานอายุ ผูบริหาร คณาจารยสวนใหญมีอายุระหวาง ๓๑- ๔๐ ป คิดเปนรอยละ ๖๐.๓๘ รองลงมามีอายุระหวาง๒๕-๓๐ ป คิดเปนรอยละ ๒๐.๑๓ มีอายุสูงกวา ๔๐ ป คิดเปนรอยละ ๑๘.๒๔ และมีอายุต่ํากวา ๒๕ ป คิดเปนรอยละ ๑.๒๖ ดานอายุพรรษาสวนใหญ มี

อายุพรรษาระหวาง ๑๑-๑๕ พรรษา คิดเปนรอยละ ๖๕.๔๕ รองลงมา มีอายุพรรษาระหวาง ๕-๑๐ พรรษา คิดเปนรอยละ ๒๑.๘๒ มีอายุพรรษาสูงกวา ๑๕ พรรษา คิดเปนรอยละ ๑๐.๙๑ และมีอายุพรรษา ต่ํากวา ๕ พรรษา คิดเปนรอย ๑.๘๒ ดานระดับการศึกษาสายสามัญสวนใหญ มีระดับการศึกษาสายสามัญสูงกวา

บัณ ฑิต วิทย าลัย วิท ยาค ารพ ญาไ

มห าวิท ยาล ัยศร ีปท ุม

๗๗

ปริญญาตรี คิดเปนรอยละ ๕๐.๙๔ รองลงมา ชั้น ปริญญาตรี คิดเปนรอยละ ๓๒.๑๔ ชั้นอนุปริญญา/ปว.ช./

ปว.ส. คิดเปนรอยละ ๕.๐๓ และมัธยมศึกษา คิดเปนรอยละ ๑.๘๙ ดานระดับการศึกษาทางบาลีสวนใหญ มี

ระดับการศึกษาทางบาลี ไมไดเปรียญธรรม คิดเปนรอยละ ๓๗.๗๐ รองลงมาเปรียญธรรม ๔-๖ คิดเปน รอยละ ๒๙.๖๐ เปรียญธรรม ๗-๙ คิดเปนรอยละ ๒๑.๔๐ เปรียญธรรม ๑-๓ คิดเปนรอยละ ๑๑.๓๐ ดาน ตําแหนงการทํางานสวนใหญ มีตําแหนงการทํางาน ระดับเจาหนาที่ คิดเปนรอยละ ๕๗.๘๖ รองลงมาระดับ อาจารย คิดเปนรอยละ ๒๑.๓๘ ระดับหัวหนาฝาย/ภาควิชา คิดเปนรอยละ ๘.๑๘ ระดับรองอธิการบดี

คิดเปนรอยละ ๖.๐๓ ระดับรองคณบดี คิดเปนรอยละ ๒.๕๒ ระดับคณบดี คิดเปนรอยละ ๒.๕๒ และ ระดับผูอํานวยการ คิดเปนรอยละ ๒.๕๒

๕.๑.๒ การนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ

การนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ ของผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่

ของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยรวม อยูในระดับ “มาก” มีคาเฉลี่ยเทากับ ๓.๖๖ ดานกระบวนการนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติในประเทศไทย อยูในระดับ “มาก” มี

คาเฉลี่ยเทากับ ๓.๘๓ ดานความคิดเห็นในเรื่องของการนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ

ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อยูในระดับ “ปานกลาง” มีคาเฉลี่ยเทากับ ๓.๔๑ และ ดานปญหาอุปสรรคในการนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย อยูในระดับ “นอย” มีคาเฉลี่ยเทากับ ๓.๗๖ ซึ่งเปนขอคําถามเชิงลบ

๕.๒ อภิปรายผล

จากผลการวิเคราะห ปจจัยเกี่ยวกับ การนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ ของ ผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยรวมอยูในระดับ “มาก” อาจ เปนเพราะวาผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่ ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สวนใหญมีเพศ บรรพชิต (พระสงฆ) ซึ่งมีความยึดมั่นในหลักคําสอนของศาสนามีการปฏิบัติตามหลักธรรมในการทํางาน นอกจากนั้นพระสงฆสวนใหญยังเปนกลุมที่อยูในเถระภูมิ คือมีอายุในการบวช ๑๐ พรรษาขึ้นไป ทําใหมี

ประสบการณดานการปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัยเปนเวลายาวนาน มีจริยธรรมคุณธรรมในการดํารงชีวิต และการทํางานเสมอมา ซึ่งการนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ จึงเปนความสอดคลองกับ พฤติกรรมพื้นฐานของผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่

เมื่อพิจารณาในรายดานกระบวนการนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติในประเทศ ไทย มีความคิดเห็นอยูในระดับ “มาก” อาจเปนเพราะวา ผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬา

