• Tidak ada hasil yang ditemukan

View of การบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

N/A
N/A
Nguyễn Gia Hào

Academic year: 2023

Membagikan "View of การบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28"

Copied!
12
0
0

Teks penuh

(1)

การบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

An Administration of Student Affairs Based on the Four Principles of Kindly Treatment in Secondary Schools in Maha Chanachai District,

Yasothon Province under the Secondary Educational Service Area Office 28

ศตวรรษ กฤษณา1, กฤตยากร ลดาวัลยI2 และวิมลพร สุวรรณแสนทวี3 Sattawat Kritsana1, Kittayakorn Ladawan2 and Vimonporn Suwansaenthavee3 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตรอยเอ็ด1,2,3 Mahamakut Buddhist University Roi Et Campus1,2,3 Email : lang0621413701@gmail.com

บทคัดยLอ

บทความนี้มีวัตถุประสงคI 1)เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลัก สังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

มัธยมศึกษา เขต 28 2)เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลัก สังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

เขต 28 จําแนกตามเพศ อายุ ตําแหนgง และประสบการณIการทํางาน 3)เพื่อศึกษาขอเสนอแนะการ บริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 กลุgมตัวอยgางที่ใชในการวิจัย คือ ผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ คณะกรรมการบริหาร และครูผูสอน จํานวน 90 คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวม ขอมูลเปkนแบบสอบถามมาตราสgวนประมาณคgา 5 ระดับ สถิติที่ใชวิเคราะหIขอมูลไดแกg ความถี่ รอยละ คgาเฉลี่ย สgวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบคgาที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (F-test) ผลการวิจัยพบวgา 1)สภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ4 ในโรงเรียน มัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร โดยรวมอยูgในระดับมาก เรียงลําดับจากดานที่มีคgาเฉลี่ย สูงสุดไปต่ําสุด ไดแกg ดานการวางแผนงานกิจการนักเรียน ดานการสgงเสริมพัฒนาให นักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ดานการดําเนินงานระบบดูแลชgวยเหลือนักเรียน ดานการประเมินผลการดําเนินงาน กิจการนักเรียน ดานการดําเนินการสgงเสริมประชาธิปไตย ในโรงเรียน และดานการบริหารกิจการนักเรียน

(2)

2)การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร จําแนกตามเพศและประสบการณIการทํางาน ไมgแตกตgางกัน สgวนจําแนกตามตําแหนgงแตกตgางกันอยgางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจําแนกตาม

ระดับอายุ ดานการบริหารกิจการนักเรียน แตกตgางกันอยgางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดานอื่นๆ ไมgแตกตgางกัน3)ขอเสนอแนะการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา

อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร ควรจัดทําขอมูลและจัดทําแผนงานกิจการนักเรียนเปkนรายลักษณIอักษร แตgงตั้งผูรับผิดชอบในการปฏิบัติตามแผนประสานงานอยgางตgอเนื่องประเมินและติดตามผลการปฏิบัติทํา คูgมือนักเรียนสgงเสริมพัฒนาความประพฤติและระเบียบวินัยเปkนประจําและตgอเนื่องรับฟtงความคิดเห็นของ นักเรียน ประเมินผลงานกิจการนักเรียนโดยมีหลักฐานตรวจสอบได

คําสําคัญ : การบริหารงานกิจการนักเรียน; หลักสังคหวัตถุ 4; โรงเรียนมัธยมศึกษา

ABSTRACT

The objectives of the research article were 1) to study condition of the management of student affairs based on the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawatthu 4) in Secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28 2) to compare the management of

student affairs based on the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawattu 4) in Secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary

Educational Service Area Office 28, divided by gender, age, position and work experience 3) to study recommendations for the management of student affairs based on the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawattu 4) in Secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28, the samples used in the research were from School Directors, Deputy Directors, The Executive Committee and Teachers, 90 people. The statistics used in data analysis comprised percentage, frequency, mean, standard deviation, t-test (Independent samples) and F-test (One way ANOVA).

The research results showed that: 1.The condition of student affairs administration according to the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawatthu 4) in Secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational

(3)

Service Area Office 28, overall was at a high level, ranked the aspects with the highest average to the lowest, namely , planning student affairs in promoting and developing students to have discipline, morality, operating ethics, student care system, in the evaluation of student affairs, the promotion of democracy n schools and in the administration of student affairs. 2. Comparison of opinion levels of student affairs administration according to the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawatthu 4) in Secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28, classified by gender and work experience was the same. According to the position, the difference was statistically significant at the level 0.5 and classified by age in student affairs administration were statistically significant at the level 0.5. Other aspects were not different.3. Suggestion for theadministration of student affairs according to the Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawattu4) in Secondary schools in Mahachanachai District, Yasothon Province, under Secondary Educational Service Area Office 28, should prepare information and prepare a written student affairs plan, appoint a person responsible for the implementation od the plan. Implement the performance appraisal plan , coordinate with various departments within the school such as parent networks, Youth department responsible, continuous coordination, evaluate and monitor of performance. Student handbooks should be developed on the rules, School regulation.

