• Tidak ada hasil yang ditemukan

กลิ่นโคลนในสัตว นํ้า: ผลกระทบ สาเหตุและการแก M - ThaiJo

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "กลิ่นโคลนในสัตว นํ้า: ผลกระทบ สาเหตุและการแก M - ThaiJo"

Copied!
12
0
0

Teks penuh

(1)

กลิ่นโคลนในสัตวนํ้า: ผลกระทบ สาเหตุ และการแกไขปญหา

Musty/earthy off-fl avor in aquatic animals: impact, causes, and solutions

พรพิมล พิมลรัตน1*นิวุฒิ หวังชัย1 ชนกันต จิตมนัส1และหลุยส เลอเบล2

Pornpimol Pimolrat1*, Niwooti Whangchai1, Chanagun Chitmanat1 and Louis Lebel2

1 คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางนํ้า มหาวิทยาลัยแมโจ

2 หนวยวิจัยสังคมและสิ่งแวดลอม คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

1 Faculty of Fisheries Technology and Aquatic Resources, Maejo University

2 Unit for Social and Environmental Research, Chiang Mai University

* Correspondent author:paqua50@gmail.com

บทคัดยอ

กลิ่นสาบดินหรือกลิ่นโคลนที่ไมพึงประสงคในสัตวนํ้าเปนปญหาทั่วโลก แมวาจะไมกอใหเกิดอันตรายตอ สุขภาพมนุษย แตกลิ่นโคลนก็เปนสาเหตุที่ทําใหผูบริโภคไมยอมรับ บทความนี้มีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมบทความ ที่เกี่ยวของกับกลิ่นโคลนในสัตวนํ้า จีออสมินและ 2-เมททิลไอโซบอนีออล (เอ็มไอบี) เปนสารสําคัญที่กอใหเกิดกลิ่น โคลน สารทั้งสองชนิดนี้เปนสารเมทาบอไลทที่ผลิตจากสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงินเชน Anabaena sp., Oscillatoria sp., Lyngbya sp., Symploca sp., Phormidium sp., Aphanizomenon sp. และแบคทีเรียบางสายพันธุ เชน Streptom ycesปลาที่มีปริมาณไขมันสูงหรือเลี้ยงในบอดินที่มีสาหรายและแบคทีเรียที่กลาวมาขางตนมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิด ปญหาการปนเปอนของกลิ่นโคลน อุณหภูมิ ฤดูกาล และการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศมีผลตอการเกิดกลิ่นโคลน ตลอดทั้งมีการนําเสนอวิธีการตางๆ เพื่อแกปญหากลิ่นโคลน ขอมูลเหลานี้นาจะมีประโยชนสําหรับควบคุมและ จัดการปญหากลิ่นโคลนที่เกิดขึ้นในบอเลี้ยงสัตวนํ้าใหแกเกษตรกรตอไป

Abstract

Musty/earthy off-fl avor in aquatic animals has been reported in aquatic organism worldwide. Although there is no negative effect on human health, it causes an unacceptablefor consumer consumption. The purpose of this article is to review some of the available literature relating tomusty/earthy off-fl avor in aquatic animals.

Geosmin (GSM) and 2-methylisoborneol (MIB) are two major off-fl avor compounds.These compounds are caused by metabolites produced by blue-green algae including Anabaena sp., Oscillatoria sp., Lyngbya sp., Symploca sp., Phormidium sp., andAphanizomenonsp. and some bacteria such as Streptomyces. Fish with high fat content or raised in earthen ponds with enriched algae and bacteria mentioned earlier increase in risk of off-fl avor problem.

The infl uences of temperature, season, and climate change had been also discussed.Finally, the various practical

KKU Res. J. 2014; 19(6): 927-938 http : //resjournal.kku.ac.th

(2)

methods for undesirable fl avor were described. This information will be benefi cial for fi sh farmers to control an off-fl avor problem.

คําสําคัญ: กลิ่นโคลน สัตวนํ้า สาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน สาเหตุ การปองกัน Keywords: off-fl avor, aquatic animal, blue-green algae, cause, solution

1. กลิ่นโคลน (musty/earthy off-fl avor) ในสัตวนํ้า

การเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าเปนอุตสาหกรรมที่ทํา รายไดเขาสูประเทศจํานวนมากมูลคาสัตวนํ้าที่ไดจากการ เพาะเลี้ยงของไทยมีคาสูงกวาสัตวนํ้าที่ไดจากการจับ ซึ่ง มีมูลคาสูงกวา 5 หมื่นลานบาทตอป และมีแนวโนมเพิ่ม มากขึ้นอยางตอเนื่อง(1)ทั้งอาหารทะเล ผลิตภัณฑที่ได

จากการเพาะเลี้ยงชายฝงและปลานํ้าจืดแตปจจุบันพบ วาปลานํ้าจืดหรือสัตวนํ้าที่เพาะเลี้ยงในสภาวะความเค็ม ตํ่าประสบกับปญหาการสะสมของกลิ่นไมพึงประสงค

(off- fl avor) โดยเฉพาะกลิ่นโคลน/ดิน (musty/earthy off-flavor) ซึ่งเป็นปัญหาสําคัญที่พบได้ทั่วทุกภูมิภาค ในหลายๆ ประเทศทั่วโลกเชน อเมริกา จีน แคนาดา ไทย เอกวาดอร(2,3) ทําใหผูบริโภคสัตวนํ้าไมยอมรับ(4) และไมเปนที่ตองการของตลาดโดยเฉพาะตลาดสงออก ตางประเทศ สัตวนํ้าที่พบปญหาดังกลาวไดแก ปลากด อเมริกัน (5) ปลาแซลมอน(6) ปลาเรนโบวเทราท (7,8) ปลาเฮอรริ่ง (herring) ปลาคารพ (carp) (9) หอยกาบ (10) ปลานิล (11)ปลาดุก (12) และกุง(13) โดยเฉพาะอยางยิ่ง กุงขาว Litopenaeusvannamei ซึ่งเปนสายพันธุที่สามารถ ทนความเค็มไดในชวงกวางตั้งแต 1 – 40 พีพีที การเลี้ยง กุงที่ระดับความเค็มตํ่าจึงเปนวิธีการหนึ่งที่สําคัญในเชิง ธุรกิจ พบวา 55 เปอรเซ็นตของกุงที่เลี้ยงในประเทศจีน เลี้ยงในเขตความเค็มตํ่า(14,15) โดยผูบริโภคชอบกุงที่จับ ไดจากทะเลหรือเลี้ยงในนํ้าทะเลมากกวากุงที่เลี้ยงในนํ้า ความเค็มตํ่าเนื่องจากมีรสชาติและคุณภาพดีกวา สวน กุงที่เลี้ยงดวยความเค็มตํ่ามีแนวโนมที่จะมีเนื้อสัมผัส และเปลือกที่นุมและรสชาติที่ดอยกวา อีกทั้งยังมีการ ปนเปอนของกลิ่นโคลนเมื่อเปรียบเทียบกับกุงที่เลี้ยงใน ทะเล นําไปสูคุณภาพที่ลดลงของผลิตภัณฑและเกิดการ

