• Tidak ada hasil yang ditemukan

การศึกษาการจัดทำและการนำเสนองบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีไทยโดยอิงมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : กรณีศึกษากลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "การศึกษาการจัดทำและการนำเสนองบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีไทยโดยอิงมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : กรณีศึกษากลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม"

Copied!
8
0
0

Teks penuh

(1)

การศึกษาการจัดทําและการนําเสนองบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย

แหงประเทศไทย : กรณีศึกษากลุมสินคาอุตสาหกรรม

THE STUDY OF THE PREPARATION AND PRESENTATION OF FINANCIAL STATEMENTS UNDER THAI ACCOUNTING STANDARDS

BASED ON INTERNATIONAL ACCOUNTING STANDARDS OF THE LISTED COMPANY IN THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND: A CASE STUDY OF INDUSTRIALS GROUP

ฐิตาภรณ สินจรูญศักดิ์ (Titaporn Sincharoonsak)

1

1เลขานุการหลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม e-mail: titaporn.si@spu.ac.th

บทคัดยอ: การศึกษาการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน และปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน พบวา ผูจัดการฝายบัญชี ไดจัดทําและนําเสนองบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีอยางครบถวน และมีเหตุผลเพียงพอใน กรณีที่ไมสามารถจัดทําตามมาตรฐานการบัญชีได สําหรับผูสอบบัญชีเมื่อตรวจสอบและพบวา บริษัทไมไดแกไขปรับปรุง ตามขอทักทวงในสวนที่เปนสาระสําคัญ จะแสดงความเห็นตองบการเงินอยางมีเงื่อนไข หรือแสดงความเห็นวางบการเงิน ไมถูกตอง และใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับงบการเงินที่ไมเปดเผยขอมูลอยางถูกตองและครบถวนที่เปนสาระสําคัญ และ เจาหนาที่กํากับดูแล ไดทักทวงใหบริษัทแกไขปรับปรุงกรณีที่ไมไดจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการบัญชี และสงเสริม ใหผูเกี่ยวของปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี สําหรับมาตรฐานการบัญชีที่ประกาศใชครั้งนี้สามารถอานและเขาใจใน เนื้อหาและสามารถนําไปปฏิบัติได โดยภาพรวมอยูในระดับมาก ทําใหไดรับประโยชน เชน งบการเงินมีความเปนสากล มีการเปดเผยขอมูลครบถวนและสมบูรณมากขึ้น ทําใหนักลงทุนมีความเชื่อมั่นตองบการเงิน ขณะเดียวกันก็พบปญหา และอุปสรรค ดานการขาดตัวอยางเพื่อประกอบการสรางความเขาใจ มีวิธีการทางบัญชีที่ซับซอนในทางปฏิบัติ ขาด คําอธิบายที่เพียงพอในการเขาใจ การทดสอบสมมติฐาน พบวา หมวดอุตสาหกรรมกระดาษและวัสดุการพิมพ และเครื่องมือ และเครื่องจักร ธุรกิจขนาดเล็ก และผูมีประสบการณในการทํางานนอยกวา 5 ป มีผลตอการจัดทําและการนําเสนองบ การเงินตามมาตรฐานการบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ ดานการมีบทบาทและการสนับสนุน ดาน การอานและความเขาใจในเนื้อหาของมาตรฐานการบัญชี และดานประโยชนที่ไดรับ อยางมีนัยสําคัญ

คําสําคัญ: บัญชี มาตรฐานบัญชี งบการเงิน

(2)

ABSTRACT: Studying on processing and presentation of financial statement and factors which have effect on it. The financial statement had been fully prepared and presented with accounting standard by accounting manager. In this case it could not be executed in concordancing with accounting standard, the accounting manager had enough reasons to do so. Whereas the auditor had audited the financial statement and found that the company didn’t revise the financial statement according to advise against on it consequently, the conditional recommendation had been made by the auditor. The officer who was responsible had advised the company to prepare the financial statement in concordance with accounting standard as well as encourage the related parties to execute it in accordance with accounting standard.

The proclaimed accounting standard could be understood and applied at high level. It would get the benefit on several areas such as, promoting an international financial statement, enhancing transparents on data and information as well as the investor had the confidence on financial statement. On the contrary, this study also revealed some problems and obstructions such as; lacking of examples to promote understanding, complicated accounting execution and lacking of explanation to promote understanding as well. The hypothesis testing revealed that paper and printing materials sector, machinery sector, small business and less than 5 years experienced staffs would have their influence on preparing and presentation of financial statement according to the international based Thai accounting standard in the areas of promoting reading and understanding of accounting standard context as well as its benefit at significant level.