Organize regular and ongoing behavioral and disciplinary promotion activities. A written implementation Committee should be established in writing. Students’ opinions should be assessed. Student affairs should be evaluated with evidence to be verified.

Keywords : Student Affairs Administration; Four Principles of Kindly Treatment (Sungkhahawattu4); Secondary School

1. ความสําคัญและที่มาของปUญหาที่ทําการวิจัย

การปฏิรูปการศึกษาไดใหความสําคัญกับการดําเนินการ 5 ดาน คือ การปฏิรูประบบการศึกษา ทั้งในระบบ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย การปฏิรูปการเรียนรู การปฏิรูประบบการบริหาร และการจัดการศึกษา การปฏิรูปครู คณาจารยI และบุคลากรทางการศึกษา และการปฏิรูประบบทรัพยากร

และการลงทุนเพื่อการศึกษา การปฏิรูปการศึกษาดําเนินการในโรงเรียนมาระยะหนึ่ง มีความหลากหลาย

(4)

ทั้งดานมาตรฐานและคุณภาพ โรงเรียนที่มีคุณภาพสูงมักจะอยูgในเมืองหลวงหรือเมืองใหญgๆ สgวนโรงเรียน ในชนบทมีจํานวนมาก หgางไกลมีความขาดแคลนในทุกๆ ดาน สgงผลใหการปฏิรูปการศึกษาเปkนไปอยgางเชื่องชา เด็กและเยาวชนที่มาจากครอบครัวที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดีและอยูgในเมือง มีโอกาสไดเขาเรียนในโรงเรียน ดีมีคุณภาพ มากกวgาเด็กที่มาจากครอบครัวยากจน และอาศัยอยูgในชนบทสภาพดังกลgาว เปkนอุปสรรคตgอการ สรางสังคมแหgงการเรียนรูและระบบเศรษฐกิจ ฐานความรู กgอใหเกิดชgองวgางทางสังคม (สํานักงานปฏิรูป การศึกษา, 2545)

องคIประกอบสําคัญของการบริหารงานกิจการนักเรียน คือ คน และงาน งานเปkนภารกิจที่จะตอง ดําเนินการใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล แตgตองอาศัยคนที่มีความรูความสามารถเหมาะสมเพียงพอ ในการปฏิบัติงานหนาที่ตgางๆ งานที่ดําเนินการจําเปkนตองมีการกําหนดวัตถุประสงคIเป•าหมาย และจัด ระบบงานการวางแผนการควบคุม กํากับติดตามและประเมินผล ซึ่งรวมเรียกวgา “การบริหาร” สําหรับ “คน”

จําเปkนตองดําเนินการพัฒนานักเรียนใหสอดคลองพระราชบัญญัติการศึกษาแหgงชาติ พ.ศ. 2542 แกไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 เพื่อใหภารกิจของหนgวยงานหรือองคIกรประสบ ผลสําเร็จตามวัตถุประสงคIที่ตั้งไวสgวนประกอบนี้เรียกวgา “การบริหารงานกิจการนักเรียน” ซึ่งกลgาวไดวgาการ บริหารงานทรัพยากรมนุษยIที่เกี่ยวของกับนักเรียน พัฒนานักเรียนตามศักยภาพ เปkนกระบวนการที่ผูบริหาร ใชศิลปะและกลยุทธIดําเนินการกิจกรรมเพื่อเสริมสรางทักษะชีวิตใหกับนักเรียน พัฒนานักเรียนตามความถนัด ศักยภาพผูเรียน ตลอดจน สgงเสริมนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ใหมีความเปkนเลิศดานตgางๆ โดยมุgงเนน การจัดการศึกษาในศตวรรษ ที่ 21 สูgมาตรฐานสากล ประกอบกับการบูรณการศาสตรIพระราชาในการจัดการ เรียนการสอน จัดหองเรียนใหเปkนหองเรียนคุณภาพ จัดสภาพแวดลอมใหเหมาะแกgการเรียนรู มีจัดการ เรียนรูที่หลากหลาย มีการบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนในกิจกรรมเพื่อเสริมทักษะชีวิตใหกับ นักเรียน การสgงเสริมนักเรียนใหมีสgวนรgวมในการจัดกิจกรรมของโรงเรียน สgงเสริมกิจกรรมเกี่ยวกับ ประชาธิปไตยในสถานศึกษา กิจกรรมเพื่อสgงเสริมความมีวินัยของนักเรียน ที่สอดคลองกับคุณลักษณะ อันพึงประสงคI 8 ประการ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ประกอบดวย 1)รักชาติ ศาสนI กษัตริยI 2)ซื่อสัตยIสุจริต 3)มีวินัย 4)ใฝ†เรียนรู 5)อยูgอยgางพอพียง 6)มุgงมั่นในการทํางาน 7)รักความเปkนไทย 8)มีจิตสาธารณะสืบสานประเพณี และใหนักเรียนไดแสดงออกถึงความสามารถ ความถนัดของนักเรียนเอง โดยมุgงเนนพัฒนาผูเรียนใหเต็มศักยภาพ มีการประสานความรgวมมือจากหนgวยงานภายนอกเพื่อพัฒนา ศักยภาพของนักเรียน จัดระบบดูแลชgวยเหลือนักเรียน ยกยgองเชิดชูเกียรติใหกับนักเรียน ที่ความเกgงความดี

