• Tidak ada hasil yang ditemukan

การควบคุมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "การควบคุมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ"

Copied!
119
0
0

Teks penuh

(1)

กฎระเบียบและกฎหมายเพื่อการควบคุมยาสูบ กฎระเบียบและกฎหมายเพื่อการควบคุมยาสูบ กฎระเบียบและกฎหมายเพื่อการควบคุมยาสูบ

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

หทัย ชิตานนท์, พบ, อว (ประสาทศัลยศาสตร์), สด (กิตติมศักดิ์),FICS, FRCST, FCNST ประธานสถาบันส่งเสริมสุขภาพไทย, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ

ประธานรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัยโลก (2550-2551)

เอกสารส าหรับนักวิจัยและนักวิชาการควบคุมยาสูบ

(2)

กฎระเบียบและกฎหมายเพื่อการควบคุมยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

ISBN :

978-616-279-993-8 เรียบเรียงโดย

นายแพทย์หทัย ชิตานนท์

ฝ่ายสนับสนุน

ดร.ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฎ์

ฝ่ายศิลป์

วศิน พิพัฒนฉัตร

จัดพิมพ์โดย  ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) สนับสนุนโดย  ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พิมพ์ที่  เจริญดีมั่นคงการพิมพ์ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ

พิมพ์ครั้งที่ 1  พ.ศ. 2560 จ านวนพิมพ์  ... เล่ม

ลิขสิทธิ์ของเอกสารวิชาการฉบับนี้เป็นของ นายแพทย์หทัย ชิตานนท์

ห้ามมิให้ผู้ใดน าส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดของหนังสือเล่มนี้ ไปท าการคัดลอกโดยวิธีการถ่าย เอกสาร โรเนียว พิมพ์โดยเครื่องจักรหรือวิธีการอื่นใดเพื่อจ าหน่าย หรือเพื่อประโยชน์ทาง การค้า เว้นแต่เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา โดยขอสงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย

(3)

สารบัญ

หน้า 1. การควบคุมการจดทะเบียนร้านค้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ (licensing) 1 2. การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้แก่เยาวชน 5 2.1 การห้ามขายบุหรี่ให้แก่บุคคลอายุต่ ากว่า 18 ปี 5 2.2 การห้ามขายบุหรี่ให้แก่บุคคลอายุต่ ากว่า 21 ปี 27 2.3 การห้ามจัดวางเพื่อบริการตนเอง (Self-service display) 29 2.4 การจ ากัดหรือการห้ามการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบโดยเครื่อง

ขายอัตโนมัติ (Vending machines)

30 2.5 การห้ามขายบุหรี่ซองเล็กกว่า 20 มวน (kiddie pack) หรือขาย

บุหรี่เป็นมวน (loosies)

38

3. การควบคุมการจ าหน่ายบุหรี่ทางอินเทอร์เน็ต 45

4. การงดให้สิทธิปลอดภาษีแก่ผลิตภัณฑ์ยาสูบ 56

5. การห้ามจ าหน่ายบุหรี่ในบางสถานที่ 64

5.1 ร้านขายยา (Drug stores, Pharmacies) 64

5.2 ในและใกล้เคียงโรงเรียนและสถานศึกษา 74

5.3 โรงพยาบาล 77

5.4 อื่นๆ 78

6. การห้ามน าเข้าและจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบบางประเภท 81

6.1 บุหรี่ไร้ควัน 81

6.2 บุหรี่อิเลคทรอนิคส์ 83

6.3 บุหรี่ขนมหวาน (Candy cigarettes) 84

6.4 Cigarillos 88

6.5 บุหรี่ชูรส 88

6.6 บุหรี่กานพลู 92

6.7 บุหรี่เมนธอล 92

6.8 บุหรี่บิดิส์ 94

7. อื่นๆ 96

(4)

หน้า 7.1 การอนุญาตให้จ าหน่ายได้โดยใบสั่ง (prescriptions) 96

7.2 การห้ามจ าหน่าย 96

8. กฎหมายการใช้ที่ดินเพื่อการควบคุมยาสูบ 99

9. การห้ามจ าหน่าย (Prohibition) 100

10. ข่าวหนังสือพิมพ์ 104

(5)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

1

1

การควบคุมร้านค้าผลิตภัณฑ์ยาสูบเริ่มด้วยการจดทะเบียนร้านค้าเหล่านี้

เพื่อให้อยู่ในระเบียนที่ราชการตั้งไว้ เช่น บทลงโทษเมื่อกระท าความผิด เช่น การจ าหน่ายบุหรี่ให้แก่เด็ก , การจ าหน่ายบุหรี่ปลอมหรือบุหรี่เถื่อน , การ จ าหน่ายบุหรี่ซองเล็กกว่า 20 มวน , และการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบที่

ต้องห้าม

AUSTRALIA ออสเตรเลีย

การศึกษาจากสภามะเร็งที่แขวง Hunter ของแคว้น New South Wale พบว่ามีร้านขายปลีกบุหรี่มากกว่า 1200 แห่ง หรือเท่ากับแห่งหนึ่ง ส าหรับนักสูบบุหรี่ 77 คน เทียบกับที่ท าการไปรษณีย์ซึ่งมีเพียง 150 แห่ง ฉะนั้นการซื้อบุหรี่จึงง่ายกว่าการซื้อแสตมป์ เจ้าหน้าที่กล่าวว่าผู้สูบที่คิดจะเลิก ก็คงไม่เลิกเพราะบุหรี่หาง่ายมาก1

SOUTH KOREA เกาหลีใต้

ประเทศเกาหลีใต้มีร้านขายปลีกบุหรี่ 1 ร้านต่อผู้สูบ 319 คน (ผู้สูบ ทั่วประเทศ 10.8 ล้านคนจากประชากร 48 ล้านคน) ซึ่งเป็นอัตราที่สูงที่สุด ของโลก2

1 Anon. Easy access traps smokers in cycle say council. Myall Coast News 7 July 2010.

2 Anon. South Korea Most Cigarette Retailers Per Capita in world. Yonhap News 10 January 2005

1. การควบคุมการจดทะเบียนร้านค้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ

