• Tidak ada hasil yang ditemukan

แสดงการสุ่มตัวอย่างแบบโควตาเขตพื้นที่ในกรุงเทพมหานคร

เขต จ านวน

1. เขตบางรัก 77

2. เขตคลองสาน 77

3. เขตปทุมวัน 77

4. เขตวัฒนา 77

5. เขตพระนคร 77

รวม 385

ขั้นตอนที่ 3 วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (Convenience Sampling) เป็น การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวกตามความเต็มใจของประชากรที่จะให้ข้อมูล การเก็บข้อมูล เป็นไปตามเขตพื้นที่ที่ได้ในขั้นตอนที่ 1 โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บข้อมูลจนครบจ านวน 385 คน

การสร้างเครื่องมือเพื่อใช้ในงานวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลส าหรับการวิจัยในเรื่อง รูปแบบการด าเนินชีวิตที่มี

ความสัมพันธ์ต่อคุณค่าก าไลหินสีในมุมมองของผู้สวมใส่ที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีลักษณะที่ง่ายต่อการตอบและครอบคลุมวัตถุประสงค์ที่ผู้วิจัยได้ตั้ง ไว้ โดยแบ่งเนื้อหาของแบบสอบถามออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

ส่วนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถามที่สวมใส่

ก าไลหินสี ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน โดยเป็น ค าถามแบบหลายตัวเลือก (Multiple Choice Questions) ให้ผู้ตอบเลือกเพียงข้อเดียว ได้แก่

ข้อที่ 1 เพศ วัดข้อมูลประเภทนามบัญญัติ (Nominal Scale) โดยมีค าตอบ ให้เลือก ดังนี้

1. ชาย 2. หญิง

ข้อที่ 2 อายุ วัดข้อมูลประเภทเรียงล าดับ (Ordinal Scale) โดยมีค าตอบให้เลือก ดังนี้

1. 18-25 ปี

2. 26-35 ปี

3. 36-45 ปี

4. 46-55 ปี

5. 56 ปีขึ้นไป

ข้อที่ 3 สถานภาพ วัดข้อมูลประเภทนามบัญญัติ (Nominal Scale) โดย มีค าตอบให้เลือก ดังนี้

1. โสด

2. สมรส/อยู่ด้วยกัน

3. หม้าย/หย่าร้าง/แยกกันอยู่

ข้อที่ 4 ระดับการศึกษา วัดข้อมูลประเภทเรียงล าดับ (Ordinal Scale) โดย มีค าตอบให้เลือก ดังนี้

1. ต ่ากว่าปริญญาตรี

2. ปริญญาตรี

3. สูงกว่าปริญญาตรี

ข้อที่ 5 อาชีพ วัดข้อมูลประเภทนามบัญญัติ (Nominal Scale) โดยมีค าตอบ ให้เลือก ดังนี้

1. นักเรียน/นิสิต/นักศึกษา 2. พนักงานบริษัทเอกชน 3. ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ 4. เจ้าของกิจการ/ผู้ประกอบการ 5. แม่บ้าน/พ่อบ้าน

ข้อที่ 6 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน วัดข้อมูลประเภทเรียงล าดับ (Ordinal Scale) โดย มีค าตอบให้เลือก ดังนี้

1. ต ่ากว่าหรือเท่ากับ 15,000 บาท 2. 15,001-25,000 บาท

3. 25,001-35,000 บาท 4. 35,001-45,000 บาท 5. 45,001 บาทขึ้นไป

ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับรูปแบบการด าเนินชีวิตของผู้สวมใส่ก าไลหินสีที่

อาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร โดยสามารถจ าแนกแบบสอบถามออกเป็น 3 ด้าน ดังนี้

1. กิจกรรม (Activities) จ านวน 12 ข้อ

1.1 งานอดิเรก 4 ข้อ

1.2 กิจกรรมสังคม 4 ข้อ

1.3 การเลือกซื้อ 4 ข้อ

2. ความสนใจ (Interests) จ านวน 12 ข้อ

2.1 แฟชั่น 4 ข้อ

2.2 สื่อต่าง ๆ 4 ข้อ

2.3 ความส าเร็จ 4 ข้อ

3. ความคิดเห็น (Opinions) จ านวน 12 ข้อ

3.1 ต่อตนเอง 4 ข้อ

3.2 ผลิตภัณฑ์ 4 ข้อ

3.3 วัฒนธรรม 4 ข้อ

ซึ่งเป็ น ลักษ ณ ะค าถาม แบ บ ป ลายปิ ด (Close-Ended Question) โดยก าหน ด แบบสอบถามเป็นรูปแบบลิเคิร์ท (Likert Scale) ใช้ระดับการวัดข้อมูลประเภทมาตราอันตรภาคชั้น หรือมาตราช่วง (Interval Scale) โดยมีค าตอบให้เลือก 5 ระดับ มีเกณฑ์การให้คะแนน คือ การค านวณหาอันตรภาคชั้นเพื่อแปลผลในแต่ละช่วง ดังต่อไปนี้

ด้านกิจกรรม ประกอบด้วย งานอดิเรก กิจกรรมสังคม และการเลือกซื้อ

คะแนน ระดับการปฏิบัติ

5 หมายถึง มากที่สุด

4 หมายถึง มาก

3 หมายถึง ปานกลาง

2 หมายถึง น้อย

1 หมายถึง น้อยที่สุด

เพื่อให้ได้ลักษณะเกณฑ์เป็นการแจกแจงปกติ (Normal Distribution) ผู้วิจัยใช้สูตรส าหรับ การหาความกว้างของอันตรภาคชั้นแต่ละชั้นของ ชูศรี วงศ์รัตนะ (2544) ดังนี้

ความกว้างของอันตรภาคชั้น = พิสัยข้อมูลที่มีค่าสูงสุด – ข้อมูลที่มีค่าต ่าสุด จ านวนชั้น

= 5 - 1 = 0.80 5

ดังนั้น รูปแบบการด าเนินชีวิตด้านกิจกรรม สามารถแบ่งเป็น 5 ระดับ ได้ดังนี้