KEYWORDS: Accounting, Accounting Standard, Financial statement

1. ความนํา

สภาวการณในปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอยู

ตลอดเวลา ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ เทคโนโลยี โดยเฉพาะเศรษฐกิจไทยในป 2540 ไดกาว เขาสูภาวะวิกฤติอยางรุนแรง นับตั้งแตประเทศไทยได

ประกาศเปลี่ยนแปลงระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา เปนระบบเงินบาทลอยตัว โดยธนาคารแหงประเทศไทย ในเดือนกรกฎาคม 2540 สงผลกระทบตอความตกต่ํา ทางเศรษฐกิจไปยังทุกภาคเศรษฐกิจ ไมวาจะเปนภาค การผลิตและภาคบริการที่ซบเซาอยางตอเนื่อง ดวยเหตุ

ที่กําลังซื้อภายในประเทศลดลง การชะลอตัวลงของ เศรษฐกิจครั้งนี้มีผลทําใหการนําเขาสินคาลดลง อีกทั้ง ทําใหธุรกิจสวนใหญประสบกับผลขาดทุนจากอัตรา แลกเปลี่ยน การขาดสภาพคลองทางการเงิน ปญหา ภาระหนี้สินและดอกเบี้ยจายที่เพิ่มขึ้นเพราะมีการกูเงิน จากตางประเทศมาลงทุนเปนจํานวนมาก มีตนทุนการ ผลิตเพิ่มสูงขึ้นขณะที่ยอดขายลดลงอยางตอเนื่อง ทําให

บริษัทหลายแหงปดกิจการลง ปญหาทางเศรษฐกิจใน ครั้งนี้นอกเหนือจากสาเหตุของการจัดการที่ลมเหลวแลว

ยังมีการระบุสาเหตุที่สืบเนื่องมาถึงการรายงานขอมูลทาง การเงินวา งบการเงินมิไดสะทอนภาพที่แทจริงของ กิจการ มิไดสงสัญญาณเตือนภัยใหกับนักลงทุนตามที่

ควร รวมทั้งความไมโปรงใสของธุรกิจตาง ๆ ในการ เปดเผยขอมูลในงบการเงิน ทําใหผูลงทุนไมทราบถึง ปญหาที่ซอนอยู หรือมีการเปดเผยขอมูลแตเปนการ เปดเผยขอมูลที่ไมเปนประโยชน

ทั้งนี้สงผลมาถึงมาตรฐานการบัญชีของไทย ที่

มาตรฐานการบัญชีไมไดมาตรฐานสากล ทําใหนัก ลงทุนตางประเทศไมมั่นใจและเริ่มถอนการลงทุนออก จากประเทศไทย ทําใหเกิดความเสียหายตอเศรษฐกิจ เปนอยางมาก จากภาวการณขางตนทําใหเกิดความ จําเปนที่ประเทศไทยตองมีมาตรฐานการบัญชีในเรื่อง ใหม ๆ หลายเรื่องเพื่อประโยชนตอผูประกอบวิชาชีพ การบัญชี สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาต แหงประเทศไทย จึงไดดําเนินการพัฒนาและทําการ ปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีของไทย ในการแกไข มาตรฐานการบัญชีไดกําหนดมาตรฐานการบัญชีของ ไทย โดยอิงมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ เพื่อให

(3)

มาตรฐานการบัญชีมีความเปนสากล เมื่อผานขั้นตอน ในการจัดทํามาตรฐานการบัญชีเปนที่เรียบรอยแลว จึง ไดประกาศใหมาตรฐานการบัญชีมีผลบังคับใชใชตั้งแต

วันที่ 10 สิงหาคม 2543 เปนตนมา มาตรฐานการบัญชีมี

ความสําคัญตอผูประกอบการ นักบัญชี ผูสอบบัญชี

และผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการบัญชี เพื่อใชเปน บรรทัดฐาน และแนวทางปฏิบัติ แกผูประกอบการ วิชาชีพการบัญชีในการจัดทําบัญชีของธุรกิจไดอยาง ถูกตองยิ่งขึ้น และทําใหขอมูลในงบการเงินมีความ นาเชื่อถือ สามารถเปรียบเทียบไดกับงบการเงินในงวด กอน ๆ ของกิจการและกับงบการเงินของกิจการอื่น งบ การเงินจึงเปนเครื่องมือที่สําคัญของธุรกิจในการสื่อสาร กับผูใช และเปนหัวใจสําคัญอยางยิ่งตอการลงทุนทั้ง ในระดับประเทศและในระดับนานาชาติ หากในการ จัดทําและการนําเสนองบการเงิน ไมแสดงขอมูลที่เปน จริงแลว อาจทําใหงบการเงินบิดเบือนกอใหเกิดภาพ ลวงตา กอใหเกิดความเขาใจผิด สงผลตอการตัดสินใจ ที่ผิดพลาด และทําใหเกิดความเสียหายแกผูใชงบ การเงินโดยเฉพาะนักลงทุน เมื่อนักลงทุนขาดความ เชื่อมั่นและเชื่อถือในงบการเงิน ยอมกอใหเกิดการ ตัดสินใจไมลงทุนในกิจการ ในทางตรงกันขามหาก แสดงขอมูลในงบการเงินอยางถูกตอง ครบถวน และ เที่ยงธรรม สงผลใหนักลงทุนมีความเชื่อถือและ สามารถเรียกความเชื่อมั่นใหกลับคืนมาได ทําให