(LICENCING)

(6)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

2

2

RUSSIA รัสเซีย

บุหรี่มีขายอยู่ทั่วไปตาม kiosk (ซุ้มขายของเบ็ตเตล็ดซึ่งตั้งอยู่ทั่วไป ตามทางเดินริมถนน) บริษัทบริทิชอเมริกันโทแบคโคสาขารัสเซีย (BATR) ได้

เคยเสนอว่าควรจะออกใบอนุญาตการขายบุหรี่ให้โดย BATR จะช่วยเหลือรัฐ ในการนี้โดยลงทะเบียนกับ Tabakprom Association ซึ่ง BATR เป็น สมาชิก 3

SCOTLAND สกอตแลนด์

องค์กร ASH แห่งสกอตแลนด์กระตุ้นให้รัฐบาลสกอตแลนด์ก าหนดให้

แหล่งจ าหน่ายบุหรี่ต้องขออนุญาตจดทะเบียนเพื่อเป็นผู้จ าหน่ายปลีกบุหรี่

ระบบการจดทะบียนจะช่วยให้ร้านค้าที่กระท าผิดโดยการจ าหน่ายบุหรี่ให้เด็ก ถูกลงโทษด้วยการปรับหรือยกเลิกสิทธิการจ าหน่าย4

SINGAPORE สิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์จ ากัดจ านวนร้านค้าปลีก ค่าธรรมเนียมเก็บปีละ 180 เหรียญสิงคโปร์ ยี่ปั๊วต้องขายบุหรี่ให้ร้านค้าปลีก (ที่ได้รับอนุญาต) เท่านั้น ร้านค้าปลีกต้องยินยอมท าตามกฎระเบียบต่างๆ อาทิ เช่น จ าหน่าย ได้แต่ผู้ที่อายุเกิน 18 ปี เท่านั้น , ไม่ขายบุหรี่ปลีกเป็นมวน , และต้องไม่จ้างผู้

3 Anon. Russia tobacco producer pushes for licensing versus sales bans. RIA Novoshi August 4, 2010.

4 Anon. Campaigners call on MSPs to license tobacco sales. Edinburgh Evening News 18 April 2008.

(7)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

3

3

จ าหน่ายบุหรี่ซึ่งมีอายุต่ ากว่า 18 ปี ผู้กระท าผิดจะถูกปรับ 2,000 เหรียญ สิงคโปร์5

THAILAND ไทย

UNITED STATES OF AMERICA สหรัฐอเมริกา

□ มลรัฐนิวยอร์ก

ในงบประมาณปี 2009 – 2010 ของมลรัฐนิวยอร์ก ได้ขึ้น ค่าธรรมเนียมร้านค้าปลีกจาก ปีละ 100 เหรียญต่อร้านเป็น 100, 2500 หรือ 5,000 เหรียญ แล้วแต่ยอดจ าหน่ายสินค้าทั้งหมด6

5Singapore: retail licensing. Bulletin of International Agency on Tobacco and Health, July 1998.

6 Anon. ‘Operation Rollback’ Targets N.Y. Tobacco Fee. CSP Daily News June 10, 2009.

(8)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

4

4

การขึ้นค่าธรรมเนียมครั้งนี้เพิ่มสูงมากถึง 900% คือเดิมจาก 100 เป็น 1,000 ส าหรับร้านที่มีรายได้รวมน้อยกว่า 1 ล้านเหรียญต่อปี, จาก เดิม 100 เป็น 2,000 ส าหรับร้านที่มีรายได้รวมเกิน 1 ล้านและน้อยกว่า 10 ล้าน และจาก 100 เป็น 5,000 ส าหรับร้านที่มีรายได้ 10ล้านหรือมากกว่า7

สมาคมร้านสะดวกซื้อในมลรัฐนิวยอร์กและพันธมิตรอีก 4 ราย ได้ยื่นฟูองศาลว่า การขึ้นค่าธรรมเนียมที่สูงมากขัดรัฐธรรมนูญ ศาลได้

ตัดสินว่ากลุ่มผู้ร้องไม่มีจุดยืนที่จะฟูองในเรื่องนี้เพราะตั้งแต่ขึ้นค่าธรรมเนียม มาก็ไม่ปรากฏหลักฐานใดๆว่าผู้ร้องได้รับความเสียหาย ไม่มีการปิดกิจการ แม้แต่รายเดียว8

□ มลรัฐอิลินอยส์

ร้านจ าหน่ายบุหรี่ในเมือง Rockford ต่างโมโหโกรธากันอย่างมากที่เมืองนี้จะ ขึ้นค่าใบอนุญาตให้จ าหน่ายบุหรี่จากเดิม 145 เหรียญสหรัฐฯ เป็น 600 เหรียญ เจ้าหน้าที่ของเมืองกล่าวว่าจ านวน “ร้านชั่วร้าย” ที่มีมากใน Rockford ได้ก่อปัญหาขึ้นและเมืองนี้อยากจะเห็นการเปลี่ยนแปลงในความ เข้าใจต่อธุรกิจของเมืองนี้9

7 Stanton J. New state fee intended to force out tobacco vendors. Rochester Democrat

& Chronicle August 12, 2009 .