มอบเกียรติบัตรนักเรียนที่สรางชื่อเสียงใหกับโรงเรียนดานตgางๆ เชgน ดานดนตรี ดานกีฬา เพื่อเปkนขวัญกําลังใจ ใหกับนักเรียนในการทําความดีตgอไป (สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28, 2562)

การบริหารตามกรอบมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2552 (ฉบับปรับปรุง 2560) นโยบายและจุดเนนของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ที่สอดคลองกับยุทธศาสตรI

(5)

และจุดเนนของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และกระทรวงศึกษาธิการ ไดแบgงการบริหาร

เปkน การประเมินการดําเนินงานของสถานศึกษาตามขอบขgายและภารกิจการบริหารโรงเรียน ไดแกg การบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป จํานวน 88 รายการ

ประกอบดวยเรื่องตgางๆ ดังนี้ (1)งานแผนงานและการประกันคุณภาพ ประกอบดวย 6 ภารกิจ 6 รายการ (2) งานวิชาการ ประกอบดวย 7 ภารกิจ 26 รายการ (3)งานกิจการนักเรียน ประกอบดวย 6 ภารกิจ 13 รายการ

(4)งานบุคคล ประกอบดวย 2 ภารกิจ 5 รายการ (5)งานธุรการ ประกอบดวย 4 ภารกิจ 8 รายการ (6)งานการเงินและพัสดุ ประกอบดวย 4 ภารกิจ 13 รายการ (7)งานบริการอาคารสถานที่และสภาพแวดลอม

ประกอบดวย 10 ภารกิจ 12 รายการ (8)งานชุมชนและภาคีเครือขgาย ประกอบดวย 5 ภารกิจ 5 รายการ

โรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม และโรงเรียนตระกูลประเทืองวิทยาคม เปkนหนgวยงานสถานศึกษา ที่อยูgภายใตการกํากับดูแลของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 สํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รับผิดชอบการจัดการการศึกษา ขั้นพื้นฐานระดับมัธยมศึกษา ของพื้นที่บริการในอําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร โดยโรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 28 (จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดยโสธร) รวมทั้งสิ้น จํานวน 83 โรงเรียน (สํานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28, 2563)

จากเหตุผลดังกลgาว งานกิจการนักเรียนเปkนสgวนหนึ่งในการดําเนินงานตามขอบขgายสถานศึกษา ที่สอดคลองกับยุทธศาสตรIและจุดเนนของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีการดําเนินการที่เกี่ยวกับกับหลายฝ†าย ผูวิจัยจึงมีความสนใจเกี่ยวกับการบริหารงานกิจการนักเรียน ตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 เพื่อเปkนการพัฒนางานที่สอดคลองกับคุณธรรมจริยธรรม สูgเป•าหมาย ในการพัฒนางาน บูรณาการโดยยึดหลักธรรม สังควัตถุ 4 ประกอบดวย ทาน ปˆยวาจา อัตถจริยา และ

สมานัตตา เปkนหลักธรรมที่เปkนเครื่องยึดเหนี่ยวน้ําใจของผูอื่น ผูกไมตรี เอื้อเฟ‰Šอ เกื้อกูล หรือเปkนหลักการ สงเคราะหIซึ่งกันและกัน เปkนหลักธรรมในการครองใจคน บูรณาการการพัฒนาดานการบริหารงานกิจการ