สูญเสียทางเศรษฐกิจสําหรับเกษตรกร(16)เพราะเกษตร ผูเลี้ยงปลากดอเมริกันตองเสียคาใชจายคาอาหารเพิ่มสูง ขึ้นและเสี่ยงตอความสูญเสียจากการเปนโรคระหวางรอ เวลาในการแกไขปญหากลิ่นโคลน(17)

2. สาเหตุและการสะสมของกลิ่นโคลน ในสัตวนํ้า

การเกิดกลิ่นโคลนอาจจะเกิดจากสารตัวหลัก 2 ชนิด คือ จีออสมิน (1α, 10 β-dimethyl-9 a-decalol:

geosmin) และเอ็มไอบี (2-methylisoborneol: MIB) ซึ่ง เปนสารประกอบแอลกอฮอลอิ่มตัว (Saturated cyclic tertiary alcohol) มีรายงานวา สารจีออสมินเปนสาเหตุ

หลักที่ใหเกิดกลิ่นและรสชาติที่ผิดปกติในแหลงเก็บ นํ้าดื่ม (18) โดยจีออสมินถูกแยกไดเปนครั้งแรกจาก แบคทีเรียactinomycetes (19) ตอมาพบวาสามารถแยก ไดจากสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน (20-23)โดยสาหราย สีเขียวแกมนํ้าเงินและแบคทีเรียบางชนิดสังเคราะห

สารประกอบทั้งสองชนิดนี้ขึ้นในวิถีเทอรปน (terpene pathway) สารประกอบจีออสมินสรางขึ้นจากสารประ กอบฟานิซิล-ไพโรฟอสเฟต (Farnesyl-PP) (23)และ สารประกอบเอ็มไอบีสรางขึ้นจากสารประกอบเจอรา นิล-ไพโรฟอสเฟต (Geranyl-PP)(23) จีออสมินและเอ็ม ไอบีเปนสารประกอบที่ระเหยได โครงสรางประกอบ ดวยหมูเมทิลและหมูไฮดรอกซิล(20)สารทั้งสองชนิดมี

คุณสมบัติทั่วไป คือ ละลายในไขมันไดดีเปนสารแปลก ปลอมสําหรับสิ่งมีชีวิต สามารถกระจายตัวและสะสม ในเนื้อเยื่อที่มีสวนประกอบของไขมันสูง เมื่อเกิดการ สะสมในรางกายจะกําจัดออกไดยากจึงกอใหเกิดกลิ่นที่ไม

พึงประสงค (24) อยางไรก็ตามสารประกอบทั้งสองชนิด ไมเปนพิษตอเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตและไมกอใหเกิดการก

(3)

ลายพันธุ(25) ระดับตํ่าสุดของจีออสมินที่สามารถตรวจ พบโดยมนุษยในปลาหนัง (catfi sh) คือ 8.4 ไมโครกรัม ตอกิโลกรัม(26) และในปลาเทราต คือ 6.5 ไมโครกรัมตอ กิโลกรัม(7)และระดับที่ยอมรับได (Threshold level) ของ จีออสมินคือ 0.9 ไมโครกรัมตอกิโลกรัม(27) และของเอ็ม ไอบี คือ 0.6 ไมโครกรัมตอกิโลกรัม(4)

ปญหากลิ่นโคลนอาจเกิดขึ้นเนื่องจากปลากิน สารประกอบกลิ่นโคลนเขาไปโดยตรง หรือมีการปน เปอนกับสิ่งที่ปลากิน หรือผานเขาสูตัวปลาโดยการดูด ซึมในสวนของอวัยวะตางๆ(28) สัตวนํ้าสามารถดูดซึม สารที่กอใหเกิดกลิ่นโคลนผานเหงือก หรือเนื้อเยื่อตางๆ ที่สัมผัสนํ้า มากกวาการกินสาหรายหรือแบคทีเรียที่

ผลิตสารโดยตรง (8,29) และจะไปสะสมอยูในรางกาย โดยเฉพาะเนื้อเยื่อที่มีไขมันสูง(5) ขณะที่ Johnsen and Lloyd (30) กลาววา การดูดซึมและสะสมสารที่กอให

เกิดกลิ่นโคลนขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ เชน อุณหภูมิของ นํ้า ปริมาณไขมันในปลา โดยปลาที่มีปริมาณไขมันมาก สามารถสะสมสารประกอบกลิ่นโคลนไดมากกวาปลาที่

มีไขมันตํ่า สวน Rungreungwudhikrai (31) พบวา ปลา นิลจากบอเลี้ยงในภาคกลางมีความเขมขนของสารกลิ่น โคลนในเนื้อสูง เมื่อใชอาหารสําเร็จรูปรวมกับการใชปุย ในบอ โดยบอที่ใสปุยยูเรียมีปริมาณสารกลิ่นโคลนในเนื้อ สูงกวาการใชปุยมูลสัตว สวนบอที่ใหอาหารสําเร็จรูป อยางเดียวพบวามีสารกลิ่นโคลนในเนื้อปลาตํ่า ถาในบอ เลี้ยงมีสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงินจํานวนมาก จะพบวา ความเขมขนของจีออสมินหรือเอ็มไอบีในนํ้าก็จะมีความ เขมขนที่สูงเชนกัน Van Der Ploeg andBoyd (32)กลาว วาบอเลี้ยงที่มีสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงินชนิด Anabaena และ Oscillatoria เปนจํานวนมากมีปริมาณความเขมขน จีออสมินและเอ็มไอบีในนํ้าสูงและมีผลทําใหเกิดกลิ่น โคลนพจมาน และคณะ (33)ทําการศึกษาคุณภาพของกุง ขาวแวนนาไม (L. vannamei) ที่เลี้ยงในบอดินและบอที่ปู

ดวยโพลีเอททิลีน(พีอี) ขนาดบอละ 2.5 ไร ความเค็มใน ระหวางการเลี้ยง 7 – 8 สวนในพันสวน (พีพีที) หลังจาก เลี้ยงนาน 12 สัปดาห พบวา กุงสดและกุงสุกจากบอพีอี

มีกลิ่นโคลนมากกวากุงจากบอดิน ซึ่งกลิ่นโคลนมีความ สัมพันธกับปริมาณแพลงกตอนพืชโดยเฉพาะกลุมของ

สาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงินที่มีปริมาณมากในบอพีอีตลอด ระยะเวลาการเลี้ยง ขณะที่ในบอดินมีปริมาณแพลงกตอน พืชนอยกวา

ชนิดและปริมาณของสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน และแอคติโนมัยซิส ก็เปนสาเหตุหนึ่งที่มีผลตอปริมาณ สารที่ทําใหเกิดกลิ่นโคลนในนํ้า มีสาหรายสีเขียวแกมนํ้า เงินมากกวา 40 ชนิด ที่สามารถผลิตสารจีออสมินและเอ็ม ไอบีได และสวนใหญจะมีรูปรางเปนเสนสาย เชนAnabae nacircinalisRabenhorst, OscillatoriatenuisAgardh, Lyng- bya sp., Symplocasp.,Phormidium sp. และ Aphanizome- nonsp.(13, 34-36)สวนแบคทีเรียที่สามารถสรางสารจี

ออสมิน และสารเอ็มไอบีไดแกกลุมactinomycetesเชน สกุลStreptomyces, Actinomaduraและ Micromonospo- ra(37-40)โดยเฉพาะStreptomycesมีรายงานวาสามารถ ทําใหเกิดกลิ่นและรสชาติที่ไมพึงประสงคมากที่สุด(32)

3. ผลของสภาพอากาศ และฤดูกาลตอ กลิ่นโคลนในสัตวนํ้า

การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศในแตละชวงฤดู

หรือในแตละวัน ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ

อากาศและอุณหภูมินํ้า การเปลี่ยนแปลงรังสีดวงอาทิตย

ความเร็วลม ความถี่ และความรุนแรงของพายุอุณหภูมิ

เปนสิ่งที่สามารถวัดไดอยางชัดเจน และอุณหภูมิของนํ้า ตามธรรมชาติจะผันแปรตามอุณหภูมิของอากาศ(41)ดัง นั้น เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลหรือสภาพอากาศจึงสง ผลกระทบตออุณหภูมินํ้าและสงผลตอคุณภาพนํ้าอื่น ๆ ในบอเลี้ยงสัตวนํ้าแตกตางกันไปในแตละฤดูกาล

ในฤดูรอนผิวนํ้าชั้นบนและชั้นลางมีความแตก ตางกันมาก จึงเกิดปรากฏการณเทอรโมไคลน (thermo- cline) ซึ่งเปนชั้นรอยตอนํ้าบริเวณนี้จะมีความหนืดสูง ทําใหนํ้าชั้นบนและชั้นลางหมุนเวียนถึงกันไมได ดังนั้น แพลงกตอนพืชยังเติบโตไดดีในชวงตนของฤดูกาลเพราะ ยังมีสารอาหารอยูบริเวณชั้นบนผิวนํ้า หลังจากนั้นไม

นานเมื่อสารอาหารหมดแพลงกตอนจะตาย อีกทั้งสภาพ อากาศในฤดูรอนที่มีอุณหภูมิอากาศสูงสงผลทําใหอุณห ภูมินํ้าเพิ่มสูงขึ้น นํ้าในแมนํ้ามีปริมาณนอยลง นํ้าไหล

(4)

ชา และคุณภาพนํ้าลดตํ่าลง สงผลตอการขาดแคลนนํ้า ในการเลี้ยงปลาหรือมีปริมาณนํ้าไมเพียงพอสําหรับการ เปลี่ยนถายนํ้าภายในบอ ปริมาณนํ้าที่แหงขอด ตื้นเขิน และไมมีการหมุนเวียนของธาตุอาหารในบอเลี้ยงสงผล ตอการเจริญของแพลงกตอนพืชโดยในชวงที่มีการถาย เทนํ้านอย เชน ฤดูรอน ทําใหแพลงคตอนพืชและสาหราย มีการเติบโตที่มากเกินควร และเกิดการเพิ่มปริมาณอยาง รวดเร็วของสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงินโดยเฉพาะสาย พันธุที่สามารถสรางสารที่ทําใหเกิดกลิ่นโคลนภายใน เซลลของสัตวนํ้า เชน Anabaena sp., Oscillatoriasp., Lyngbya sp. และ Pseudoanabaena sp. เปนตนสาหราย สีเขียวแกมนํ้าเงิน สามารถเจริญเติบโตไดอยางรวดเร็ว ในนํ้าที่มีอุณหภูมิสูงชวง 25-35°Cเพราะสาหรายพวกนี้

มีชีทหุมเซลลหนา และโมเลกุลของโปรตีนภายในโปร โตพลาสซึมจับตัวกันแนน จึงชวยใหสาหรายพวกนี้ทน ตออุณหภูมิสูงหรือตํ่ากวาปกติได เชนสามารถพบ Phorm idiumในบริเวณขั้วโลกในทะเลสาบ บริเวณทวีปแอนตาร

ติก สวนบริเวณเขตรอน(อุณหภูมิ 36 – 40 °C) สามารถ พบ Oscillatoria, Anabaenaและ Chrococcus turgidus และนํ้าที่มีอุณหภูมิสูงกวา 30 °C จะทําใหปลามีกลิ่น โคลนเกิดขึ้นได(42) จากการศึกษาในแมนํ้า Arno (อิตาลี) จํานวนสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงินมีความสัมพันธกับ ระยะเวลาที่เกิดกลิ่นโคลนสูงในฤดูใบไมผลิและฤดูรอน ขณะที่จํานวนแอคติโนมัยซีสสัมพันธกับระยะเวลาของ การผลิตกลิ่นสูงในฤดูใบไมรวงและฤดูหนาว (43)ขณะที่

Lelana(44 )พบวาไมมีความสัมพันธระหวางความเขมขน ของจีออสมินและอุณหภูมิในบอเลี้ยงปลาที่มหาวิทยาลัย ออเบิรน(Auburn University)

อุณหภูมินํ้ายังเกี่ยวของกับแสงที่สองผานลง ในนํ้า แสงที่สองลงในนํ้าจะถูกดูดกลืนและเปลี่ยนรูปจาก พลังงานแสงเปนพลังงานความรอน เมื่อสะสมอยูในนํ้า จะทําใหอุณหภูมินํ้าสูงขึ้น ดังนั้นในชวงฤดูรอนที่ความ เขมแสงอาทิตยมีมากจะทําใหสองลงสูนํ้าไดมาก ปริมาณ แพลงกตอนพืชและสาหรายในชวงฤดูรอนมีมากกวา ในฤดูหนาว (45) แสงมีความสําคัญตอกระบวนการ สังเคราะหแสงของแพลงกตอนพืชและสาหรายสีเขียว แกมนํ้าเงิน คลอโรฟลลเอเปนสารสีที่มีความสําคัญใน

กระบวนการสังเคราะหแสง ในสาหราย Anabaena sp.