สามารถระดมทุนไดมากยิ่งขึ้นทั้งแหลงภายในและ ภายนอกประเทศ และสามารถชวยฟนเศรษฐกิจของ ประเทศใหกลับคืนมาไดอีกครั้งหนึ่ง

2. วัตถุประสงคของการวิจัย

เพื่อศึกษาการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน และ ปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอการจัดทําและการนําเสนองบ การเงิน ตามมาตรฐานการบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐาน การบัญชีระหวางประเทศ ของกลุมสินคาอุตสาหกรรม

3. ขอบเขตของการวิจัย

3.1 ศึกษาเฉพาะมาตรฐานการบัญชีที่ถือปฏิบัติ

ระหวาง ป พ.ศ. 2542– 2543 รวมจํานวน 9 ฉบับ และ

มาตรฐานการบัญชีที่ถือปฏิบัติป พ.ศ. 2543 รวมจํานวน 8 ฉบับ

3.2 ศึกษาเฉพาะกลุมสินคาอุตสาหกรรมที่จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

4. นิยามศัพท

4.1 งบการเงิน หมายถึง งบดุล งบกําไรขาดทุน งบกําไรสะสม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบยอย และคําอธิบายอื่น ซึ่งระบุไววาเปนสวนหนึ่งของงบการเงิน

4.2 มาตรฐานการบัญชี หมายถึง แนวทางที่แนะนํา ใหนักบัญชีใชยึดถือเปนหลักปฏิบัติในการรวบรวม จด บันทึก จําแนก สรุปผล และรายงานเหตุการณเกี่ยวกับ การเงิน

4.3 ผูจัดการฝายบัญชี หมายถึง ผูบริหารระดับ สูงสุดที่รับผิดชอบงานทางดานบัญชีของหนวยงาน งาน ที่รับผิดชอบครอบคลุมถึงงานทุกชนิดในหนวยงานที่

เกี่ยวของกับการบัญชี ซึ่งแตละบริษัทอาจมีชื่อตําแหนง เรียกแตกตางกัน เชน ผูอํานวยการบัญชี พนักงานบัญชี

อาวุโส สมุหบัญชี หรือชื่ออื่นที่มีความหมาย เชนเดียวกัน

4.4 ผูสอบบัญชี หมายถึง ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทํา หนาที่ตรวจสอบงานทางการบัญชีและรับรองงบ การเงินของกลุมสินคาอุตสาหกรรมประจําป 2548 และ เปนผูสอบบัญชีที่ไดรับความเห็นชอบจากสํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

4.5 เจาหนาที่กํากับดูแล หมายถึง เจาหนาที่ฝาย กํากับบัญชีตลาดทุน ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

5. การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช

รูปแบบการวิจัยในการศึกษาครั้งนี้ เปนการศึกษา การวิจัยเอกสารและการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช

แบบสอบถาม (Questionnaire) แบบปลายปดและแบบ ปลายเปด เปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจาก กลุมตัวอยาง คือ ผูจัดการฝายบัญชี ผูสอบบัญชี และ เจาหนาที่กํากับดูแล จํานวน 85 ตัวอยาง และ

(4)

ประมวลผลขอมูลจากโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ การ ทดสอบความนาเชื่อถือของเครื่องมือดวยวิธีวัดความ สอดคลองภายใน (Measure of Internal Consistency Method) ดวยเทคนิคทางสถิติที่ใชคือ วิธีสัมประสิทธิ์

อัลฟา (Alpha Coefficient) แบบครอนบาค อัลฟา (Cronbach’s Alpha) ไดผลการทดสอบความนาเชื่อถือ ของเครื่องมือ ซึ่งมีความสอดคลองในระดับสูงโดยมีคา การทดสอบความนาเชื่อถือเครื่องมือที่ 0.8791 อยางมี

