• Tidak ada hasil yang ditemukan

เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย

5. การวิเคราะห์ข้อมูล 1. รูปแบบการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เป็นการทดลองแบบกลุ่มเดียว (One Group Pretest-Posttest Design) เป็นการทดลองที่มีการวัดประเมินผลก่อนการทดลอง 1 ครั้ง และ หลังการทดลอง 1 ครั้ง โดยมีลักษณะดังนี้

O1 คือ - แบบประเมินความยืดหยุ่นกล้ามเนื้อของผู้ที่มีความเสี่ยงจากการ

ใช้งานคอมพิวเตอร์ (Pretest)

X คือ - การใช้กิจกรรมการประยุกต์ใช้นาฏศิลป์อินเดีย

O2 คือ - แบบประเมินความยืดหยุ่นกล้ามเนื้อของผู้ที่มีความเสี่ยงจากการ

ใช้งานคอมพิวเตอร์ (Posttest)

O1 และ O2 - เป็นการวัดด้วยเครื่องมือชนิดเดียวกัน หรือ คู่ขนานกันประชากรและ

กลุ่มตัวอย่าง

O1 X O2

2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย ประชากรผู้ให้ข้อมูล

ประชากรที่ให้ข้อมูลในงานวิจัยครั้งนี้ เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้าน นาฏศิลป์อินเดีย ภาษาสันสกฤต นาฏศิลป์สร้างสรรค์ นาฏศิลป์บ าบัด และผู้เชี่ยวชาญทางด้านกายวิภาคศาสตร์

จ านวนไม่น้อยกว่า 4-5 คน

ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย

ประชากรที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้เป็นกลุ่มคนท างานออฟฟิศ อายุระหว่าง 23-40 ปี

ที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) กลุ่มคนท างานออฟฟิศที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรมที่ในช่วงระดับอายุ

23-40 ปี จ านวน 30 คน 3. เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเรื่องการพัฒนาชุดกิจกรรมการใช้เทคนิคนาฏศิลป์อินเดียเพื่อ ป้องกันกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม

1) แบบสอบถามสภาพร่างกายของผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยใช้แบบส ารวจความรู้สึกไม่

สบายกายของผู้ปฏิบัติงาน (Discomfort Survey) โดยใช้แบบสอบถามที่ดัดแปลงมาจาก ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ที่บ่งบอกถึงกลุ่มอาการความเจ็บปวดที่

เกิดขึ้นจากบริบทของการท างานในส านักงานที่มีค่าวัดระดับความเจ็บปวดหรือความไม่สบายกาย ในแต่ละส่วนของร่างกายตั้งแต่ 1-10 โดยมีการวัดระดับความเจ็บปวดในทุกส่วนของอวัยวะ เช่น คอ ไหล่ หลัง ข้อมือ ข้อศอก และขา และระบุอวัยวะที่ท าให้รู้สึกเจ็บปวดมากที่สุดเพียง 1 ต าแหน่ง เพื่อประเมินความรู้สึกปวดหรือความไม่สบายกาย ก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรม

2) การประเมินระดับความรุนแรงของความปวดแบบมิติเดียว (Unidimensional Assessment) เป็นวิธีวัดความรุนแรงของการเจ็บปวดเพียงอย่างเดียว โดยใช้แบบประเมิน Facial Scales เป็นแบบประเมินความเจ็บปวดโดยใช้ภาพที่แสดงถึงอารมณ์ความรู้สึกเจ็บปวดที่

แทนค่า 0 -10 ของอาการปวด เริ่มตั้งแต่ หน้ายิ้ม = ไม่รู้สึกปวด (คะแนนเป็น 0) ไปจนถึง หน้าร้องไห้ = ปวดมากที่สุด (คะแนนเป็น 10) (Cirino, 2017) โดยใช้ค าจ ากัดควา ระดับ ความเจ็บปวดดังนี้ 10 = ระดับอาการเจ็บปวดรุนแรงทุกวัน ไม่สามารถท างานได้ 9 = ระดับเริ่มมี