จากการศึกษาของ Bentley andMeganathan(46)รวม ถึงNaes and Post (47)พบวาการสังเคราะหจีออสมินและ คลอโรฟลลเออยูในพาทเวยเดียวกันโดยอัตราสวนจีออ สมินตอคลอโรฟลลเอมีความสัมพันธกับความเขมแสง โดยตรง การลดลงของคลอโรฟลลเอภายในเซลลเกิดขึ้น พรอมกับการสังเคราะหสารจีออสมินที่สูงขึ้นเมื่อเพิ่ม ความเขมแสงภายใตสภาวะที่อุณหภูมิคงที่ ซึ่งแสดงให

เห็นวาปริมาณสารสีมีการลดลงที่ความเขมแสงสูงกวา ดังนั้นจีออสมินจึงสังเคราะหไดเพิ่มขึ้น โดยที่ความเขม แสง 17 μE/m2/s อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสเปนสภาวะ ที่เหมาะสมตอการผลิตจีออสมินของAnabaena sp. ทําให

มีปริมาณจีออสมินตอมวลชีวภาพสูงสุดเมื่อเพาะเลี้ยงที่

สภาวะดังกลาว (48)

ในฤดูหนาวผิวนํ้าถูกปกคลุมดวยนํ้าแข็ง ชวง ตนฤดูแพลงกตอนพืชเจริญไดบางเพราะแสงสองผาน นํ้าแข็งลงไปได แตคารบอนไดออกไซด และออกซิเจน ไมสามารถละลายผานไปไดในไมชาการสังเคราะหแสง ก็จะหยุดลงสําหรับฤดูใบไมผลิหรือฤดูใบไมรวงอุณหภูมิ

ของผิวนํ้าและบริเวณกนบอไมแตกตางกันมาก จึงไมเกิด การแบงชั้นรอยตอ และมักมีลมพัดแรงทําใหเกิดการ หมุนเวียนนําแรธาตุจากกนแหลงนํ้ามาใหแพลงคตอน พืชไดใชตลอดฤดูกาล แตสําหรับประเทศในเขตรอน อยางประเทศไทย ปรากฏการณเทอรโมไคลนมักไมคอย เกิด เพราะอุณหภูมิผิวนํ้ากับสวนที่ลึกลงไปไมแตกตางกัน มากนัก อีกทั้งความแตกตางของฤดูกาลไมชัดเจน ทําให

แพลงกตอนพืชมีความแตกตางกันทางชนิดและปริมาณ อยูบางในแตละฤดูกาล แตก็ไมชัดเจนเหมือนกับประเทศ ในเขตอบอุน (49)

ในศตวรรษที่ผานมาอุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้น ประมาณ 0.6 องศาเซลเซียส และแบบจําลองสภาพภูมิ

อากาศโดย Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) ทํานายวาในศตวรรษนี้อุณหภูมิโลกจะเพิ่มสูงขึ้น 1.4-6.4 องศาเซลเซียส (50) การเปลี่ยนแปลงนี้มีผลกระ ทบตอคุณภาพนํ้าในบอเลี้ยงสัตวนํ้าที่เปลี่ยนแปลงไป ตามสภาพอากาศ แนวโนมอุณหภูมิของนํ้าที่สูงขึ้นทําให

กระบวนการยอยสลายสารอาหารในบอเกิดเพิ่มขึ้นและ

(5)

สงผลตอการเพิ่มจํานวนแพลงกตอนพืชโดยเฉพาะอยาง ยิ่งพวกไซยาโนแบคทีเรียหรือสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน ซึ่งเปนกลุมสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวที่มีความหลากหลาย สามารถอยูไดในชวงสภาวะแวดลอมที่กวางเพราะความ สามารถในการปรับตัว และเนื่องมาจากความสามารถ ในการปรับตัวนี้เอง จึงทําใหสาหรายกลุมนี้มีอิทธิพล และเปนกลุมสาหรายเดนที่ทําใหเกิดกลิ่นโคลน มีการ คาดการณวาสาหรายกลุมนี้นาจะปรับตัวไดดีในสภาวะ ที่สภาพอากาศเปลี่ยนแปลงในอนาคตเมื่อเปรียบเทียบกับ ชนิดอื่นๆ ทั้งนี้เนื่องมาจากสามารถอดทนตออุณหภูมิที่

เพิ่มสูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงการแบงชั้นความรอนในแนว ตั้งของระบบนิเวศทางนํ้า และการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล และสภาพอากาศในระหวางป (51) Weyhenmeyer (52) รายงานวาอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้นมาพรอมกับมวลชีวภาพ ของไซยาโนแบคทีเรียที่สูงขึ้น โดยเมื่อมีการเพิ่มขึ้นของ อุณหภูมิอัตราการเจริญเติบโตสูงสุดของสาหรายสีเขียว แกมนํ้าเงินชนิด Microcystis aeruginosa เพิ่มขึ้นสูงเกือบ จะเปนสองเทาของสาหรายสีเขียว Scenedesmus quad- riqauda และสูงมากกวาไดอะตอม Asterionella formosa หาเทา(53)เชนเดียวกับผลการศึกษาของDomis et al.(54) ที่ไดทําการศึกษาผลของการจําลองสถานการณความ รอนในฤดูใบไมผลิตอสาหรายในสามกลุม คือ สาหราย สีเขียวแกมนํ้าเงิน ไดอะตอม และสาหรายสีเขียว ผล การศึกษาพบวาสาหรายแตละกลุมมีการตอบสนองตอ การเปลี่ยนแปลงความรอนภายใตสภาวะที่มีการจํากัด ฟอสฟอรัส โดยสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงินจะตอบสนอง ตอสภาพภูมิอากาศที่รอนไดดีกวาไดอะตอมหรือสาหราย สีเขียว ทั้งอัตราการเจริญเติบโตและจํานวนสูงสุดของ สาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงินในสถานการณที่เปนฤดูรอนมี

คาสูงกวาอยางมีนัยสําคัญกับสถานการณที่เปนฤดูหนาว ดังนั้นจึงเปนไปไดวาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นอาจจะสงผลกระ ทบตอการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าโดยอาจจะทําใหสัตวนํ้าโดย เฉพาะปลานํ้าจืดมีกลิ่นโคลนมากขึ้นจากการเติบโตอยาง รวดเร็วของสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงินชนิดที่สามารถผลิต สารที่ทําใหเกิดกลิ่นโคลนในแหลงนํ้า

4. การจัดการเพื่อแกปญหากลิ่นไมพึง ประสงคหรือกลิ่นโคลน

ปจจัยหลักที่สงผลทําใหเกิดการสะสมกลิ่น โคลนในสัตวนํ้า ไดแก ปริมาณสารอาหารในนํ้า การ ศึกษาปจจัยของธาตุอาหารที่ไปกระตุนการเจริญเติบโต และการผลิตสารจีออสมินในสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน สามารถนํามาชวยในการทํานายและควบคุมกลิ่นไมพึง ประสงคในแหลงเก็บนํ้าและบอเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าได

โดยเฉพาะอยางยิ่งฟอสฟอรัสซึ่งเปนแรธาตุที่เปนปจจัย จํากัดในหลายๆ แหลงนํ้า ถาหากสามารถควบคุมระดับ ของฟอสฟอรัสและไนโตรเจนในบอเลี้ยงสัตวนํ้า อาจ จะเปนอีกแนวทางหนึ่งที่จะยับยั้งและจัดการกับปญหา กลิ่นไมพึงประสงคที่เกิดจากการผลิตจีออสมินไดเชนจาก การศึกษาของ Saadoun et al.(48)รายงานวาปริมาณจีออ สมินที่ตรวจพบมีคาตํ่าที่ระดับฟอสเฟตฟอสฟอรัส 118 μg phosphate-P/l และที่ระดับตํ่ากวานั้น แตเมื่อระดับ ฟอสเฟตสูงกวานั้นปริมาณจีออสมินมีคาเพิ่มขึ้นโดยพบ ความสัมพันธที่สูงระหวางความเขมขนของฟอสเฟต ฟอสฟอรัสกับจีออสมิน มวลชีวภาพ และคลอโรฟลล