นัยสําคัญทางสถิติ สําหรับผลการศึกษาของขอมูลเชิง พรรณนา (Descriptive Statistic) และอธิบายผล การศึกษาใชสถิติเบื้องตนทําการวิเคราะห ไดแก คารอย ละ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ วิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) ใน การทดสอบสมมติฐานใชการวิเคราะหการผันแปรทาง เดียว (One – Way analysis of Variance) และทดสอบ คาเฉลี่ยความแตกตางรายคูโดยใชวิธี LSD (Least Significant Difference) ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 6. สรุปผลการวิจัย

6.1 ลักษณะของกลุมตัวอยาง

กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง มากกวา เพศ ชาย โดยมีอายุระหวาง 36 – 40 ป ศึกษาในระดับ ปริญญาตรี มากที่สุด สวนใหญทํางานในหมวด อุตสาหกรรมยานยนต มีประสบการณในการทํางาน ดานบัญชี 11 - 15 ป มากที่สุด และปฏิบัติงานในธุรกิจ ขนาดใหญหรือมีมูลคาสินทรัพยถาวร มากกวา 2,000 ลานบาท มากที่สุด รองลงมา ไดแก ธุรกิจขนาดกลาง หรือมีมูลคาสินทรัพยถาวร 500 – 2,000 ลานบาท และ ธุรกิจขนาดเล็กหรือมีมูลคาสินทรัพยถาวร นอยกวา 500 ลานบาท

6.2 การศึกษาการมีบทบาทและการสนับสนุนการ จัดทําและการนําเสนองบการเงินตามมาตรฐานการ บัญชีไทย โดยอิงมาตรฐานการบัญชีระหวาง ประเทศ พบวา

1) ผูจัดการฝายบัญชี มีความคิดเห็นตอการมีบทบาท และการสนับสนุนการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน

ตามมาตรฐานการบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐานการบัญชี

ระหวางประเทศ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อ พิจารณารายดานของความคิดเห็นในระดับมากที่สุด จํานวน 2 ดาน ดังนี้ (1) ในกรณีที่ไมสามารถจัดทําและ นําเสนองบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีฉบับใหมที่

เกี่ยวของได มีเหตุผลเพียงพอในการไมปฏิบัติตาม และ (2) ไดจัดทําและนําเสนองบการเงินตามมาตรฐานการ บัญชีฉบับใหมที่เกี่ยวของโดยครบถวน

2) ผูสอบบัญชี มีความคิดเห็นตอการมีบทบาทและ การสนับสนุนการจัดทําและการนําเสนองบการเงินตาม มาตรฐานการบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐานการบัญชี

ระหวางประเทศ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อ พิจารณารายดานของความคิดเห็นในระดับมากที่สุด จํานวน 2 ดาน ดังนี้ (1) กรณีบริษัทไมไดแกไขปรับปรุง ตามขอทักทวงในสวนที่เปนสาระสําคัญ ไดแสดง ความเห็นตองบการเงินอยางมีเงื่อนไขหรือไดแสดง ความเห็นวางบการเงินไมถูกตอง และ (2) เสนอแนะ เกี่ยวกับงบการเงินที่ไมเปดเผยขอมูลอยางถูกตองและ ครบถวนในสวนที่เปนสาระสําคัญ

3) เจาหนาที่กํากับดูแล มีความคิดเห็นตอการมี

บทบาทและการสนับสนุนการจัดทําและการนําเสนองบ การเงินตามมาตรฐานการบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐาน การบัญชีระหวางประเทศ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายดานของความคิดเห็นในระดับมากที่สุด จํานวน 2 ดาน ดังนี้ (1) ไดทักทวงใหบริษัทแกไข ปรับปรุงในกรณีที่ไมไดจัดทํางบการเงินตามมาตรฐาน การบัญชีฉบับใหม และ (2) มีการสนับสนุนและ สงเสริมใหผูเกี่ยวของปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี

ฉบับใหม

สําหรับการศึกษาความคิดเห็น และขอเสนอแนะ อื่น ๆ พบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นและ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการมีบทบาทและการสนับสนุน การจัดทําและการนําเสนองบการเงิน จํานวน 25 คน คิด เปนรอยละ 29.4 โดยมีความคิดเห็นวา ควรมีการ ฝกอบรมมาตรฐานการบัญชีฉบับใหมเพิ่มมากขึ้น มาก ที่สุด รอยละ 28.3 รองลงมา ไดแก ควรใหความรู

เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชีทั้งในภาคทฤษฎีและ

(5)