นักเรียน เพื่อใหการเกิดปtญหาและอุปสรรคในการทํางานและการประสานงานใหนอยลงหรือหมดไป เกิดความสัมพันธIอันดีระหวgาง บาน วัด โรงเรียน และหนgวยงานที่เกี่ยวของในการพัฒนาเยาวชน อีกทั้ง ยังไดนําขอมูลเพื่อนําไปปรับปรุงการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับการบริหารงานกิจการนักเรียน ใหเกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลตgอไป

2. วัตถุประสงคVของการวิจัย

2.1 เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียน มัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

(6)

2.2 เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลัก สังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียน มัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จําแนกตาม เพศ อายุ ตําแหนgง และประสบการณIการทํางาน

2.3 เพื่อศึกษาขอเสนอแนะการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลัก สังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียน มัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

3. ประโยชนVที่ไดYรับจากการวิจัย

3.1 ทําใหทราบขอมูลเกี่ยวกับสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลัก สังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียน มัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

3.2 ทําใหทราบขอเสนอแนะการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลัก สังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียน มัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

3.3เปkนขอมูลสารสนเทศสําหรับใชในการปรับปรุงการการบริหารงานกิจการนักเรียน ใน โรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

4. วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเรื่อง การบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลัก สังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 กลุgมตัวอยgาง ที่ใชในการวิจัย ไดแกg บุคลากรโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงาน

เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ไดแกg ผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ คณะกรรมการบริหาร และครูผูสอน โรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคมและโรงเรียนตระกูลประเทืองวิทยาคม ซึ่งกําหนดขนาดของ กลุgมตัวอยgางที่ใชในการวิจัยจากตารางสําเร็จรูปของเครจซี่ มอรIแกน (Krejcie& Morgan, 1970) จํานวน

76 คน และเลือกกลุgมตัวอยgางแบบเจาะจง(Purposive sampling) หรือ Judgement sampling (สํานักนโยบายและวิชาการสถิติ สํานักงานสถิติแหgงชาติ, 2552)เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

เปkนแบบสอบถามมาตราสgวนประมาณคgา 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา เทgากับ 0.67-1.00 คgา ความเชื่อมั่นเทgากับ 0.89 สถิติที่ใชในการวิเคราะหIขอมูล ไดแกg ความถี่ คgารอยละ คgาเฉลี่ย และสgวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใชในการสอบสมมติฐาน ไดแกg การทดสอบคgาที(t-test) และการทดสอบความ แปรปรวนทางเดียว(F-test)

(7)

5. ผลการวิจัย

5.1 สภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

ตารางที่ 1 แสดงคgาเฉลี่ย (X ) และสgวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สภาพการบริหารงานกิจการนักเรียน

ตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยรวมและรายดาน

การบริหารงานกิจการนักเรียน ตามหลักสังคหวัตถุ 4

ระดับการปฏิบัติ

X S.D. อันดับ แปลผล

1) ดานการวางแผนงานกิจการนักเรียน 4.12 0.59 1 มาก

2) ดานการบริหารกิจการนักเรียน 3.65 0.72 6 มาก

3) ดานการสgงเสริมพัฒนาใหนักเรียนมีวินัย คุณธรรมจริยธรรม 3.98 0.61 2 มาก 4) ดานการดําเนินงานระบบดูแลชgวยเหลือนักเรียน 3.91 0.64 3 มาก 5) ดานการดําเนินการสgงเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน 3.82 0.63 5 มาก 6) ดานการประเมินผลการดําเนินงานกิจการนักเรียน 3.86 0.55 4 มาก

รวม 3.89 0.53 - มาก

จากตารางที่ 1 พบวgา สภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียน มัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยรวมอยูgในระดับมาก เรียงลําดับจากดานที่มีคgาเฉลี่ยสูงสุดไปต่ําสุด ไดแกg ดานการวางแผนงานกิจการ นักเรียน ดานการสgงเสริมพัฒนาให นักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ดานการดําเนินงานระบบดูแล ชgวยเหลือนักเรียน ดานการประเมินผลการดําเนินงานกิจการนักเรียน ดานการดําเนินการสgงเสริม ประชาธิปไตยในโรงเรียน และดานการบริหารกิจการนักเรียน เมื่อพิจารณาเปkนรายดานปรากฏดังนี้