เอแตในกรณีของปลานิล เนื่องจากปลานิลจะกินอาหาร ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและจากที่ใหสมทบเปนจํานวน เกือบเทาๆ กัน ดังนั้นในบอเลี้ยงปลาควรดูแลใหมีอาหาร ธรรมชาติเกิดขึ้นอยูเสมอ โดยการใสปุยทั้งปุยคอกที่ได

จากมูลของสัตว และปุยวิทยาศาสตร (55)ในบางกรณีการ ลดปริมาณฟอสเฟตในบอมากเกินไปอาจจะสงผลกระทบ ตอการเติบโตของปลาในบอได โดยเฉพาะลูกปลาขนาด เล็กที่มักจะปลอยใหกินอาหารธรรมชาติภายในบอเปน หลักเพื่อลดตนทุนคาอาหาร แตหากฟอสเฟตนอย ทําให

แพลงคตอนนอย อาจทําใหปลาโตชา ตองเลี้ยงปลานาน กวาเดิม และตนทุนอาจจะสูง เพราะตองใหอาหารเม็ด มากขึ้น อาจจะแกปญหาโดยการเลี้ยงปลานิลในกระชังใน บอดิน ซึ่งมีรายงานวาปลานิลที่เลี้ยงในกระชังในบอดิน มีปริมาณจีออสมินและเอ็มไอบีนอยกวาที่เลี้ยงในบอดิน โดยตรง และพบวาปลานิลรอยละ 87.5 ที่เลี้ยงในกระชัง มีปริมาณจีออสมินตํ่ากวาคาที่ยอมรับได (36)

(6)

ระบบการเลี้ยงปลาแบบผสมผสาน (Integrated culture system) เปนการเลี้ยงปลารวมกับสัตวบก เชน ไก

และสุกร โดยสิ่งขับถายจากสัตวเลี้ยงเหลานี้ ทําใหเกิด อาหารธรรมชาติในบอ เพื่อชวยลดตนทุนการผลิตและ มีขั้นตอนที่เกษตรกรสามารถทําเองได ปลาที่นิยมนํามา เลี้ยงไดแก ปลานิล ปลาทับทิม ซึ่งเปนปลาที่สามารถ ใชประโยชนจากอาหารธรรมชาติไดอยางดีและเปนที่

ตองการของตลาดแตระบบนี้มักประสบปญหาการเนา เสียของนํ้าที่ใชเลี้ยงเนื่องจากปริมาณของเสีย (ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส) ที่ปลอยลงสูบอมีมากเกินไป โดยเฉพาะ เมื่อระยะเวลาการเลี้ยงมากขึ้นหรือในชวงที่มีการถาย เทนํ้านอย เชน ฤดูรอน ทําใหแพลงคตอนพืชและสาหราย มีการเติบโตที่มากเกินควร Ilmavirta et al.(37)รายงาน วาในสภาวะที่ธาตุอาหารในนํ้าสูงมาก (eutrophic water condition) ซึ่งเปนผลมาจากการใหอาหารสัตวนํ้าที่มาก เกินไป ทําใหมีอาหารตกคางภายในบอ การเลี้ยงปลาที่

หนาแนนเกินไป รวมกับระบบการจัดการในการเลี้ยงที่ไม

ดี ทําใหมีการสะสมของธาตุอาหารโดยเฉพาะไนโตรเจน และฟอสฟอรัสที่กนบอมาก สอดคลองกับรายงานของ ทวีทรัพย(56)ที่กลาววา ปญหากลิ่นโคลนในสัตวนํ้ามัก เกิดกับฟารมที่มีระบบการจัดการไมดี การควบคุมและ ปองกันไมใหมีปญหากลิ่นโคลนเปนสิ่งที่ทําไดยากRobin et al.(57)เสนอแนะวา หากเลี้ยงสัตวนํ้าในระบบปด จะ ตองมีการบริหารจัดการที่ดี ไมใหเกิดการสะสมของสาร อินทรียซึ่งจะทําใหเนื้อปลามีกลิ่นโคลน หากสภาพนํ้า ที่ใชเลี้ยงยังมีสารอาหารที่เปนประโยชนตอการเจริญ เติบโตของสิ่งมีชีวิตที่ผลิตสารกอกลิ่นโคลนอยูมาก ควร มีการจัดการระบบนํ้าที่จะใชทําการเพาะเลี้ยงใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงเชิงชีวภาพใหมีปริมาณสารอาหารที่เหมาะ สมกอนนํ้ามาใชเลี้ยงหรือใชเปลี่ยนถายนํ้าระหวางการ เลี้ยง(9) มีการปรับลดและควบคุมปริมาณอาหารให

เหมาะสมกับความหนาแนนของปลาที่เลี้ยงในบอ เพื่อ ลดปริมาณสารอาหารที่เกิดจากอาหารที่เหลือตกคาง ภายในบอ (35)การทําความสะอาดและตากพื้นบอกอน ลงปลารอบตอไปเพื่อปองการอันตรายจากการแบงชั้น ของอุณหภูมิในแนวตั้งในชวงที่มีการเปลี่ยนแปลงฤดูกาล และชวยลดความเขมขนของสาหราย (58) และการมี

ระบบกรองนํ้าที่ดีก็มีสวนชวยลดปญหาไดเชนกัน(57) คอปเปอร (copper) เปนสารเคมีที่นิยมใชสําหรับลด กลิ่นไมพึงประสงคในบอปลาและอางเก็บนํ้าสําหรับ นํ้าดื่มโดยจะเติมลงไปในรูปของคอปเปอรซัลเฟต ซึ่ง เมื่อแตกตัวจะให Cupric ion (Cu2+) ความเขมขนโดย ทั่วไปของคอปเปอรในบริเวณแหลงนํ้าจะผันแปรอยู

ในชวง 5-100 μg/l (59)เนื่องจากมีรายงานวาคอปเปอร

มีผลในการยับยั้งกระบวนการสังเคราะหแสง(60) โดยจะมีผลไปยับยั้งทั้งทางสัณฐานวิทยาและสรีระ วิทยาของสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน(61) การขัดขวาง กระบวนการสังเคราะหแสงใน Anacystis nidulans(60) และในAphanizomenonและAnabaena(62)ไดมีการ ศึกษา โดยพบวาคอปเปอรที่เขมขนสูงกวา 1 μM สามารถ ขัดขวางการเคลื่อนยายอิเล็คตรอนในกระบวนการ สังเคราะหแสง (60) การเติมคอปเปอรลงในอาหาร เพาะเลี้ยงที่ระดับ 6.92 μg Cu2+/l ของคอปเปอรซัลเฟต รวมถึงที่ระดับความเขมขนสูงกวานั้นทําใหไมสามารถ ตรวจพบสารจีออสมินใน Anabaena sp. เนื่องจาก คอปเปอรสามารถจะไปจับกับคารบอเนต หรือ chelated เปนสารประกอบเชิงซอนรวมกับ organic matter และ คอนขางจะชัดเจนวาความเขมขนของ Cu2+ที่สูงจะไป ยับยั้งมวลชีวภาพ คลอโรฟลลเอ และการสังเคราะหจี