ภาคปฏิบัติ รอยละ 23.6 ควรมีการสนับสนุนให

ผูปฏิบัติงานเขาใจตอหนาที่และบทบาทในการ ปฏิบัติงานของตนเอง รอยละ 18.1 ควรใหความรู

มาตรฐานการบัญชีฉบับใหมตอผูปฏิบัติโดยจําแนกตาม ลักษณะอุตสาหกรรม รอยละ 15.2 และควรมีรูปแบบ การนําเสนอมาตรฐานการบัญชีใหเหมาะสมกับ ผูประกอบการในประเทศ รอยละ 14.8

6.3 การศึกษาการอานและความเขาใจในเนื้อหา ของมาตรฐานการบัญชีและสามารถนําไปปฏิบัติใน การจัดทําและการนําเสนองบการเงินตามมาตรฐาน การบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐานการบัญชีระหวาง ประเทศ พบวา

กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอการอานและความ เขาใจในเนื้อหาของมาตรฐานการบัญชี และสามารถ นําไปปฏิบัติในการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน ตามมาตรฐานการบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐานการ บัญชีระหวางประเทศ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อ พิจารณารายดานของความคิดเห็นโดยสวนใหญอยูใน ระดับมาก จํานวน 17 ดาน

สําหรับการศึกษาความคิดเห็นและขอเสนอแนะ อื่น ๆ พบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นและ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการอานและความเขาใจในเนื้อหา ของมาตรฐานการบัญชีและสามารถนําไปปฏิบัติในการ จัดทําและการนําเสนองบการเงิน จํานวน 46 คน คิดเปน รอยละ 54.2 โดยมีความคิดเห็นวา ควรมีคําอธิบายและ ขอเสนอแนะใหเขาใจงายมากยิ่งขึ้น มากที่สุด รอยละ 26.1 รองลงมา ไดแก มาตรฐานการบัญชีฉบับใหม

เขาใจยากทําใหเกิดปญหาในการตีความและการนําไป ปฏิบัติ รอยละ 23.7 ควรมีแนวทางในการจัดทํา มาตรฐานการบัญชีฉบับใหมใหเทียบเทากับมาตรฐาน การบัญชีระหวางประเทศ รอยละ 20.1 ควรมีการ นําเสนอวัตถุประสงคของมาตรฐานการบัญชีฉบับใหม

อยางชัดเจน รอยละ 16.8 และควรใชภาษาและขอความ ที่มีความเขาใจงาย รอยละ 13.3

6.4 การศึกษาประโยชนที่ไดรับจากการจัดทําและ การนําเสนองบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ พบวา

กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอประโยชนที่ไดรับ จากการจัดทําและการนําเสนองบการเงินตามมาตรฐาน การบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐานการบัญชีระหวาง ประเทศ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาราย ดานสามารถสรุปผล ดังนี้ ความคิดเห็นตอประโยชนที่

ไดรับจากการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน ในระดับ มากที่สุด จํานวน 6 ดาน ดังนี้ (1) ทําใหงบการเงินมีความ เปนสากล (2) ทําใหงบการเงินมีการเปดเผยขอมูล ครบถวนและสมบูรณมากยิ่งขึ้น (3) ทําใหนักลงทุนมี

ความเชื่อมั่นตองบการเงินมากขึ้น (4) ทําใหงบการเงิน สามารถนํามาเปรียบเทียบกันไดกับงบการเงินในงวด กอน ๆ ของกิจการและงบการเงินของกิจการอื่น (5) ทํา ใหงบการเงินมีการเปดเผยขอมูลเปนไปตามมาตรฐาน การบัญชีที่กําหนด และ (6) ทําใหผูใชงบการเงิน สามารถนํางบการเงินไปใชวิเคราะหไดอยางถูกตอง

สําหรับการศึกษาความคิดเห็น และขอเสนอแนะ อื่นๆ พบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นและ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับประโยชนที่ไดรับจากการจัดทํา และการนําเสนองบการเงิน จํานวน 20 คน คิดเปนรอย ละ 23.6 โดยมีความคิดเห็นวา ทําใหนักลงทุนไดขอมูล ทางดานการบัญชีที่ถูกตองและเปนประโยชนในการทํา ธุรกิจ มากที่สุด รอยละ 24.2 รองลงมา ไดแก มีความ ชัดเจนสามารถนํามาเปนแนวทางในการปฏิบัติงานใน ทิศทางเดียวกัน รอยละ 21.7 สามารถนําไปตีความเพื่อ ใชในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง รอยละ 19.5 ทําให

เปนที่ยอมรับของตางประเทศมากขึ้น รอยละ 14.9 เปน การสรางความมั่นใจตอนักลงทุนตางชาติ รอยละ 11.4 และเปนประโยชนตอการเปรียบเทียบงบการเงิน ระหวางบริษัทภายในอุตสาหกรรมเดียวกัน รอยละ 8.3 6.5 การศึกษาปญหาและอุปสรรคจากการจัดทําและ การนําเสนองบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ พบวา