1. ดานการวางแผนงานกิจการนักเรียน โดยรวมอยูgในระดับมาก เรียงลําดับจากขอที่มี

คgาเฉลี่ยสูงสุดไปต่ําสุด ไดแกg มีการจัดทําแผนงานและโครงการเพื่อตอบสนองความตองการของผูมีสgวนได สgวนเสีย(ทาน) โรงเรียนมีการรวบรวมขอมูลจากกลุgมบริหารงานตgางๆ ในการจัดทําคูgมือนักเรียน ครู และ ผูปกครอง(อัตถจริยา) มีการเผยแพรgระเบียบขอบังคับของกิจการนักเรียน(ปˆยวาจา)โรงเรียนมีการรับฟtง ความคิดเห็นของผูมีสgวนไดสgวนเสียในการจัดทําระเบียบขอบังคับตgางๆ (ปˆยวาจา) และ นักเรียนสามารถ ปฏิบัติตนตามระเบียบขอบังคับ ตามที่สถานศึกษากําหนด(สมานัตตตา)

(8)

2. ดานการบริหารกิจการนักเรียน โดยรวมอยูgในระดับมาก เรียงลําดับจากขอที่มีคgาเฉลี่ย

สูงสุดไปต่ําสุด ไดแกg มีการประสานสgงเสริมและแกไขปtญหานักเรียนในสถานศึกษาอยgางเปkนระบบ (อัตถจริยา)มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายและเปkนไปตามความตองการของนักเรียน(ทาน) มีการกําหนด

ความรับผิดชอบและขอบขgายการทํางานตgางๆ ในงานกิจการนักเรียน(สมานัตตตา) มีการประสานสgงเสริม และแกไขปtญหานักเรียนกับหนgวยงานภายนอกสถานศึกษาอยgางตgอเนื่อง(สมานัตตตา) และมีการสgงเสริม และจัดกิจกรรมที่เปkนประโยชนIตgอนักเรียน(อัตถจริยา)

3. ดานการสgงเสริมพัฒนาใหนักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม โดยรวมอยูgในระดับมาก เรียงลําดับจากขอที่มีคgาเฉลี่ยสูงสุดไปต่ําสุด ไดแกg มีการจัดกิจกรรมที่สgงเสริมการใชเวลาวgางใหเกิด ประโยชนIของนักเรียน(ทาน)มีการจัดกิจกรรมที่สgงเสริมตgอความรับผิดชอบตgอสังคม(จิตอาสา)(อัตถจริยา)

มีการยกยgองใหกําลังใจแกgนักเรียนผูประพฤติดี(ทาน) มีการจัดกิจกรรมสgงเสริมดานคุณธรรมจริยธรรม ที่สอดคลองกับคุณลักษณะอันพึงประสงคI 8 ประการ(ทาน) และ มีการจัดกิจกรรมสgงเสริมพัฒนาความ

ประพฤติและระเบียบวินัยของนักเรียน(ทาน)

4. ดานการดําเนินงานระบบดูแลชgวยเหลือนักเรียน โดยรวมอยูgในระดับมาก เรียงลําดับจาก ขอที่มีคgาเฉลี่ยสูงสุดไปต่ําสุด ไดแกg มีการรูจักนักเรียนเปkนรายบุคคล(ปˆยวาจา)มีการคัดกรองนักเรียน และ แบgงกลุgมนักเรียน(อัตถจริยา)มีการออกเยี่ยมบานนักเรียนโดยคุณครูที่ปรึกษา(ทาน) มีการสgงเสริมและ พัฒนาคุณภาพนักเรียน(อัตถจริยา)มีการสgงตgอนักเรียนภายในและภายนอกสถานศึกษาในกรณีที่นักเรียน ตองการความชgวยเหลืออยgางตgอเนื่อง(สมานัตตตา) และมีการป•องกันและแกไขปtญหานักเรียน(อัตถจริยา)

5. ดานการดําเนินการสgงเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียนโดยรวมอยูgในระดับมาก เรียงลําดับ จากขอที่มีคgาเฉลี่ยสูงสุดไปต่ําสุด ไดแกg โรงเรียนเปkนแบบอยgางในการสgงเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา ใหกับโรงเรียนอื่นๆ (สมานัตตตา) มีการรับฟtงความคิดเห็นของนักเรียนและใหนักเรียนแสดงออกทาง การเมืองอยgางเหมาะสม(ปˆยวาจา)มีการจําลองรูปแบบการเลือกตั้งใหกับนักเรียน(ทาน) และมีการจัด บรรยากาศของประชาธิปไตยในสถานศึกษา(ทาน)

6. ดานการประเมินผลการดําเนินงานกิจการนักเรียน โดยรวมอยูgในระดับมาก เรียงลําดับ

จากขอที่มีคgาเฉลี่ยสูงสุดไปต่ําสุด ไดแกg มีการประเมินผลเชิงพัฒนาระหวgางดําเนินการเสมอ(สมานัตตตา) มีการนําขอเสนอแนะไปปรับปรุงพัฒนาการดําเนินงานกิจการนักเรียน(สมานัตตตา) มีการพัฒนารูปแบบ