8 Anon. New York: Judge Reinstates Higher Tobacco Registration Fees. NACSONLINE March 15, 2010.

9 Mc Gill N. City Approves Additional Fees For Tobacco Shops. Mystateline.com December 22, 2012.

(9)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

5

5

2. การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้แก่เยาวชน CONTROL OF SALE TO YOUTH

2.1 การห้ามขายบุหรี่ให้แก่บุคคลอายุต่ ากว่า 18 ปี

หลักการและเหตุผล

ความพยายามที่จะปูองกันมิให้เด็กเริ่มสูบบุหรี่จะต้องมุ่งที่ตัวเด็ก เพราะเกือบ ร้อยละ 90 ของผู้สูบบุหรี่เริ่มสูบก่อนอายุ 18 ในการที่จะเริ่มสูบเด็กจะต้องมี

แหล่งที่จะซื้อหาบุหรี่ได้ การลดการเข้าถึงบุหรี่จึงเป็นมาตรการหนึ่งที่จะลด การเริ่มสูบบุหรี่ในผู้เยาว์

นโยบายนี้จึงเป็นนโยบายที่มีการชี้แนะกันอย่างกว้างขวาง ได้รับการสนับสนุน จากสาธารณะ และเกิดมีมาตรการต่าง ๆ เพื่อนโยบายนี้ กฎหมายห้ามขาย บุหรี่ให้ผู้เยาว์ได้เกิดขึ้นในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก หลายประเทศมีมาตรการ ต่าง ๆ เพื่อให้กฎหมายนี้ได้ผล

เหตุใดจึงเป็นเรื่องส าคัญที่จะป้องกันมิให้เยาวชนซื้อบุหรี่ได้?

ร้อยละ 90 ของผู้สูบบุหรี่เริ่มสูบก่อนอายุ 18 หากอายุเลย 18 แล้วยังไม่

เริ่มสูบ ส่วนใหญ่ก็จะไม่เข้ามาเป็นนักสูบหน้าใหม่

นิโคตินในบุหรี่เป็นสารเสพติดที่มีฤทธิ์เสพติดแรงที่สุดในโลก มีหลักฐานว่า ฤทธิ์เสพติดมีผลสูงสุดในผู้ที่เริ่มสูบบุหรี่เมื่ออายุน้อย

เด็กซึ่งได้สูบบุหรี่มาแล้วน้อยกว่า 100 มวน ยอมรับว่าพวกเขาอยากเลิกแต่

ท าไม่ส าเร็จ สามในสี่ของนักสูบบุหรี่วัยรุ่นได้เคยพยายามเลิกแต่ท าไม่

ส าเร็จ

ถ้าสามารถสกัดกั้นบุหรี่มิให้ถึงมือเด็กได้ เด็กก็จะเริ่มเป็นนักสูบได้ยากขึ้น

วิธีดีที่สุดที่จะยุติการติดสารนิโคตินก็คือปูองกันมิให้มีการเริ่มสูบบุหรี่

(10)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

6

6

สิ่งที่ทราบกันแล้ว

เด็กได้บุหรี่มาจากที่ใด

จากการศึกษาวิจัยส่วนใหญ่พบว่าเด็กได้บุหรี่มาไม่ยาก เด็กส่วนใหญ่ซื้อบุหรี่ได้

ง่ายโดยไม่มีอุปสรรค นอกจากนี้ยังได้บุหรี่จากแหล่งที่มิใช่การค้า เช่น ได้จาก เพื่อน, ญาติ, และอื่น ๆ (non commercial sources) ในหลายประเทศที่ยัง ไม่มีกฎหมายห้ามจ าหน่ายบุหรี่ทางเครื่องขายอัตโนมัติเด็กก็ซื้อบุหรี่ได้จาก เครื่องนี้ นอกจากนั้นเด็กส่วนใหญ่ได้บุหรี่โดยการซื้อปลีกเป็นมวน

กฎหมายห้ามขายบุหรี่ให้แก่เด็กยังมีการปฏิบัติตามในอัตราที่ต่่ามาก แม้แต่ในประเทศที่พัฒนาแล้ว อัตราการท าตามกฎหมายก็ยังอยู่ในระดับต่ า เกือบทุกประเทศ

การให้การศึกษาแก่ผู้ค้าปลีกบุหรี่อย่างเดียวไม่เกิดผล

การบังคับใช้กฎหมายอย่างแข็งขันเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ค้าปลีกได้

โดยการจ าหน่ายให้เด็กมีน้อยลง

การปฏิบัติตามกฎหมายมีผลต่อการเข้าถึงบุหรี่ของเด็กหรือไม่ ยังไม่ทราบ แน่นอน

งานวิจัยต่าง ๆ ยังไม่พบว่าการไม่ขายบุหรี่ให้เด็กสามารถลดการเข้าถึงบุหรี่

ของเด็กได้ แม้ว่าเด็กจะซื้อบุหรี่ได้ยากขึ้น10,11 ,12 สิ่งที่ควรทราบเพิ่ม

10 Forster JL, Wolfson M. Youth access to tobacco: policies and politics. Ann Rev Public Health 1998;19:203-35.

11 Lantz P, Jacobson P, Warner K, et al .-Investing in youth tobacco control: a review of smoking prevention and control strategies. Tobacco Control 1999;9:47-63.

12 Stead L, Lancaster T. A systematic review of interventions for preventing tobacco sales to minors. Tobacco Control 2000;9:169-76.

(11)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

7

7

การบังคับใช้กฎหมายจะสามารถลด availability ของบุหรี่ต่อเด็กได้

หรือไม่?

การท าตามกฎหมายห้ามจ าหน่ายบุหรี่แก่เด็กจะต้องมีระดับสูงเท่าใดจึงจะมี

การลดการเข้าถึงบุหรี่ของเด็กได้อย่างมีความหมาย ผู้วิจัยหลายคนประมาณ ว่าอัตราการท าตามกฎหมายต้องสูงถึง 90% จึงจะลดการเข้าถึงบุหรี่ของเด็ก อย่างมีความหมาย แต่ตัวเลขนี้ก็ยังไม่มีการพิสูจน์อย่างเป็นหลักวิชาการ

การลดการเข้าถึงบุหรี่สามารถป้องกันหรือยึดเวลาให้นานขึ้นได้หรือไม่ที่

เด็กจะสูบบุหรี่?

โดยลดอัตราการลองสูบบุหรี่ของเด็ก? หรือท าให้เปลี่ยนจากการสูบบางครั้งไป เป็นสูบอย่างสม่ าเสมอ?

จะจ่ากัด ‘แหล่งทางสังคม’ของบุหรี่ต่อเด็กได้อย่างไร?