(6)

กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอปญหาและอุปสรรค จากการจัดทําและการนําเสนองบการเงินตามมาตรฐาน การบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐานการบัญชีระหวาง ประเทศ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาราย ดานสามารถสรุปผล ดังนี้ ความคิดเห็นตออุปสรรคจาก การจัดทําและการนําเสนองบการเงิน ในระดับมาก จํานวน 8 ดาน ดังนี้ (1) การขาดตัวอยางเพื่อ ประกอบการสรางความเขาใจ (2) มีวิธีการทางบัญชีที่

ซับซอนในทางปฏิบัติ (3) ขาดคําอธิบายที่เพียงพอใน การทําความเขาใจ (4) ทําใหเกิดปญหาในทางปฏิบัติกับ ธุรกิจ (5) ทําใหตองเตรียมความพรอมเนื่องจากมีการ กําหนดบังคับใชมาตรฐานการบัญชีในระยะเวลาอันสั้น (6) ทําใหมีการตีความหมายและการแปลความหมายที่

ไมถูกตอง (7) ทําใหการจัดทําและการนําเสนองบ การเงินเกิดความลาชา และ (8) ทําใหเกิดคาใชจายในการ จัดทําและการนําเสนองบการเงินสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญ สําหรับการศึกษาความคิดเห็น และขอเสนอแนะ อื่น ๆ พบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นและ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับปญหาและอุปสรรคจากการจัดทํา และการนําเสนองบการเงิน จํานวน 28 คน คิดเปนรอย ละ 32.9 โดยมีความคิดเห็นวา ควรมีการเปดเผยขอมูล ในการจัดทํามาตรฐานการบัญชี มากที่สุด รอยละ 17.8 รองลงมา ไดแก ความแตกตางของสภาพแวดลอมทาง ธุรกิจสามารถทําใหแนวทางในการปฏิบัติเปลี่ยนแปลง ได รอยละ 17.4 ควรมีผูเชี่ยวชาญในการใหคําแนะนํา การจัดทํามาตรฐานการบัญชี รอยละ 13.6 ควรจัดใหมี

การฝกอบรมการจัดทํามาตรฐานการบัญชี รอยละ 11.4 ควรใหความรูและความเขาใจในการปฏิบัติงาน รอยละ 11.9 มาตรฐานการบัญชีตองมีความชัดเจนและสามารถ เขาใจไดงาย รอยละ 10.1 ควรใหความรูเกี่ยวกับ หลักการบัญชีเพิ่มมากขึ้น รอยละ 9.7 และควรมีการ สรุปสาระสําคัญและหัวใจสําคัญในการปฏิบัติตาม มาตรฐานการบัญชี รอยละ 8.1

6.6 การทดสอบสมมติฐาน สามารถสรุปไดดังนี้

1) หมวดอุตสาหกรรมกระดาษและวัสดุการ พิมพ และหมวดอุตสาหกรรมเครื่องมือและเครื่องจักร

มีผลตอการจัดทําและการนําเสนองบการเงินตาม มาตรฐานการบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐานการบัญชี

ระหวางประเทศ ดานการมีบทบาทและการสนับสนุน ดานการอานและความเขาใจในเนื้อหาของมาตรฐาน การบัญชี และดานประโยชนที่ไดรับ มากกวา หมวด อุตสาหกรรมปโตรเคมีและเคมีภัณฑ และหมวด อุตสาหกรรมยานยนต อยางมีนัยสําคัญ

2) ธุรกิจขนาดเล็ก มีผลตอการจัดทําและการ นําเสนองบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีไทย โดยอิง มาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ ดานการมีบทบาท และการสนับสนุน ดานการอานและความเขาใจใน เนื้อหาของมาตรฐานการบัญชี และดานประโยชนที่

ไดรับ มากกวา ธุรกิจขนาดกลาง และธุรกิจขนาดใหญ

อยางมีนัยสําคัญ

3) ผูมีประสบการณในการทํางานนอยกวา 5 ป

มีผลตอการจัดทําและการนําเสนองบการเงินตาม มาตรฐานการบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐานการบัญชี

ระหวางประเทศดานการมีบทบาทและการสนับสนุน ดานการอานและความเขาใจในเนื้อหาของมาตรฐาน การบัญชี และดานประโยชนที่ไดรับ ตางจาก ผูมี

ประสบการณในการทํางาน 6 - 10 ป ผูมีประสบการณ

ในการทํางาน 11 - 15 ป ผูมีประสบการณในการทํางาน 16 - 20 ป ผูมีประสบการณในการทํางาน 21 - 25 ป