อาการเจ็บปวดรุนแรงเป็นประจ าทุกวัน ขณะท างานและพัก 8 = ระดับเริ่มมีอาการเจ็บปวดที่พบ เกือบทุกครั้งขณะท างานและพัก 7 = ระดับอาการเจ็บปวดที่พบบ่อยครั้ง เริ่มเจ็บปวดต่อเนื่องเมื่อ

ท างานและพัก 6 = ระดับมอาการปวดเมื่อยที่พบมากขึ้น และเริ่มมีอาการเจ็บปวดเมื่อท างาน 5 = ระดับอาการปวดเมื่อยที่พบปานกลาง และปวดเมื่อยเมื่อท างาน 4 = ระดับอาการปวดเมื่อยที่

พบนาน ๆ ครั้ง และปวดเมื่อยเมื่อท างาน 3 = ระดับเริ่มมีอาการปวดเมื่อยที่พบมากขึ้นเมื่อท างาน 2 = ระดับเริ่มมีอาการปวดเมื่อยเมื่อท างาน 1 = ระดับเริ่มมีอาการไม่สบายกายมีความปวดเมื่อย เพียงเล็กน้อย 0 = ไม่พบอาการปวดเมื่อย/มีความสบายกายสูงสุด

3) การพัฒนาชุดกิจกรรมการใช้เทคนิคนาฏศิลป์อินเดียเพื่อป้องกันกลุ่มอาการ ออฟฟิศซินโดรม การออกแบบชุดกิจกรรมนี้ผู้วิจัยนาข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้า แนวคิดและทฤษฎี

แบบสอบถามสภาพร่างกายของคนทางานส านักงาน และแบบทดสอบที่วัดสมรรถภาพทางกาย ของกลุ่มคนท างานออฟฟิศที่มีภาวะเสี่ยงต่อกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรม แล้วน าเสนอ ผู้ทรงคุณวุฒิจ านวน 5 ท่าน เพื่อพิจารณาหาค่าดัชนีระหว่างกิจกรรมกับวัตถุประสงค์และความ เที่ยงตรงในการวิจัย (IOC) และตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบแล้วน าไปทดลองใช้ ซึ่ง ผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละท่านให้คะแนนตามเกณฑ์ดังนี้

คะแนน +1 หมายถึง แน่ใจว่าชุดกิจกรรมนั้นสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการวิจัย คะแนน 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าชุดกิจกรรมจะเหมาะสมกับงานวิจัย

คะแนน -1 หมายถึง กิจกรรมนั้นไม่เหมาะสมกับงานวิจัยและวัตถุประสงค์

เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินผล IOC จากผู้ตรวจจะพิจารณาดังนี้ ข้อค าถามที่มีค่า IOC ตั้งแต่ 0.50 – 1.00 หมายถึง มีความเที่ยงตรงและน าไปใช้ได้

ข้อค าถามที่มีค่า IOC ต ่ากว่า 0.50 หมายถึง ต้องน าไปแก้ไข

จากนั้นน าชุดกิจกรรมมาปรับแก้ไข เพื่อให้ได้กิจกรรมที่สมบูรณ์ก่อนน าไปทดลองจริง ซึ่งผู้วิจัยได้น าชุดกิจกรรมของการใช้เทคนิคทางด้านนาฏศิลป์อินเดียที่เป็นการเคลื่อนไหวที่มี

ความสัมพันธ์กันในการเคลื่อนไหวกับกล้ามเนื้อทุก ๆ ส่วนของร่างกาย ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการ ออกก าลังกายและเพิ่มสมรรถภาพทางร่างกายได้อีกด้วย

4) อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น กล้องบันทึกภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว เครื่องบันทึกเสียง เครื่องคอมพิวเตอร์

Dokumen terkait