กฎหมายห้ามเด็กมีบุหรี่ไว้ในครอบครอง

ชุมชนสาธารณสุขยังมีความคิดเห็นแตกต่างกันในเรื่องนี้ กฎหมายประเภทนี้มี

ผลทางบวกหรือทางลบอย่างไรต่อทัศนคติของเยาวชน, การเข้าถึงบุหรี่, หรือ การบริโภคยาสูบ?

ความพยายามที่จะลด supply กับลด demand ของบุหรี่มีความได้ผล เทียบกันได้อย่างไร?

โปรแกรมที่เป็นแบบอย่าง

ภายหลังจากที่ได้ประมวลผลของงานวิจัยต่าง ๆ แล้วรัฐควรจัดท าโปรแกรมใน เรื่องการเข้าถึงบุหรี่ของเด็กไว้ดังต่อไปนี้13

1. รัฐควรก าหนดเปูาหมายของชาติในการลดการเข้าถึงบุหรี่ของเด็ก และต้อง จัดสรรทรัพยากรเพื่อความสัมฤทธิผลของการนี้

13 Institute of Medicine. Growing Up Tobacco Free: Preventing Nicotine Addiction in Children and Youth. 1994.

(12)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

8

8

2. รัฐจะต้องมีศูนย์ทรัพยากรส าหรับการให้ข้อมูลข่าวสารและการช่วยเหลือ ทางเทคนิคในการบังคับใช้กฎหมาย

3. รัฐควรตั้งอายุต่ าสุดของการขายบุหรี่ให้ไว้ที่อายุ 18 เด็กไม่ควรถูกลงโทษ ในการซื้อหรือมีบุหรี่ไว้ในครอบครอง

4. รัฐจะต้องตั้งระบบการให้ใบอนุญาตแก่ผู้จ าหน่ายบุหรี่ ค่าใบอนุญาตและ การต่อใบอนุญาตจะต้องสูงมากพอที่จะท าให้ผู้จ าหน่ายกลัว หากถูกจับได้

ในการขายบุหรี่ให้แก่เด็ก

5. กลยุทธ์การสกัดการเข้าถึงบุหรี่ของเด็กจะต้องมีการให้การศึกษาแก่พ่อค้า บุหรี่ด้วย

6. การบังคับใช้กฎหมายควรมีระบบลงโทษที่เพิ่มขึ้นส าหรับผู้กระท าความผิด ซ้ า และรวมถึงการพัก และยึดใบอนุญาต ผู้ถูกลงโทษควรเป็นเจ้าของร้าน ไม่ใช่ลูกจ้างของร้าน

7. หน่วยงานสาธารณสุขของรัฐควรเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ ใบอนุญาตจ าหน่ายบุหรี่

8. การตรวจสอบการท าตามกฎหมายควรใช้เด็กอายุ 17-18 ปีล่อซื้อ 9. ควรห้ามเครื่องขายอัตโนมัติจ าหน่ายบุหรี่

10.ควรห้ามการหยิบซื้อบุหรี่เอง (self service display) 11.ควรห้ามขายบุหรี่ปลีกเป็นมวน

12.รัฐและชุมชนควรมีแผนระยะยาวที่จะลดจ านวนร้านค้าปลีกลง และจัดให้มี

อาณาเขต ปลอด ร้านค้าบุหรี่ เช่น รอบ ๆ โรงเรียนและไม่จ าหน่ายในร้าน ขายยา

13.ควรห้ามการขายทางไปรษณีย์

14.ควรห้ามการแจกฟรี

15.ควรมีการท าวิจัยในเรื่องต่อไปนี้

- พฤติกรรมการร่วมมือของพ่อค้าในเรื่องการไม่จ าหน่ายบุหรี่ให้แก่

เด็ก

(13)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

9

9

- แหล่งและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ยาสูบในเยาวชน

นโยบาย

การก าหนดอายุผู้ซื้อ: องค์การอนามัยโลกแนะว่าอายุต่ าสุดของผู้ซื้อบุหรี่ควรเป็น 18 ปี ปัจจุบันมีความแตกต่างกันในประเทศต่าง ๆ ตั้งแต่อายุต่ าสุดคือ 14 ใน ประเทศโคลัมเบียจนถึง 19 ในหลายมลรัฐของอเมริกา

ความขัดแย้งในข้อคิดเห็นของนักควบคุมยาสูบ

ฝ่ายสนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายห้ามขายบุหรี่ให้ผู้เยาว์

ผู้สนับสนุนเถียงว่าวิธีการนี้จะได้ผลหากมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างถูกต้อง และ สามารถปูองกัน

ในอัตราสูงมิให้เด็กซื้อบุหรี่ได้จากแหล่งการค้า14 ในการนี้จะต้องมีการท าตาม กฎหมายด้วย

“Threshold” ระดับสูง15,16,17,18,19

14 DiFranza JR. Youth access; the baby and the bath water [editorial]. Tobacco Control 2000;9:120-1.

15 Rigotti N, DiFranza J, et al. The effect of enforcing tobacco sales laws on

adolescents’ access to tobacco and smoking behavior. N Engl J Med 1997;337:1044-51.)

16 Jason L, Ji PY, Anes MD, et al. Active enforcement of cigarette control laws in the prevention of cigarette sales to minors. JAMA 1991;266:3159-61.

17 DiFranza J, Carlson RP, Caisse RE. Reducing youth access to tobacco. Tobacco Control 1992;1:58.

18 Forster J, Murray D, Wolfson M, et al. The effects of community policies to reduce youth access to tobacco. Am J Public Health 1998;88:1193-8.

19 DiFranza JR, Coleman M. Sources of tobacco for youths in communities with strong enforcement of youth access laws. Tobacco Control 2001;10:323-8.