และผูมีประสบการณในการทํางานมากกวา 25 ป อยาง มีนัยสําคัญ

4) ผูจัดการฝายบัญชี ผูสอบบัญชี และเจาหนาที่

กํากับดูแล ไมมีผลตอการจัดทําและการนําเสนองบ การเงินตามมาตรฐานการบัญชีไทย โดยอิงมาตรฐาน การบัญชีระหวางประเทศ ดานการมีบทบาทและการ สนับสนุน ดานการอานและความเขาใจในเนื้อหาของ มาตรฐานการบัญชี ดานประโยชนที่ไดรับ และดาน ปญหาและอุปสรรค ทั้งนี้เนื่องจากเปนผูที่อยูใน วิชาชีพทางการบัญชีและมีหนาที่การทํางานที่เกี่ยวของ กับมาตรฐานการบัญชีโดยตรงเหมือนกัน

(7)

7. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช

7.1 เปนแนวทางใหกับคณะกรรมการของสภา วิชาชีพบัญชีนําไปพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานการ บัญชีฉบับใหม ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ยิ่งขึ้น

7.2 เปนแนวทางใหกับนักบัญชี และผูสอบบัญชี

สามารถนําไปแนวทางในการยึดถือปฏิบัติ สงผลให

รายงานทางการเงินของธุรกิจไทยมีความนาเชื่อถือ 7.3 เปนแนวทางใหกับหนวยงานกํากับดูแลกิจการ ตลาดทุน สามารถนําไปกําหนดมาตรฐานการเปดเผย ขอมูล เพื่อใหไดขอมูลที่เปนประโยชนในการตัดสินใจ ของผูลงทุน

7.4 เปนแนวทางใหกับผูใชงบการเงิน สามารถนํา ขอมูลไปใชประกอบการวิเคราะหและตัดสินใจลงทุน ไดอยางถูกตองยิ่งขึ้น

8. เอกสารอางอิง

[1] ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548. เทคนิคการ วิเคราะหงบการเงินบริษัทจดทะเบียน. พิมพครั้งที่

3. กรุงเทพฯ: ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย.

[2] ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2548. รายชื่อ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศ ไทย. คนเมื่อ 6 กรกฎาคม 2548,

จาก http:/www.set.or.th/download/companylist.xls.

[3] ทรงเดช ประดิษฐสมานนท, 2545. บทเรียนจากเอน รอน. นักบัญชี, 2: 46-55.

[4] นนทพล นิ่มสมบุญ, 2542. ความคืบหนาในการ พัฒนาวิชาชีพบัญชีใน ประเทศไทย.

สื่อนักบัญชี, 2: 1.

[5] นพกร พรวิจิตรเจริญ, 2542. มาตรฐานการบัญชีไทย กับการทํา Creative Accounting. นักบัญชี, 2: 23, 27.

[6] ภัทรียา เบญจพลชัย, 2542. มาตรฐานการบัญชีไทย ปจจุบันมีความเหมาะสมหรือยัง. จุลสารสื่อนัก บัญชี, 12.

[7] วรศักดิ์ ทุมมานนท, 2542. งบการเงินภายใตแมบท การบัญชี พ.ศ. 2542: สิ่งที่ฝายบริหารตองติดตาม (ตอนที่ 1). Chulalongkorn, 2 : 33-38.

[8] ศูนยวิจัยกสิกรไทย, 2540. ทิศทางเศรษฐกิจไทยใน กระแสเงินบาทลอยตัว. กระแสทรรศน. คนเมื่อ 28 เมษายน 2548, จาก http :// www. krc.co.th.

[9] สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหง ประเทศไทย, 2546. บทความเรื่อง Sarbanes-Oxley Act. วิชาชีพบัญชี, 3 : 10.

[10] สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหง ประเทศไทย, 2546. มาตรฐานการบัญชีของไทยฉบับ รวมเลม พ.ศ. 2546 เลม 1. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง.

[11] สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ, 2540. ระเบียบวิธีการวิจัย ทางสังคมศาสตร. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เลี่ยง เชียง.

[12] สุมนา เศรษฐนันท, 2543. พระราชบัญญัติการบัญชี

พ.ศ. 2543 . คูมือประกอบการอบรมโครงการ อบรมผูทําบัญชีเพื่อใหมีคุณสมบัติตามที่กําหนดใน พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543. กรุงเทพฯ : กรมทะเบียนการคา.