ออสมิน(48) จากรายงานของ Rosen (63)พบวาที่ระดับ 0.3 และ 1 mg/l ของคอปเปอรซัลเฟต การขาดออกเปน ทอน (fragmentation) ของ Anabaena sp. จะเกิดขึ้น ภายในชั่วโมงแรก พรอมดวยการลดลงของ fi lament 40 เปอรเซ็นตภายใน fragment ที่เล็กกวา โดย fi lament เดิม จะเหลืออยูเพียง 3 เปอรเซ็นตเมื่อเปรียบเทียบกับชุด ควบคุม การใชสารละลายคอปเปอรที่ความเขมขนตํ่าใน การลดการเติบโตของสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน ซึ่งระดับ ที่อนุญาตใหใชในการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าคือ 1 พีพีเอ็ม คอปเปอรตอสัปดาห ในการลดปญหากลิ่นโคลนในสัตว

นํ้า (64)แตการใชคอปเปอรนั้นตองระมัดระวังการตกคาง ภายในเนื้อปลา เนื่องจากในบางประเทศมีการจํากัดการใช

และแนะนําใหหาทางเลือกอื่นในการกําจัดสาหรายภายใน บอแทนการใชสารเคมี เชน การใชเทคนิคอัลตราโซนิค (ultrasonic)(65) หรือใชการสั่นของคลื่นเสียงที่มีความถี่

(7)

สูงเกินกวาที่หูมนุษยจะไดยินไปควบคุมสาหรายสีเขียว แกมนํ้าเงิน โดยเทคนิคนี้ไดรับการยอมรับวาสามารถใช

งานไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เพราะไมมีการตกคางของสารเคมี อัลตราโซนิคจะมีกลไก ที่เรียกวา ultrasonic cavitation เชน สภาวะความดันสูง มี

การสั่นของคลื่นเสียง และเกิดแรงเฉือนที่สามารถไปทํา ลายเวสิเคิล (vesicle) หรือยับยั้งการทํางานของเอนไซม

ภายในเซลลของสาหราย (66,67)มีการศึกษาพบวาอัลตรา โซนิคที่ความถี่ 640 kHz สามารถลดสารเอ็มไอบีและจี

ออสมินไดอยางรวดเร็ว (68) เชนเดียวกับการศึกษาของ Srisuksomwonget al.(69)ในการใชเทคโนโลยีอัลตรา โซนิคลดสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน Microcystis sp. และ สารที่กอใหเกิดกลิ่นโคลนของนํ้าจากบอเลี้ยงปลาพบวาที่

ความถี่ 200 kHz มีประสิทธิภาพดีที่สุดในการตกตะกอน สาหราย Microcystis sp. โดยจะไมกอใหเกิดการแตกของ เซลล อีกทั้งที่ความถี่นี้ยังสามารถลดสารพิษไมโครซิสทิน (microcystin) และสารกอกลิ่นโคลนจากนํ้าในบอเลี้ยง ปลาไดดีที่สุด นอกจากนี้ยังมีการใชตัวดูดซับซึ่งเปนสาร พอลิเมอรชนิดตางๆ ในการลดปริมาณสารจีออสมินที่ละ ลายนํ้า เชน การศึกษาของ Gutierrezet al.(70) ที่เปรียบ เทียบประสิทธิภาพในการลดสารจีออสมินที่ละลายนํ้า ดวยตัวดูดซับพอลิเมอรชนิด cyclodextrin(CDPs) สาม ชนิดคือ α, β และ γcyclodextrin พบวา ทั้ง β-CDP และ γ-CDP มีประสิทธิภาพในการลดจีออสมินสูงสุด 93.4 และ 96 เปอรเซ็นต ภายใน 240 นาที ที่อุณหภูมิ 25 องศา เซลเซียส พีเอช 7 ตามลําดับ โดยพีเอชของสารละลายที่

เหมาะสมอยูที่ พีเอช 7 แตสามารถนําไปใชไดในชวงพี

เอช 3ถึง 11 ดังนั้นอัลตราโซนิคและสารดูดซับพอลิเมอร

จึงนาจะเปนอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถนําไปประยุกตใช

ลดการปนเปอนของกลิ่นโคลนในนํ้าประปาหรือนํ้าจาก การเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าได

สารประกอบจีออสมินและเอ็มไอบีไมสามารถ กําจัดออกไดโดยวิธีการลางธรรมดา ลางดวยคลอรีน หรือนํ้าโอโซน หรือแมแตการใหความรอนระหวาง การแปรรูป จึงมีความจําเปนที่จะตองศึกษาถึงวิธีการที่

งาย สะดวก และใชระยะเวลานอยในการลดและกําจัด สารประกอบดังกลาวใหไดมากที่สุด หรือใหเหลือใน

ระดับที่ผูบริโภคสามารถยอมรับได ซึ่งจากการศึกษาพบ วา วิธีการกําจัดกลิ่นโคลนสามารถทําไดทั้งขณะที่ปลามี

ชีวิตอยู และในเนื้อปลากอนนํามาแปรรูป เชน การยาย ปลาหรือแยกปลาที่ตองการจําหนายไปขังไวในบอที่มีนํ้

าสะอาดปราศจากการปนเปอนของสารที่กอใหเกิดกลิ่น ไมพึงประสงค (30) วรพงษ และคณะ (71) รายงานวา จีออสมินสามารถกําจัดออกไปไดโดยการนําปลามาพัก ในนํ้าสะอาด ความเค็ม 10 พีพีที นาน 7 วัน ที่ความเค็ม 5 พีพีที นาน 10 วัน โดยจะหลงเหลือปริมาณจีออสมินใน ระดับที่ผูบริโภคยอมรับไดคือ 8.99 และ 4.11 ไมโครกรัม ตอเนื้อปลาหนึ่งกิโลกรัม ตามลําดับ แตการพักปลาใน สภาวะดังกลาวจะทําใหมีการสูญเสียนํ้าหนักไปรอยละ 16 – 18 และยังตองการพื้นที่ในการนําปลามาพักไว ซึ่ง อาจจะไมเหมาะสมกับเกษตรกรที่มีเนื้อที่จํากัด นอกจาก นี้ยังมีความพยายามใชสารเคมีเพื่อกําจัดหรือลดกลิ่นไม