(14)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

10

10

มีผู้เถียงว่าแม้จะไม่มีผลที่จะท าให้อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กลดลง แต่การบังคับใช้

กฎหมายอย่างเข้มแข็งก็เป็นที่นิยมของนักการเมือง เพราะปลอดภัยกว่านโยบาย ควบคุมการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะหรือการรณรงค์ผ่านสื่อ นอกจากนั้นยังเป็น กิจกรรมที่เกี่ยวพันกับสาธารณะและช่วยสร้างเครือข่ายการควบคุมยาสูบได้เป็น อย่างดี20,21

ฝ่ายคัดค้าน

ไม่มีหลักฐานทางวิชาการว่า “threshold” ดังกล่าวเป็นเท่าไรและมีจริงหรือไม่ 22

งานวิจัยชิ้นหนึ่งพบว่าแหล่งที่เด็กนักเรียนมัธยมได้บุหรี่นอกจากจะซื้อได้จากร้านค้า ปลีกแล้ว นักเรียนกลุ่มนี้ยังได้บุหรี่จากการให้เงินฝากให้ผู้อื่นซื้อ, ขอยืมบุหรี่จาก ผู้อื่น, หรือซื้อจากตู้จ าหน่ายอัตโนมัติ 23 คณะผู้วิจัยสรุปว่าการบังคับใช้กฎหมาย ห้ามขายบุหรี่ให้แก่ผู้เยาว์ที่เข้มแข็งท าให้เด็กซื้อบุหรี่ได้ยากขึ้นจริง แต่เด็กก็สามารถ ได้บุหรี่จากหนทางอื่นโดยไม่ยาก นักวิจัยกลุ่มนี้จึงสรุปว่าจะต้องบังคับใช้กฎหมาย อย่างเข้มแข็งร่วมกับขจัดแหล่งสังคมอื่น ๆ ที่ปูอนบุหรี่ให้เด็กด้วย

ข้อเสนอข้างต้นนี้เป็นนโยบายที่ไม่ดีด้วยเหตุผล 4 ประการคือ

1. ไม่มีหลักฐานใดที่แสดงว่าการบังคับใช้กฎหมายท าให้การสูบบุหรี่ของเยาวชน เปลี่ยนแปลง13ผลอันนี้ไม่น่าท าให้ประหลาดใจเลย เพราะว่าผู้สูบบุหรี่ส่วนใหญ่

เริ่ม ‘ทดลอง’ สูบเมื่ออยู่ในวัยรุ่น และน้อยคนที่สูบเป็นประจ าทุกวัน วัยรุ่นที่

20 Forster JL, Wolfson M. Youth access to tobacco: policies and politics. Ann Rev Public Health 1998;19:203-35.)

21 Myers ML. Adults versus teenagers: a false dilemma and a dangerous choice.

Tobacco Control 1999;8:336-8.

22 Fichtenberg CM, Glantz SA. Youth access interventions do not affect youth smoking.

Pediatrics (in press).

23 Jones SE, Sharp DJ, Husten CG, et al. Cigarette acquisition and proof of age among U.S. high school students who smoke. Tobacco Control 2002;11:20-5.

(15)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

11

11

เป็นกลุ่มผู้ลองสูบนี้ส่วนใหญ่สูบน้อยกว่าร้อยมวน ตลอดระยะเวลาของการ

‘ทดลอง’ นี้ 24 จึงแทบจะเป็นไปไม่ได้ที่จะหาว่าบุหรี่จ านวนน้อยนิดนี้ได้มาจาก แหล่งใด

2. การจ ากัด “แหล่งทางสังคม” ของบุหรี่เป็นเรื่องที่ปฏิบัติไม่ได้

การไปโทษเด็ก, เพื่อน และบิดามารดาของเด็กอาจน าไปสู่การออกกฎหมายที่

ลงโทษเด็กที่สูบบุหรี่หรือมีบุหรี่ไว้ในครอบครอง25 ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่พึงปรารถนา ยิ่งกว่านั้นมาตรการนี้ยังไปเอื้อประโยชน์ให้แก่บริษัทบุหรี่ โดยเฉพาะบริษัทฟิลิป มอร์ริส ซึ่งได้ท าการประชาสัมพันธ์ให้บิดามารดาเก็บบุหรี่ไว้ให้ห่างจากเด็ก26,27 3. การบังคับใช้กฎหมายไม่ส่งสื่อไปถึงวัยรุ่นในแง่ดี

เนื่องจากวัยรุ่นมีทัศนะว่าการสูบบุหรี่เป็นหนทางที่ดีในการติดต่อกับผู้อื่น28

4. ไม่มีการศึกษาวิจัยใดที่แสดงว่าการสกัดกั้นแหล่งบุหรี่จากสังคมจะท าให้มีผลใน การลดอัตราสูบบุหรี่ในวัยรุ่นได้ดีกว่าการสกัดกั้นแหล่งบุหรี่จากร้านค้า

24 American Legacy Foundation. First Look Report 3, Pathways to established smoking : results from the 1999 National Youth Tobacco Survey: American Legacy Foundation, October 2000.

25 Canadian Cancer Society. Youth tobacco possession laws policy analysis. Ottawa:

Canadian Cancer Society; September 2001.

26 Philip Morris Tobacco Company. Youth access prevention message points 2/18/00.

Philip Morris Tobacco Company. February 18, 2000. Access date: December 7, 2001.

Bates No.2071788874-8879. URL;www.pmdocs.com.actual ads Bates No.

2071788856/8857/8862/8863/8902/8903.

27 Philip Morris USA. Youth smoking prevention – access prevention: Philip Morris, USA;

2001. Access date: December 7, 2001. URL:

http://www.pmusa.com/DisplayPageWithTopic.asp ID=79.

28 Hugh Bain Research. The psychology and significant moments and peak experiences in cigarette smoking. British American Tobacco Company. November, 1993. UCSF Tobacco control Archives. Access date: April 16, 2001. Bates No. 500237804-7890.

URL:www.library.ucsf.edu/tobacco.