การประเมินผล ใหสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา(สมานัตตตา) ความพึงพอใจภาพรวมในการ บริหารงานกิจการนักเรียน (ทาน ปˆยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา) และมีการประเมินผลและรายงาน โครงการตgางๆ ในงานกิจการนักเรียน(สมานัตตตา)

5.2 การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลัก สังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

(9)

มัธยมศึกษา เขต 28 จําแนกตามเพศและประสบการณIการทํางานไมgแตกตgางกัน สgวนจําแนกตามตําแหนgง แตกตgางกันอยgางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจําแนกตามระดับอายุ ดานการบริหารกิจการ นักเรียน แตกตgางกันอยgางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดานอื่นๆ ไมgแตกตgางกัน

5.3 ขอเสนอแนะการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ควรจัดทําขอมูล

และจัดทําแผนงานกิจการนักเรียนเปkนรายลักษณIอักษรแตgงตั้งผูรับผิดชอบในการปฏิบัติตาม แผนดําเนินงานตามแผนประเมินผลการดําเนินงานมีการกําหนดหนาที่ความรับผิดชอบงานกิจการนักเรียน

ประสานงานกับหนgวยงานตgางๆ ภายในโรงเรียน เครือขgายผูปกครอง หนgวยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ เยาวชนมีการประสานงานอยgางตgอเนื่องประเมินและติดตามผลการปฏิบัติควรจัดทําคูgมือนักเรียนเกี่ยวกับ กฎระเบียบของโรงเรียนจัดกิจกรรมสgงเสริมพัฒนาความประพฤติและระเบียบวินัยเปkนประจําและตgอเนื่อง ประเมินผลการดําเนินงานและรายงานผลการสgงเสริมพัฒนาความประพฤติและระเบียบวินัยควรแตgงตั้ง คณะกรรมการดําเนินงานเปkนลายลักษณIอักษร มอบหมายใหครูดูแลรับผิดชอบดําเนินการศึกษานักเรียน เปkนรายบุคคลและครบทุกคน ประชุมชี้แจงครูเกี่ยวกับแนวปฏิบัติในการคัดกรองนักเรียน จัดทําขอมูล เกี่ยวกับนักเรียนที่มีปtญหาที่เปkนกลุgมเสี่ยงและกลุgมมีปtญหา จัดทําขอมูลนักเรียนที่ควรไดรับการสgงเสริม และพัฒนา จัดทําขอมูลนักเรียนที่ควรไดรับการสgงตgอควรรับฟtงความคิดเห็นของนักเรียน และใหนักเรียน แสดงออกทางการเมือง สgงเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา ควรประเมินผลงานกิจการนักเรียนโดยมี

หลักฐานใหตรวจสอบไดประเมินผลในระดับหนgวยงานยgอยภายในโรงเรียนประเมินในรูปแบบของ คณะกรรมการวิเคราะหIผลการประเมินผลงานกิจการนักเรียนนําผลการวิเคราะหIไปใชในการปรับปรุง พัฒนาการดําเนินงานกิจการนักเรียน

6. อภิปรายผลการวิจัย

จากผลการวิจัยพบประเด็นที่นgาสนใจและนํามาอภิปรายผล ดังตgอไปนี้

6.1 สภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลักสังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 โดยรวม อยูgในระดับมาก ทั้งนี้อาจเปkนเพราะวgา การบริหารเปkนการดําเนินงานและการปฏิบัติงานของกลุgมบุคคล

โดยการใชศาสตรIและศิลป•รgวมกันในการดําเนินกิจการ เพื่อใหการดําเนินงานมีประสิทธิภาพและบรรลุ

ตามวัตถุประสงคIที่กําหนดไว โดยอาศัยกระบวนการที่เกี่ยวกับการวางแผน การจัดองคIการ การนํา การควบคุม และใชทรัพยากรทางการบริหารที่เปkนปtจจัยอยgางประหยัดและกgอใหเกิดประโยชนIสูงสุด

องคIกรทุกองคIกรจะประสบความสําเร็จไดจะตองมีการบริหารงานที่ดี แมในองคIกรจะมีบุคคล งบประมาณ

วัสดุที่ดี แตgหากบริหารจัดการไมgดีก็อาจทําใหองคIกรลมเหลวได ดังนั้น ทักษะทางการบริหาร

(10)

