• Tidak ada hasil yang ditemukan

สถานกงสุลใหญ ณ รัฐปนัง

ภาพประกอบ 99 การประกาศครู

2.6.5 ขนบธรรมเนียมหลังจบการแสดง

2.7.2.1 เพลงโหมโรง มีทั้งหมด 6 เพลง ดังนี้

1. เพลงเกริ่น

2. เพลงไมปรากฏชื่อเพลงที่ 1 3. เพลงลาวลําปาง

4. เพลงไมปรากฏชื่อเพลงที่ 2 5. เพลงโยสลัม

6. เพลงทอดบท

ผูวิจัยไดศึกษาและรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวกับเพลงโหมโรงที่ใชในการประกอบการแสดงโนรา โดยเก็บขอมูลจากการสัมภาษณ ทําการบันทึกเสียง และภาพเคลื่อนไหวในระหวางทําการแสดง ผูวิจัย ไดทําการถอดโนตเพลงจากเครื่องบันทึกเสียง และผูวิจัยไดนําขอมูลมาตรวจสอบความถูกตองตาม แบบฉบับของวงดนตรีประกอบการแสดงโนรากับนักดนตรีภายในคณะโนรา โดยมีเพลงโหมโรงใน รูปแบบโนตสากลดังนี้

2.7.2.2 เพลงบรรเลงประกอบการรายรํา มีทั้งหมด 14 เพลง ดังนี้

1. เพลงเกริ่น 2. เพลงลาวลําปาง 3. เพลงโยสลัม 4. เพลงมอญดูดาว 5. เพลงคางคาวกินกลวย 6. เพลงจีนไจยอ

7. เพลงตารีกีปส 8. เพลงพมารําขวาน 9. เพลงคากคกปากสระ 10. เพลงหักคอไอเทง 11. เพลงทอดบท

12. เพลงไมปรากฏชื่อเพลงที่ 1 13. เพลงไมปรากฏชื่อเพลงที่ 2 14. เพลงไมปรากฏชื่อเพลงที่ 3

ผูวิจัยไดศึกษาและรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวกับเพลงบรรเลงประกอบการรายรํา โดยเก็บขอมูล จากการสัมภาษณ ทําการบันทึกเสียง และภาพเคลื่อนไหวในระหวางทําการแสดง ผูวิจัยไดทําการถอด โนตเพลงจากเครื่องบันทึกเสียง และผูวิจัยไดนําขอมูลมาตรวจสอบความถูกตองตามแบบฉบับของวง ดนตรีประกอบการแสดงโนรากับนักดนตรีภายในคณะโนรา โดยมีเพลงบรรเลงประกอบการรายรํา ใน รูปแบบโนตสากลดังนี้

การบรรเลงดนตรีประกอบการแสดงโนรา ในคณะโนราที่ผูวิจัยศึกษานี้ มีการบรรเลง เพลงทั้งหมด 14 เพลง แบงเปน 2 ประเภท คือ 1. เพลงที่ใชในการโหมโรง มีทั้งหมด 6 เพลง 2. เพลง บรรเลงประกอบการรายรํา มีทั้งหมด 14 เพลง ผูบรรเลงปโนรา และคียบอรดสามารถเลือกใชเพลง ตางๆ เหลานี้ไดตามความเหมาะสม นํามาบรรเลงประกอบหนาทับตางๆ ทั้งนี้ผูบรรเลงทับและกลอง ตุกจะตองคอยสังเกตอากัปกิริยาของนักแสดงโนรา เพื่อที่จะบรรเลงไดสอดคลองเหมาะสมกับทารํา

2.7.2.3 หนาทับที่ใชในการประกอบการแสดงโนรา ในการประกอบการแสดง โนรา ผูบรรเลงทับ ทําหนาที่ควบคุมการเปลี่ยนจังหวะใหมีความชา หรือเร็ว ตามลีลาทาทางของผูรํา โนรา รวมถึงเปนผูนําใหกับผูบรรเลงเครื่องดนตรีอื่น ซึ่งจะตองคอยฟงจังหวะจากทับ การบรรเลงใน บางครั้งนักดนตรี อาจจะใชความสามารถในการพลิกแพลงทํานองและสอดแทรกลีลาบทเพลงใน กระสวนจังหวะใหม ใหสอดคลองกับผูรําโนรา หนาทับสวนใหญที่พบในการประกอบการแสดงนั้น มี

ทั้งหมด 8 หนาทับ ดังนี้

1. หนาทับเสมอเครื่อง 2. หนาทับทอดบท 3. หนาทับรายหนาแตระ

4. หนาทับกลอนแปด 5. หนาทับสอดสรอย 6. หนาทับเพลงโค 7. หนาทับนาดชา 8. หนาทับนาดเร็ว

นิยามศัพทเฉพาะ

เสียงปะของทับ หมายถึง ลักษณะสัญลักษณ

เสียงเทงของทับ หมายถึง ลักษณะสัญลักษณ

เสียงทืดของทับ หมายถึง ลักษณะสัญลักษณ

เสียงติ๊กของทับ หมายถึง ลักษณะสัญลักษณ

เสียงตุงของกลองตุก หมายถึง ลักษณะสัญลักษณ

เสียงสูงของฆองคู หมายถึง ลักษณะสัญลักษณ

เสียงต่ําของฆองคู หมายถึง ลักษณะสัญลักษณ

เสียงฉิ่ง หมายถึง ลักษณะสัญลักษณ

เสียงฉับ หมายถึง ลักษณะสัญลักษณ

เสียงแชของฉาบเล็ก หมายถึง ลักษณะสัญลักษณ

เสียงแตระ หมายถึง ลักษณะสัญลักษณ

ผูวิจัยไดศึกษาและรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวกับหนาทับที่ใชในการประกอบการแสดงโนรา โดย เก็บขอมูลจากการสัมภาษณ ทําการบันทึกเสียง และภาพเคลื่อนไหวในระหวางทําการแสดง ผูวิจัยได

ทําการถอดโนตเพลงจากเครื่องบันทึกเสียง และผูวิจัยไดนําขอมูลมาตรวจสอบความถูกตองตามแบบ ฉบับของวงดนตรีประกอบการแสดงโนรากับนักดนตรีภายในคณะโนรา โดยมีหนาทับในรูปแบบโนต สากลดังนี้