(16)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

12

12

ฝุายที่ไม่สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายห้ามจ าหน่ายให้แก่เด็กให้เหตุผลว่า มาตรการนี้ไม่ได้ผลและเป็นการสิ้นเปลืองทรัพยากรไปโดยใช่เหตุ เพราะผลต่อ อัตราการสูบบุหรี่, ความเจ็บปุวย และการตายจากการสูบบุหรี่จะไม่เห็นได้ในช่วง หลายทศวรรษ29 ร้ายกว่านั้นคือมาตรการนี้กลับจะให้ผลลบเพราะจะเป็นการช่วย บริษัทบุหรี่ด้วยซ้ า

ฝุายที่ไม่เห็นด้วยถึงกับเสนอให้เอามาตรการนี้ถอนออกจากโปรแกรมการควบคุม การบริโภคยาสูบเสียเลย และควรทุ่มเทด าเนินมาตรการที่พิสูจน์แล้วว่าได้ผลดี

แน่นอนในการควบคุมการสูบบุหรี่ของเยาวชน คือ - การห้ามสูบบุหรี่ในสถานที่ท างานและบ้าน30, 31 -การขึ้นภาษีบุหรี่ 21,32 ,33,34

- การรณรงค์ทางสื่อมวลชน 35 และการสื่อความในเรื่องควันบุหรี่มือสอง 36

29 Levy DT, Cummings KM, Hyland A. A simulation of the effects of youth initiation policies on overall cigarette use. Am J Public Health 2000;90:1311-4.[Abstract].

30 Chaloupka F, Pacula R. Sex and race differences in young people’ responsiveness to price and tobacco control policies. Tobacco Control 1999;8:373-7.[Abstract/Full Text].

31 (Wakefield M. Chaloupka F, Kaufman N; et al. Effect of restrictions at home, at school, and in public places on teenage smoking: cross sectional study. BMJ 2000;321:333- 7[Abstract/Full Text].

32 Chaloupka F. Grossman M. Price, tobacco control policies and youth smoking. NBER Working Paper Series. 1996;5740.

33 Wasser,am J.Manning W, Newhouse J, et al. The effects of excise taxes and

regulations on cigarette smoking. Journal of Health Economics 1991;10:43-64.[Medline].

34 US Department of Health and Human Services. Reducing tobacco use: a report of the Surgeon General, Atlanta, Georgia: US Department of Health and Human Services, Centers for Disease Control and Prevention, National Center for Chronic Disease Prevention and Health Promotion, Office of Smoking and Health, 2000.

(17)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

13

13

การบังคับใช้กฎหมายห้ามจ าหน่ายบุหรี่ให้แก่เด็กช่วยบริษัทบุหรี่ข้ามชาติได้หลาย ประการ ในสหรัฐฯการฝึกอบรมผู้ค้าปลีกได้ช่วยให้บริษัทบุหรี่สร้างเครือข่ายผู้ค้า ปลีกบุหรี่ขึ้นเพื่อปลุกระดมให้เป็นแนวร่วมในการคัดค้านการออกกฎระเบียบ ควบคุมยาสูบ37 ,38,39 เมื่อปี 2535 สถาบันยาสูบ (องค์กรบังหน้าของกลุ่มบริษัท บุหรี่ข้ามชาติ) ได้ใช้โครงการ “It’s the Law” อบรมผู้ค้าปลีกให้เรียกดูหลักฐาน อายุผู้ซื้อ แล้วจัดตั้งเครือข่ายพ่อค้าขายปลีกและกลุ่มร้านสะดวกซื้อขึ้นเพื่อเป็นหู

เป็นตาติดตามความเคลื่อนไหวของทางการในการออกกฎระเบียบใหม่เพื่อควบคุม ยาสูบ40 ความเคลื่อนไหวนี้ได้ปรากฏชัดเจนในเอกสารลับของบริษัทฟิลิป มอร์ริส 41

35 Bauer U, Johnson T, 2000 Florida Youth Tobacco Survey results. Tallahassee, Florida:

Florida Department of Health, Bureau of Epidemiology; 1 March 2000 www.State.fl.us/tobacco.

36 Glantz SA, Jamieson P. Attitudes toward secondhand smoke, smoking, and quitting among young people. Pediatrics 2000;106:E82.[Medline].

37 Malmgren K, Chicolte S. Draft local program. Tobacco Institute. November 30, 1992.

Philip Morris Documents Website. Access date: December 7, 2001. Bates

No.2023959567-9579. URL: www.pmdocs.com.cover letter is Bates No. 2023959566.

38 Merlo E. No title [Speech given by Ellen Merlo]. Philip Morris Tobacco Company.

October 24, 1994. Access date: November 13, 2001. Bates No. 2040236685-6706. URL:

www.pmdocs.com.

39 Walls T, Daragan K, Pontarelli J. CAC presentation #4. Philip Morris Tobacco Company.

July 8, 1994. Access date: December 6, 2001. Bates No. 2041183751-3790. URL:

www.pmdocs.com.

40 Malmgren K, Chicolte S. Draft local program. Tobacco Institute. November 30, 1992.

Philip Morris Documents Website. Access date: December 7, 2001. Bates

No.2023959567-9579. URL: www.pmdocs.com.cover letter is Bates No. 2023959566.

41 Merlo E. No title [Speech given by Ellen Merlo]. Philip Morris Tobacco Company.

October 24, 1994. Access date: November 13, 2001. Bates No. 2040236685-6706. URL:

www.pmdocs.com.

(18)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

14

14

บริษัทบุหรี่สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายห้ามจ าหน่ายบุหรี่ให้แก่เด็กอย่าง กว้างขวาง 42 เพราะว่าเป็นการเน้นการสื่อความของอุตสาหกรรมยาสูบที่ว่า “การ สูบบุหรี่เป็นเรื่องของผู้ใหญ่” 43 เด็กทุกคนต้องการเป็นผู้ใหญ่ เมื่อได้ยินประโยคนี้

จึงกระโดดเข้าเป็นลูกค้าของพ่อค้าเจ้าเล่ห์ทันที ด้วยเหตุนี้พ่อค้าแห่งความตาย จึง ประชาสัมพันธ์โครงการมิให้เด็กเข้าถึงบุหรี่ด้วยค าขวัญต่าง ๆ เช่น “It’s the Law คือ “เป็นเรื่องของกฎหมายนะ จึงขายบุหรี่ให้น้องหนูไม่ได้” “We Card” –คือ