มีความสําคัญตgอผูบริหารในการดําเนินงานใหบรรลุเป•าหมายโดยผันแปรไปตามระดับชั้นขององคIกร ซึ่งงานกิจการนักเรียนเปkนการดําเนินงานกิจการและกิจกรรมตgางๆ ที่เกี่ยวของกับนักเรียนและ เปkนกิจกรรมที่นอกเหนือจากการเรียนการสอนในหองเรียนซึ่งจะสgงผลใหนักเรียนเปkนบุคคลที่มีความรู

ความสามารถมีความประพฤติที่ดีงาม มีระเบียบวินัยมีความคิดไตรgตรองมีความคิดริเริ่มสรางสรรคI แสวงหาความรูอยูgเสมอ รูจักนําความรูไปประยุกตIใชใหเกิดประโยชนI มุgงสgงเสริมเติมเต็มคุณภาพของ ผูเรียนนอกเหนือจากการเรียนการสอนตามปกติและเปkนการเปˆดโอกาสใหผูเรียนไดนําความรู

ความสามารถที่ไดไปใชจริง เปkนการถgายโยงการเรียนรูสูgการปฏิบัติ สอดคลองกับงานวิจัยของ ธนาภา ชมภูธัญ (2559) การบริหารงานกิจการนักเรียนโรงเรียนบานแมgจะเราสองแควสังกัดสํานักงานการศึกษา ประถมศึกษาตาก เขต 2 ผลการวิจัยพบวgา การบริหารงานกิจการนักเรียน โรงเรียนบานแมgจะเราสองแคว สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 ในภาพรวมอยูgในระดับมาก

สําหรับดานการวางแผนงานกิจการนักเรียนโดยรวมอยูgในระดับมาก ทั้งนี้อาจเปkนเพราะวgา เปkนการรgวมมือของทุกๆ ฝ†ายในการดําเนินกิจกรรมที่เกี่ยวของกับนักเรียน นอกเหนือจากการจัดการเรียน การสอน โดยใหชุมชน ภาคีเครือขgาย คณะกรรมการสถานศึกษา ตลอดจน นักเรียน คณะครูและบุคลากร ทางการศึกษาไดมีสgวนรgวมในการวางแผนงานกิจการนักเรียน พัฒนานักเรียนดานทักษะชีวิต ใหเปkนไป ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหgงชาติ ความตองการของชุมชน และผูมีสgวนไดสgวนเสียในโรงเรียน มีการ จัดทําแผนงานและโครงการเพื่อตอบสนองความตองการของผูมีสgวนไดสgวนเสียโรงเรียนมีการรวบรวม ขอมูลจากกลุgมบริหารงานตgาง ๆในการจัดทําคูgมือนักเรียน ครู และผูปกครอง มีการเผยแพรgระเบียบ ขอบังคับของกิจการนักเรียนโรงเรียนมีการรับฟtงความคิดเห็นของผูมีสgวนไดสgวนเสียในการจัดทําระเบียบ ขอบังคับตgางๆ นักเรียนสามารถปฏิบัติตนตามระเบียบขอบังคับ ตามที่สถานศึกษากําหนด สอดคลองกับ งานวิจัยของ ธนาภา ชมภูธัญ (2559) การบริหารงานกิจการนักเรียนโรงเรียนบานแมgจะเราสองแควสังกัด สํานักงานการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 ผลการวิจัยพบวgา การบริหารงานกิจการนักเรียน โรงเรียน บานแมgจะเราสองแคว สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 ในภาพรวมอยูgในระดับมาก

และเมื่อพิจารณารายดานรายดานพบวgามีการปฏิบัติมากทุกดาน ดานที่มีการปฏิบัติสูงสุด คือ งานสgงเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน รองลงมาคือ งานเสริมสรางวินัยนักเรียน สgวนดานที่มีการปฏิบัติ

ต่ําสุด คือ งานระบบดูแลชgวยเหลือนักเรียน

6.2 การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นสภาพการบริหารงานกิจการนักเรียนตามหลัก สังคหวัตถุ 4 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

มัธยมศึกษา เขต 28 จําแนกตามเพศและประสบการณIการทํางานไมgแตกตgางกัน สgวนจําแนกตามตําแหนgง และจําแนกตามระดับอายุ แตกตgางกันอยgางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้อาจเปkนเพราะวgา บุคลากรโรงเรียนมัธยมศึกษานั้น ประกอบดวย ผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ คณะกรรมการบริหาร และ

(11)