พึงประสงคในเนื้อปลาหลังจากการเก็บเกี่ยว เชน การใช

พริกไทยหรือมะนาวลดกลิ่นในขณะปรุงรส แตก็ยังไม

ประสบความสําเร็จเทาที่ควร(72)การแชลางเนื้อปลานิล ดวยสารละลายขี้เถาจากกลวยนํ้าวาหรือสารละลายเกลือ เขมขนรอยละ 5 นาน 5 นาที จะสามารถลดปริมาณจีออ สมินในเนื้อปลาลงไดประมาณรอยละ 90 แตลักษณะเนื้อ สัมผัสของชิ้นปลาจะแข็งขึ้น (71) ซึ่งอาจจะไมเหมาะสม สําหรับนําไปประกอบอาหารบางประเภท

5. สรุป

ปญหาการปนเปอนกลิ่นโคลนเปนปญหาที่

สามารถพบไดในสัตวนํ้าที่ไดจากการเพาะเลี้ยงทั่วทุก ภูมิภาค เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหผูบริโภคสัตวนํ้าไม

ยอมรับ และไมเปนที่ตองการของตลาดโดยเฉพาะตลาด สงออกตางประเทศ สารที่เปนตัวหลักที่กอใหเกิดกลิ่น โคลน คือ จีออสมิน และเอ็มไอบี ซึ่งมีคุณสมบัติทั่วไป คือ ละลายในไขมันไดดี ไมชอบนํ้าสูง สามารถกระจาย ตัวและสะสมในเนื้อเยื่อที่มีสวนประกอบของไขมันสูง สารประกอบทั้งสองชนิดนี้สาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน และแบคทีเรียบางชนิดสังเคราะหขึ้นภายในเซลลและมี

การหลั่งออกมาภายนอกเซลลสูแหลงนํ้าทําใหเกิดการปน

(8)

เปอนในสัตวนํ้าชนิดตางๆ ซึ่งในชวงฤดูรอนหรือสภาวะ ที่มีอุณหภูมิสูงจะมีการผลิตสารชนิดนี้สูงกวาฤดูกาล อื่น เพราะสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงินสามารถทนตอการ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่รอนหรือหนาวจัดไดดี เนื่องจาก มีชีทที่หนาหุมเซลลอยู ปจจุบันการแกปญหากลิ่นโคลน ที่เกิดขึ้นมีหลากหลายวิธีการ เชน การควบคุมระดับของ ฟอสฟอรัสและไนโตรเจนในบอเลี้ยงสัตวนํ้าดวยการ ควบคุมปริมาณอาหารที่ใหสัตวนํ้า การเปลี่ยนถายนํ้า การ ตากบอ หรือการใชสารเคมีพวกคอปเปอรซัลเฟต และ การใชเทคนิคอัลตราโซนิค การที่จะเลือกใชวิธีการใด นั้นขึ้นอยูกับความจําเปน ระยะเวลา ความปลอดภัยของ ผูบริโภค ดังนั้นการศึกษาถึงปจจัยที่ไปกระตุนการเจริญ เติบโตและการผลิตสารจีออสมินหรือเอ็มไอบีในสาหราย สีเขียวแกมนํ้าเงินสามารถนํามาชวยในการทํานายและ ควบคุมกลิ่นไมพึงประสงคในแหลงเก็บนํ้าและบอเพาะ เลี้ยงสัตวนํ้าได

6. กิตติกรรมประกาศ

การเตรียมบทความฉบับนี้สําเร็จดวยดีทาง ผูวิจัยขอขอบคุณทุนสนับสนุนจาก the International Development Research Centre, Ottawa, Canada ภายใต

การดําเนินงานของโครงการ AQUADAPT โดยหนวยวิจัย สังคมและสิ่งแวดลอม คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม

7. เอกสารอางอิง

(1) Department of Fisheries. Fisheries statistics of Thailand 2009. Information technology center:

Department of Fisheries Ministry of Agriculture and Cooperatives. 2011;9/2011. Thai.

(2) Izaguirre G, Taylor WD. A pseudanabaena species from Castaic Lake, California, that produces 2-methylisoborneol. Water Research.

1998;32(5):1673-7.

(3) Kannika K, Whangchai N, Ungsethaphand T, Tawong W, Wigraiboon S. Growth performance and accumulation of off-fl avorin red tilapia cul- tured in green water system. Journal of Fisheries Technology Research. 2009;3(1):63-74. Thai.

(4) Persson PE. Muddy odour: a problem associated with extreme eutrophication. Hydrobiologia.

1982;86(1-2):161-4.

(5) Martin JF, Plakas SM, Holley JH, Kitzman JV, Guarino AM. Pharmacokinetics and Tissue Dis- position of the Off-Flavor Compound 2-Meth- ylisoborneol in the Channel Catfi sh (Ictalurus punctatus).Canadian Journal of Fisheries and Aquatic Sciences. 1990;47(3):544-7.

(6) Farmer LJ, McConnell JM, Hagan TDJ, Harper DB. Flavour and off-fl avour in wild and farmed Atlantic salmon from locations around North- ern Ireland.Water Science and Technology.

1995;31(11):259-64.

(7) Yurkowski M, Tabachek J-AL. Identifica- tion, Analysis, and Removal of Geosmin from Muddy-Flavored Trout. Journal of the Fisheries Research Board of Canada. 1974;31(12):1851-8.

(8) Form J, Horlyck V. Sites of Uptake of Geosmin, a Cause of Earthy-Flavor, in Rainbow Trout (Salmo gairdneri). Canadian Journal of Fisheries and Aquatic Sciences. 1984;41(8):1224-6.

(9) Yurkowski M, Tabachek JAL. Geosmin and 2-Methylisoborneol Implicated as a Cause of Muddy Odor and Flavor in Commercial Fish from Cedar Lake, Manitoba. Canadian Journal of Fisheries and Aquatic Sciences.

1980;37(9):1449-50.

(10) Tanchotikul U, Hsieh TCY. Methodology for Quantifi cation of Geosmin and Levels in Rangia Clam (Rangia cuneata).Journal of Food Science.

1990;55(5):1233-5.

(9)

(11) Gutierrez RL, Itayama T, Iwami N, Whangchai N. Analysis of Geosmin and 2-Methylisoborneol Off-fl avors In Tilapia Cage-Cultures in Thailand.

Proceeding of the 2nd MJU-Phrae National Re- search Conference; 2011; Phrae. 2011.

(12) Forrester PGN, Prinyawiwatkul W, Godber JS, Phlak LC. Treatment of Catfi sh Fillets with Citric Acid Causes Reduction of 2-Methylisoborneol, but not Musty Flavor.Journal of Food Science.

2002;67(7):2615-8.

(13) Lovell RT, Broce D. Cause of musty fl avor in pond-cultured penaeid shrimp. Aquaculture.

1985;50(1-2):169-74.

(14) Saoud PI, Davis DA, Rouse DB. Suitability studies of inland well waters for Litopenaeus vannamei culture. Aquaculture. 2003;217:373- 83.