“เราเป็นห่วงคุณ จึงขอดูบัตรประจ าตัวสักหน่อย”, และ .”Action Against Access” หรือ .ปฏิบัติการต่อต้านการเข้าถึง” โปรแกรมเหล่านี้ได้ช่วยให้บริษัท บุหรี่ต่อต้านกฎหมายควบคุมยาสูบที่ได้ผลและโปรแกรมการให้ความรู้แก่ประชาชน โดยสร้างภาพลวงตาขึ้นว่าตนได้ก าลังท าประโยชน์อยู่ และสร้างเสริมชื่อเสียงให้

ตนเอง บริษัทฟิลิป มอร์ริส กล่าวไว้ในเอกสารของตนในเรื่องการเข้าถึงบุหรี่ของเด็ก ว่า : “If we can frame proactive legislation or other kinds of actions on the Youth Access issue, if we can get out in front on this issue now, if we can seize the moral high ground, we will not only be doing the right thing, we will be protecting our industry for decades to come 44

42 Levy C. Smoking by young people. Philip Morris USA also wants to reduce incidence of smoking by young people. BMJ 1999;319:1268-9.

43 Glantz SA. Preventing tobacco use – the youth access trap [editorial]. Am J Public Health 1996;86:156-8.

44 JGR. [document sent from Ellen Merlo]. WIC/JIM/MES Talking points to key customers on youth issue. Philip Morris Tobacco Company. January 19, 1995. Access date:

December 6, 2001. Bates No. 2042761477-1486. URL: www..pmdocs.com.cover letter is 2042761476. [emphasis in original].

(19)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

15

15

USA สหรัฐอเมริกา

ในปี 2011 ส านักงานอาหารและยาสหรัฐได้ท าสัญญากับ 38 มลรัฐ เพื่อให้จัดจ้างเจ้าหน้าที่ 266 คน ด าเนินการตรวจสอบจับการขายบุหรี่ให้เด็ก โดยใช้งบประมาณ 24 ล้านเหรียญ

การตรวจสอบนี้จะมุ่งที่การพิสูจน์อายุของผู้ซื้อ, การห้ามจ าหน่ายบุหรี่

ปลีกเป็นมวน, การห้ามจ าหน่ายบุหรี่ชูรสและบุหรี่ขนมหวาน และการห้าม จ าหน่ายโดยบริการตนเองและเครื่องจ าหน่ายอัตโนมัติ

ผลของตรวจสอบนี้จะประกาศในเว็บไซต์ของส านักงาน อ.ย.45

45 FDA NEWS RELEASE. FDA acts to protect children from : illegal tobacco sales.

November 10, 2011.

(20)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

16

16

(21)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

17

17

(22)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

18

18

(23)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

19

19

(24)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

20

20

(25)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

21

21

(26)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

22

22

(27)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

23

23

(28)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

24

24

(29)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

25

25

(30)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

26

26

(31)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

27

27

2.2 การห้ามขายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้แก่บุคคลอายุต่ ากว่า 21 ปี

ปัจจุบันได้มีการออกกฎห้ามขายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้แก่ผู้ที่มีอายุสูงขึ้นเป็น 21ปี

แล้ว

เหตุผลส าคัญก้คือว่าวัยรุ่นเป็นเวลาของการทดลองสิ่งใหม่ในชีวิต หากการทดลอง กระท าต่อผลิตภัณฑ์ยาสูบก็จะเป็นเรื่องร้ายแรงถึงชีวิต วัยรุ่นเป็นเวลาที่สมอง ก าลังเติบโต ดังนั้นผู้ที่มีอายุระหว่าง 15 และ 17เป็นกลุ่มที่เสี่ยงมากที่สุดที่จะติด บุหรี่ ระหว่าง 18 และ 21 เป็นช่วงเวลาที่การทดลองสูบบุหรี่จะยุติลงและการสูบ บุหรี่จริงจังเริ่มขึ้น

เมื่อมีนาคม 2015 Institute of Medicine พบว่าการก าหนดอายุที่ไม่ขายบุหรี่

ขึ้นเป็น 21 จะมีผลให้มีการตายลงก่อนวัยอันควร น้อยลง 250,000 คน และการ ตายจากมะเร็งปอดลดลง 50,000 ราย ยิ่งกว่านั้นอัตราการสูบบุหรี่ของประชากร อเมริกันจะลดลง 12 เปอรเซนต์46

46 Ana-Marija Dolaskie. Discuss: Should We Raise The Minimum Age On Smoking?

American Council on Science and Health. October 30, 2015.

(32)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

28

28

UNITED KINGDOM สหราชอาณาจักร

1 มีนาคม 2007 สกอตแลนด์ห้ามเด็กอายุต่ ากว่า 18 ปี ซื้อบุหรี่(เพิมจากเดิม อายุ 15ปี)

1 ตุลาคม 2007 อังกฤษและเวลส์ ห้ามเด็กอายุต่ ากว่า 18 ซื้อบุหรี่ (เพิ่มจาก เดิมอายุ 16 ปี)47

UNITED STATES OF AMERICA สหรัฐอเมริกา

เมืองและมลรัฐที่ออกกฎห้ามจ าหน่ายบุหรี่ให้แก่ผู้มีอายุต่ ากว่า 21 คือ:

 นครนิวยอร์ค48 - 18 พฤษภาคม 2014

 เมือง ชิคาโก49 – 1 กรกฎาคม 2016

 มลรัฐฮาวาย50 -1 มกราคม 2016 เป็นมลรัฐแรก

 มลรัฐแคลิฟอรเนีย51 -9 มิถุนายน 2016 เป็นมลรัฐที่ 2

47 Wintour P. Legal age for buying tobacco raised to 18 from October 1, The Guardian 1.

January 2007.

48 Anon. NYC to raise minimum age for buying cigarettes from 18 to 21. CBC News October 30, 2013.

49 Moreno N. Minimum age to buy cigarettes in Chicago increases to 21 starting Friday.

Chicago Tribune June 30, 2016.