บัณ ฑิต วิทย าลัย วิท ยาค ารพ ญาไ

มห าวิท ยาล ัยศร ีปท ุม

๗๘

ลงกรณราชวิทยาลัย ไดรับการสนับสนุนดานงบประมาณและนโยบายดานเผยแผจากมหาวิทยาลัยในทุก ปงบประมาณทําใหสามารถนําโยบายตาง ๆ มาใชในการทํางานไดอยางสะดวก

ดานการนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย อยูในระดับ “ปานกลาง” อาจเปนเพราะวา นโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาของมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณาชวิทยาลัยไมสอดคลองกับพระราชบัญญัติคณะสงฆ และขาดการติดตามผลหลังโครงการ ตางๆ เกี่ยวกับการเผยแผสิ้นสุดลงประชาชนที่ลาสิกขาบทจากพระมีความเอาใจใสนอยลง มีเปาหมายใน เรื่องการแสวงหาผลประโยชนสวนตัวมากวาใหผลประโยชนของมหาวิทยาลัย

ดานปญหาอุปสรรคในการนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติของมหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อยูในระดับ “นอย” อาจเปนเพราะวา ผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่ ของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีความพรอมทั้งทางดานบุคลากร งบประมาณและสถานที่ในการ ดําเนินการ ไมกอใหเกิดอุปสรรคในการดําเนินการ

๕.๓ ขอเสนอแนะ

จากการวิจัย เรื่อง “การนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ” ผูวิจัยมีขอเสนอแนะ ดังนี้

๕.๓.๑ ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย

๑) ดานกระบวนการนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติในประเทศไทย ก. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยควรพลักดันใหมี

สงฆไทย มีความชัดเจนเกี่ยวกับนโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนา

พระราชบัญญัติคณะ

ข. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยควรมีนโยบายรวมกับมหาเถรสมาคมใน การควบคุมพฤติกรรมของพระภิกษุ สามเณรใหปฏิบัติตนเอื้อตอ หลักพระธรรมวินัยจะสงผลตอการเผยแผ

พระพุทธศาสนาเปนไปไดดวยดี

ค. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยควรมีการอบรมพระสงฆรุนใหมใหมี

ยุทธวิธีในการเผยแผพระพุทธศาสนา ใหเปนที่ยอมรับในการเผยแผพระพุทธศาสนารูปแบบใหมใน สังคมไทย

ง. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ควรมีกําหนดแนวทางในการเผยแผ

บัณ ฑิต วิทย าลัย วิท ยาค ารพ ญาไ

มห าวิท ยาล ัยศร ีปท ุม

๗๙

พระพุทธศาสนาใหมีความเห็นในทิศทางเดียวกัน ระหวางพระสงฆทั่วไปและผูบริหาร คณาจารย เจาหนาที่

ของมหาวิทยาลัย

๒) ดานความคิดเห็นในเรื่องของการนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ

ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ก. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ควรมีการปรับปรุงประสิทธิภาพเกี่ยวกับ การจัดโครงการตางๆ ที่เกี่ยวกับการเผยแผพระพุทธศาสนาในมหาวิทยาลัยเพื่อให บรรลุเปาหมายอยางมี

ระบบ

ข. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยควรมีการประเมินผลและติดตามผลการ จัดโครงการตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเผยแผพระพุทธศาสนาเมื่อดําเนินการเสร็จสิ้นเพื่อวัดประสิทธิภาพที่มี

ตอการเผยแผพระพุทธศาสนา

ค. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ควรจัดโครงการอบรมเกี่ยวกับการเผยแผ

พระพุทธศาสนาแกบุคลากรในมหาวิทยาลัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานเกี่ยวกับการเผยแผทั้งใน ระบบและนอกระบบ

๓) ดานปญหาอุปสรรคในการนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ก. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ควรจัดโครงการสัมมนาทางวิชาการดาน การเผยแผพระพุทธศาสนาเพื่อกําหนดทิศทางในการเผยแผใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน

ข. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ควรเปดหลักสูตรการเรียนการสอน

สาขาวิชาการเผยแผพระพุทธศาสนาเพื่อใหผูเรียนจบการศึกษาไดมีความรูความสามารถในการนําทฤษฏีไป ใชในการเผยแผอยางมีประสิทธิภาพ

ค. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ควรมีความรวมมือกันระหวาง

มหาวิทยาลัยกับคณะสงฆแหงประเทศไทยกําหนดนโยบายในการเผยแผพระพุทธศาสนาเพื่อเปดชอง ทางดานการปฏิบัติดานการเผยแผพระพุทธศาสนา

๕.๓.๒ ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัย

๑) ดานกระบวนการนํานโยบายการเผยแผพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติในประเทศไทย ควรศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการติดตามประเมินผลโครงการตาง ๆ เกี่ยวกับการเผยแผใน ประเทศไทยเพื่อปรับปรุงใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

บัณ ฑิต วิทย าลัย วิท ยาค ารพ ญาไ

มห าวิท ยาล ัยศร ีปท ุม