[13] สุรีย วงศวณิช, สุจิตรา วัชรจิตติภัณฑ และวันดา พัฒนกิจการุณ, 2547. ผลกระทบของมาตรฐานการ บัญชีไทยในการนําไปปฏิบัติ. จุฬาลงกรณธุรกิจ ปริทัศน, 26 : 1.

[14] เสาวนีย สิชฌวัฒน, 2543. คุณภาพของมาตรฐาน การบัญชี. วารสารนักบัญชี, 2 :7.

[15] อังครัตน เพรียบจริยวัฒน, 2545. บริษัทมหาชนกับ การใชมาตรฐานการบัญชีสากล. บริหารธุรกิจ, 1 :-13.

[16] อังครัตน เพรียบจริยวัฒน, 2545. ปญหาวิธีการทาง บัญชีกับการลมละลายของเอนรอน. นักบัญชี, 2 : 26-45.

[17] Allen Reilly M., 1997. The effect of management and auditor reports on internal control on financial analysis perception and decision. Ph.D. dissertation, Drexel University.

[18] Barker, Richard G., 2004. Trend global accounting is coming.Harvard Business Review, [Online]. 81(April 2003) Available : http://

proquest.umi.com [Accessed April 10, 2004].

(8)

[19] Bazley, John D., Nikolai, Loren A., and Grove, Hugh D.,1995. Understanding the balance sheet.

Financial accounting. 3rd ed. Ohio: South Western.

[20] Camfferman, Kees and Cooke, Terence E., 2004.

An analysis of disclosure in the Annual reports of U.K. and Dutch companies. [Online] 19(February 2002) Available : http://thilis.uni.net.th/abi/

detail.nsp [Accessed March 16, 2004].

[21] Ivancevich, Daniel M., Ivancevich, Susan H.

Cocco, Anthony and Hermanson, Roger H., 2003.“New accounting standard and the small business: The focus is different for a small Business,” [Online]. 2(July 1997) Available : http://thilis.uni.net.th/abi/detail.nsp[Accessed March 1, 2003].

[22] Jonas, G. J. and Young., 1998. Ridging the gap : Who can bring a user focus to business Reporting.

Accounting Horizons, 154-159.

[23] Joshi, Premlal Lal. and Mudhahki, Jawaher Al.

M., 2003. Empirical study of compliance with international accounting standard (IAS-1) by stock exchange listed companies in Bahrain. [Online].

2(February 2001). Available: http://thailis.umi.net.

th/abi/detail.nsp [Accessed March 20, 2003].

[24] Lierley, Dayton G. and Brezovec, Richard L.,2003. How proposed loan impairment rules could affect your bank.[Online]. 3(March 1993). Available : http://www.thilis.uni.net.

th/abi/detail.nsp [Accessed March 1, 2003].

[25] Lont, D.,2002. Unspecified operating expense disclosure requirements in New Zealand. Pacific Accounting Review, 14(2): 57-92.

[26] Miller, J.R., Reed, S.A., and Strawser, R.H.,1993.

Bank loan officers’ perceptions of the new audit report. Accounting Horizons,11(4): 33-40.

[27] Mooney, Sean F.,2003. New accounting rule impacts industry bonds. National Underwriter.

[Online]. 28(October 2003) Available : http:// thilis.uni.net.th/abi/detail.nsp [Accessed March 21, 2003].

[28] Mufeed, R.,2003. Effects of introducing international accounting standards on Ammanstock exchange. Journal of American Academy of Business, 3(2): 361- 366.

[29] Pendlebury, Maurice and Groves, R., 2001.

Company Accounts Analysis Interpretation and Understanding. 5th ed. Cornwall: Thomsom.

[30] Rogero, L. H.,1998. Characteristics of high quality accounting standard. Accounting Horizons, 177-183.

[31] The Wall Street.,2003. FASB backs project to study unification of accounting rule. 4(October 2002) Available : http://www.umi.com/

proquest [Accessed March 30, 2003].

[32] Wu, Shwu H., Koo, Meihua & Kao, Tzu C.,2005.

Comparing the Value Relevance of Accounting Information in China : Standards And Factors Effects. Working Paper. University of Nevada.

[33] Yue, Li and Bruce, M.,1999. An empirical examination of factors affecting the timing of environmental accounting standard adoption and the impact on corporate valuation. Journal of

Accounting, Auditing & Finance,14, 279-280, 1999.

[34] Zikmund, William, G.,2000. Business research methods. 4th ed. New York : Dryden.

Referensi

Dokumen terkait

พื้นฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 ผูบริหารสถานศึกษารับฟง ความคิดเห็นของผูอื่น listening ประกอบดวย 3 ตัว บงชี้ มาตรฐานที่ 2 ผูบริหารสถานศึกษาเปนผูมีความ เห็นใจผูรวมงาน empathy