50 Zhao C. Hawaii becomes first state to raise legal smoking age to 21 PBS News Hour June 20, 2015.

51 Aliferis L. California Raises Age Of Tobacco Purchase To 21 And Tightens Vaping Rules.

NPR May 5, 2016.

(33)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

29

29

2.3 การห้ามจัดวางเพื่อบริการตนเอง (Self-service display)

ในต่างประเทศเช่นสหรัฐฯ บริษัทบุหรี่ได้ตกลงกับร้านค้าปลีกให้มีการ จัดวางบุหรี่ให้ผู้ซื้อหยิบเองแล้วไปจ่ายเงิน กลวิธีนี้บริษัทบุหรี่ต้องการให้มีการลัก ขโมยโดยเด็กด้วย และบริษัทบุหรี่จะชดใช้ส่วนที่ถูกฉกฉวยนี้ให้แก่ร้านค้าปลีก นอกจากนี้บริษัทบุหรี่ยังจัดให้มีการวางบุหรี่ไว้ปะปนกับขนมหวานและของขบ เคี้ยวต่าง ๆ ด้วย รายงานวิจัยชิ้นหนึ่งพบว่าการวางบุหรี่ให้ไกลออกไปจนเด็ก เอื้อมไม่ถึงเป็นการย้ าเนื้อความที่จะสื่อว่าผลิตภัณฑ์ยาสูบไม่อยู่ในตระกูล เดียวกัน กับขนมหวานและของขบเคี้ยวต่างๆ

เมื่อเดือนมิถุนายน 2002 สภาเมือง Beaverton ของมลรัฐ Oregon ได้ผ่าน ข้อบัญญัติห้ามจ าหน่ายบุหรี่ซองที่บรรจุน้อยกว่า 20 มวน และห้ามการจ าหน่าย บุหรี่โดยบริการตนเอง ร้านจ าหน่ายบุหรี่จะต้องตั้งบุหรี่ไว้หลังเคาวเตอร์โดยผู้ซื้อ เข้าไม่ถึง ผู้ฝุาฝืนจะต้องโทษปรับ 300 เหรียญ52

52 Anon. Oregon City bans self – service cigarette sales. Tobacco Retailer August 2002.

(34)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

30

30

2.4 การจ ากัดหรือการห้ามการจ าหน่ายบุหรี่โดยเครื่องขายอัตโนมัติ

(Vending machines)

เครื่องขายบุหรี่

อัต โ น มัติ ที่ มี อยู่

ทั่วไป

ศูนย์ควบคุมโรคของสหรัฐได้สรุปเรื่องการจ าหน่ายบุหรี่โดยเครื่องขายอัตโนมัติ

ใน Morbidity and Mortality Weekly Report (MMWR) ฉบับวันที่ 2 กันยายน 1994 ว่าเครื่องขายบุหรี่อัตโนมัติควร

จะห้ามทั้งหมดหรือจ ากัดอย่างมาก การศึกษานี้ยังพบว่า :

เครื่องจ าหน่ายบุหรี่อัตโนมัติเป็นหนทางที่จะซื้อบุหรี่ได้โดยไม่มีใครเห็น หรือทราบ และเป็นแหล่งส าคัญของบุหรี่ส าหรับเยาวชน

เครื่องที่ได้ส ารวจ ร้อยละ 51 ตั้งอยู่ในที่ซึ่งเด็กเข้าถึงได้

ข้อบัญญัติขององค์กรท้องถิ่นที่จ ากัดการเข้าถึงเครื่องอัตโนมัติโดยเยาวชน มีความล้มเหลวในการปูองกันการจ าหน่ายให้เด็ก53

การศึกษาในประเทศอิตาลี พบว่า เยาวชนอายุระหว่าง 13-17 ปี 35% ซื้อ บุหรี่จากเครื่องขายอัตโนมัติ โดยรวมเครื่องขายอัตโนมัติเป็นแหล่งขายให้

53 MMWR-Minor’s Access to Cigarettes Vending Machines – Texas 43(34); 625-627, September 02, 1994

(35)

การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ การควบคุมการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบ

31

31

เยาวชน 15% ด้วยเหตุดังกล่าวรัฐบาลจึงออกกฎให้ปิดเครื่องขายระหว่าง 7 น. ถึง 23 น.54

ที่มลรัฐวิคตอเรีย ของประเทศออสเตรเลีย การแก้ไขกฎหมาย Tobacco Act 1987 มีผลใช้บังคับ 1 มีนาคม 2006 จ ากัดสถานที่ตั้งเครื่องจ าหน่ายบุหรี่

อัตโนมัติให้มีแต่เฉพาะในบาร์, คาสิโน, และร้านจ าหน่ายเครื่องดื่มบรรจุขวด55 22 ประเทศในยุโรปห้ามหรือไม่ เคยมีการจ าหน่ายบุหรี่ด้วยเครื่องจ าหน่าย อัตโนมัติ56

ในประเทศอังกฤษการส ารวจครั้งล่าสุดเมื่อปี 2006 พบว่า 17% ของเด็กอายุ

11 ถึง 15 ปี ได้บุหรี่จากเครื่องขายอัตโนมัติ57

54 Pacifici R, Zuccaro PG, Gallus S., et al. Use of cigarette vending machines by minors in Italy. Letter to the Editor, International J.Epidemiol. Vol 33, No.2, p.432.

55 Information for premises with cigarette vending machines. Victorian Government Health Information, State Government of Victoria, Australia, Department of Human Services.

56 The European Tobacco Control report, WHO 2007.

57 Smoking, drinking and drug use among young people in England in 2006. The Information Center for Health & Social Care, 2007.

Referensi

Dokumen terkait

Pengelasan adalah penyambungan dua logam atau logam paduan dengan cara memberikan panas baik diatas atau dibawah titik cair logam tersebut, baik dengan atau tanpa tekanan serta

Berangkat dari latar belakang ini penulis dalam tulisan memiliki tujuan untuk mengkaji dan menganalisis sikap kebijakan luar negeri Indonesia yang cenderung netral terhadap