(15) Cheng MK, Hui QC, Liu NY, Zheng XS, Qi JX. Dietary magnesium requirement and physi- ological responses of marine shrimp Litopenaeus vannamei reared in low salinity water. Aquac Nutr. 2005;11:385-93.

(16) Liang M, Wang S, Wang J, Chang Q, Mai K.

Comparison of fl avor components in shrimp Litopenaeus vannamei cultured in sea water and low salinity water. Fisheries Science.

2008;74(5):1173-9.

(17) Zimba PV, Grimm CC. A synoptic survey of musty/muddy odor metabolites and microcystin toxin occurrence and concentration in southeast- ern USA channel catfi sh (Ictalurus punctatus Ralfinesque) production ponds.Aquaculture.

2003;218(1-4):81-7.

(18) Weete JD, Blevins WT, Wilt GR, Durham D.

Chemical, biological, and environmental factors responsible for the earthy odor in the Auburn City Water Supply. Auburn University. Agric

Exp Station Bull. 1977;490:1-46.

(19) Gerber NN, Lechevalier HA. Geosmin, an earthy-smelling substance isolated from actino- mycetes. Appl Microbiol. 1965;13(6):935-8.

(20) Izaguirre G, Hwang CJ, Krasner SW, McGuire MJ. Geosmin and 2-methylisoborneol from cy- anobacteria in three water supply systems. Appl Environ Microbiol 1982;43:708-14.

(21) Medsker LL, Jenkins D, Thomas JF. Odorous compounds in natural waters. An earthy-smelling compound associated with blue-green algae and actinomycetes. Environ Sci Technol. 1968;

2:461-4.

(22) Negoro T, Ando M, Ichiwaka N. Blue-green algae in Lake Biwa which produce earthy-musty odors. Water Sci Technol. 1988;20:117-23.

(23) Ploeg MVD, Tucker CS. Seasonal Trends in Flavor Quality of Channel Catfi sh, Ictalurus punctatus, from Commercial Ponds in Missis- sippi.Journal of Applied Aquaculture. 1994;3(1- 2):121-40.

(24) Johnsen PB, Lloyd SW, Vinyard BT, Dionigi CP.

Effects of Temperature on the Uptake and Depu- ration of 2-Methylisoborneol (MIB) in Channel Catfi sh Ictalurus punctatus. Journal of the World Aquaculture Society. 1996;27(1):15-20.

(25) Dionigi CP, Lawlor TE, McFarland JE, Johnsen PB. Evaluation of geosmin and 2-methylisobor- neol on the histidine dependence of TA98 and TA100 Salmonella typhimurium tester strains.

Water Research. 1993;27(11):1615-8.

(26) Lelana IYB. Sensory and Objective Analysis of Geosmin in Channel Catfi sh [MSc thesis].

Auburn, AL, USA: Auburn University; 1983.

(27) Robertson RF, Hammond A, Jauncey K, Bev- eridge MCM, Lawton LA. An investigation into the occurrence of geosmin responsible

(10)

for earthy-musty taints in UK farmed rainbow trout, Onchorhynchus mykiss. Aquaculture.

2006;259:153–63.

(28) Tanchotikul U. Studies on important volatile flavor compounds in Louisiana rangia clam (Rangia cuneata) [PhD thesis]: Louisiana state university; 1990.

(29) Howgate P. Tainting of farmed fi sh by geosmin and 2-methyl-iso-borneol: a review of sensory aspects and of uptake/depuration. Aquaculture.

2004;234(1-4):155-81.

(30) Johnsen PB, Lloyd SW. Infl uence of Fat Con- tent on Uptake and Depuration of the Off-fl avor 2-Methylisoborneol by Channel Catfi sh (Ictalu- rus punctatus). Canadian Journal of Fisheries and Aquatic Sciences. 1992;49(11):2406-11.

(31) Rungreungwudhikrai E. Characterization and classifi cation of off-fl avor of Nile tilapia [MSc thesis]. Bangkok: Asian Institute of Technology;

1995.

(32) Van der Ploeg M, Boyd CE. Geosmin Production by Cyanobacteria (Blue-green Algae) in Fish Ponds at Auburn, Alabama. Journal of the World Aquaculture Society. 1991;22(4):207-16.

(33) Choeydach P, Limsuwan C, Chuchird N, Pansa- wat N. Study on quality of Pacifi c white shrimp (Litopenaeus vannamei) reared in earthen pond and pond lined with polyethylene in low salin- ity water. Proceedings of the 44th Kasetsart University Annual Conference : Fisheries, Bangkok (Thailand); 2006; Kasetsart University.

Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Thai.

(34) Tabachek J-AL, Yurkowski M. Isolation and Identifi cation of Blue-Green Algae Producing Muddy Odor Metabolites, Geosmin, and 2-Meth- ylisoborneol, in Saline Lakes in Manitoba.Jour- nal of the Fisheries Research Board of Canada.

1976;33(1):25-35.

(35) Smith JL, Boyer GL, Zimba PV. A review of cyanobacterial odorous and bioactive metabo- lites: Impacts and management alternatives in aquaculture. Aquaculture. 2008;280(1-4):5-20.

(36) Whangchai N, Wigraiboon S, Shimizu K, Iwami N, Itayama T. Off-fl avor in Tilapia (Oreochromis niloticus) Reared in Cages and Earthen Ponds in Northern Thailand. Thai Journal of Agricultural Science. 2011;44(5):270-6.

(37) Ilmavirta V, Jones RI, Persson PE, Sivonen K. Factors influencing odour production by actinomycetes. Lakes and Water Management:

Springer Netherlands; 1982. p. 165-70.

(38) Martin JF, Bennett LW, Graham WH. Off-Flavor in the Channel Catfish (Ictalurus punctatus) Due to 2-Methylisoborneol and its Dehydration Products. Water Science &Technology 1988;20(

8-9):99–105.

(39) Klapper H. Control of Eutrophication in Inland Waters (Ellis Horwood Series in Water and Wastewater Technology). New York: Ellis Horwood Ltd; 1991.

(40) Yamada N, Marakami N, Kawamura N, Sakak- ibara J. Mechanism of an early lysis by fatty acid from Axenic Phormidium tenue (Musty odor-producing cyanobacterium) and its growth prolongation by bacteria. Biol Pharm Bull.

1994;17 (9):1277-81.

(41) Vass KK, Das MK, Srivastava PK, Dey S. As- sessing the impact of climate change on inland fi sheries in River Ganga and its plains in India.

Aquatic Ecosystem Health & Management.

2009;12(2):138-51.

(42) Martin JF, McCoy CP, Greenleaf W, Bennett L.

Analysis of 2-Methylisoborneol in Water, Mud, and Channel Catfi sh (Ictalurus punctatus) from

Referensi

Dokumen terkait

57 อยู่ในระดับมาก ได้แก่ อาบน ้าแร่แช่น ้าเพื่อสุขภาพ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.10 มีสปาและนวดแผนไทย ไว้บริการแก่นักท่องเที่ยว ค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 3.88