ครูผูสอนโรงเรียน ซึ่งเปkนกลุgมบุคคลที่มีวัยใกลเคียงกันมากจึงทําใหมองวgาการบริหารงานกิจการนักเรียน เปkนงานที่สําคัญและจําเปkนที่ตองปฏิบัติไปพรอมๆ กันทุกฝ†ายและดําเนินงานรgวมกับการบริหารโรงเรียน หรือการบริหารสถานศึกษาที่หมายถึง กระบวนการวางแผน การจัดการ และการควบคุมงานทุกอยgาง ภายในโรงเรียน เพื่อใหบรรลุตามเป•าหมาย ภารกิจ และวัตถุประสงคIของหลักสูตร พัฒนาศักยภาพ

นักเรียนใหมีคุณภาพทั้งความรู ความคิด ความสามารถ และความเปkนคนดี ออกสูgสังคมอยgางมีคุณภาพ ที่สําคัญโรงเรียนจะตองมีการวางแผนงานกิจการนักเรียน มีการบริหารกิจการนักเรียน มีการสgงเสริม

พัฒนาใหนักเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม มีการดําเนินงานระบบดูแลชgวยเหลือนักเรียน การดําเนินการสgงเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน การประเมินผลการดําเนินงานกิจการนักเรียน สอดรับกับ

งานวิจัยของ ธนาภา ชมภูธัญ (2559) การบริหารงานกิจการนักเรียนโรงเรียนบานแมgจะเราสองแควสังกัด สํานักงานการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 ผลการวิจัยพบวgา การเปรียบเทียบความคิดเห็นของ ผูปกครองเพศชายและเพศหญิงเกี่ยวกับงานบริหารงานกิจการนักเรียน โรงเรียนบานแมgจะเราสองแคว

สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 ทั้งโดยภาพรวมและรายดานทุกดาน มีการปฏิบัติแตกตgางกันอยgางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

7. ขYอเสนอแนะ

7.1 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย

7.1.1 ควรมีการประชุมบุคลากร นักเรียน ผูปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อสราง ความเขาใจรgวมกันประเด็นที่เกี่ยวกับการบริหารงานดานกิจการนักเรียน ควรชี้แจงใหทราบถึงนโยบาย ความเปkนเหตุและผลในทางปฏิบัติใหเกิดความเขาใจตรงกัน

7.1.2 ควรเปˆดโอกาสใหผูใตบังคับบัญชา และนักเรียนมีการแสดงความคิดเห็นในการพัฒนา งานดานกิจการนักเรียนอยgางสม่ําเสมอ เพื่อนําผลความคิดเห็นในแตgละดานมาปรับปรุง พัฒนางานใหเกิด ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดในการบริหารงาน

7.2 ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตgอไป

7.2.1 ควรศึกษารูปแบบการบริหารงานกิจการนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

7.2.2 ควรวิจัยเกี่ยวกับแนวทางการใหคําปรึกษาและพิจารณาใหขอเสนอแนะการดําเนินงาน สําหรับคณะกรรมการบริหารงานกิจการนักเรียน

7.2.3 ควรวิจัยและพัฒนารูปแบบเกี่ยวกับการระดมทุนทางสังคมในการบริหารงานกิจการ นักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

(12)

8. บรรณานุกรม

ธนาภา ชมภูธัญ. (2559). การบริหารงานกิจการนักเรียโรงเรียนบYานแมLจะเราสองแคว สังกัดสํานักงาน การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติครั้งที่

3 กาวสูgทศวรรษที่ 2 : บูรณาการงานวิจัย ใชองคIความรูสูgความยั่งยืน. 17 มิถุนายน 2559 ณ วิทยาลัยนครราชสีมา อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา.

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28. (2562). คูLมือนักเรียน ครู และผูYปกครองนักเรียน ปaการศึกษา 2562. ศรีสะเกษ : สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28.

. (2563). รายงานการดําเนินงานประจําปa 2563. ศรีสะเกษ : สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 28.

สํานักงานปฏิรูปการศึกษา. (2545). แนวทางบริหารและการจัดการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักงานปฏิรูปการศึกษา.

สํานักนโยบายและวิชาการสถิติ สํานักงานสถิติแหgงชาติ. (2552). เทคนิคการสุLมตัวอยLางและการ ประมาณคLา. กลุgมระเบียบวิธีสถิติ สํานักนโยบายและวิชาการสถิติ สํานักงานสถิติแหgงชาติ.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities.

Educational and Psychological Measurement. 30(3). 607– 610.

Referensi

Dokumen terkait

ปัจจัยการมีส่วนร่วมของครูที่ส่งผลต่อชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 TEACHER PARTICIPATORY FACTORS AFFECTING PROFESSION

ภาวะผูนําเชิงจริยธรรมของผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24∗ Ethical Leadership of School Administrators under Secondary Educational Service Area