• Tidak ada hasil yang ditemukan

View of การพัฒนารูปแบบการค้นหาผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษระดับปฐมวัยใน โรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2023

Membagikan "View of การพัฒนารูปแบบการค้นหาผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษระดับปฐมวัยใน โรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ"

Copied!
11
0
0

Teks penuh

(1)

การพัฒนารูปแบบการคนหาผูเรียนที่มีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยใน โรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

THE DEVELOPEMNT OF A CHILD FIND MODEL FOR PRESCHOOL CHILDREN WITH SPECIAL NEEDS FOR SCHOOL UNDER

THE MINISTRY OF EDUCATION

ผูวิจัย ปาจรียพร สีตะธนี1 Pajareeporn Sitatanee pajareeporn@yahoo.com กรรมการควบคุม ร.ศ.ดร. สุวิมล อุดมพิริยะศักย2

ผ.ศ.ดร. เรณุมาศ กุละศิริมา3

Advisor Committee Assoc.Prof.Dr. Suwimon Udompiriyasak Asst.Prof.Dr. Remumas Gulasirima

บทคัดยอ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนารูปแบบ การคนหาผูเรียนที่มีความตองการพิเศษระดับปฐมวัย ในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยใชการวิจัย แบบผสมผสาน ดวยการเก็บรวบรวมขอมูลเชิงปริมาณ จากกลุมตัวอยางที่เปนผูบริหารโรงเรียน ครูปฐมวัย และผูปกครองในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จํานวน 345 โรง ที่ไดจากการสุมตัวอยางแบบหลาย ขั้นตอน สําหรับการวิจัยเชิงคุณภาพใชการสัมภาษณ

เชิงลึกจากผูใหขอมูลสําคัญที่มีสวนเกี่ยวของ จํานวน 6 คน และการสนทนากลุมเพื่อพิจารณาความเหมาะสม ของรูปแบบ ผลการวิจัยพบวา รูปแบบการคนหาผูเรียน ที่มีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยในโรงเรียนสังกัด กระทรวงศึกษาธิการที่เหมาะสม ประกอบดวยองค

ประกอบหลัก 2 สวน คือ กระบวนการบริหารโรงเรียน เพื่อการคนหาผูเรียนที่มีความตองการพิเศษที่ดําเนินการ โดยใชหลักการบริหารจัดการแบบ POLC และกระบวน

การปฏิบัติการเพื่อการคนหาผูเรียนที่มีความตองการ พิเศษ ซึ่งใชวงจรเดมมิ่งในการบริหารงานประกอบดวย 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การใหความรูแกครูประจําชั้นและ ผูปกครองทุกคนเกี่ยวกับพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และพัฒนาการที่มีความบกพรองหรือลาชา 2) การรับ ผูเรียนที่มีความตองการพิเศษจากการสงตอ 3) การ สํารวจคนหาผูเรียนที่ผานการรับรองความพิการ 4) การ คัดกรองผูเรียนทั้งโรงเรียน 5) การติดตามพัฒนาการ ของผูเรียนที่เรียนในชั้นเรียนปกติ 6) การประเมินระดับ พัฒนาการ และ 7) การพิจารณาระดับและความบกพรอง ลาชาของพัฒนาการในผูเรียนโดยทีมสหวิชาชีพ

คําสําคัญ : การคนหา การศึกษาพิเศษ เด็กปฐมวัยที่

มีความตองการพิเศษ

1นิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต

2อาจารยประจําการศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต

(2)

ABSTRACT

This mixed research methodology was conducted to develop a child find model. The quantitative data were gathered from school administrators, early childhood teachers and parents in 345 schools under the Ministry of Education, using multi-stage sampling design.

For qualitative research adopted in-depth interview of 6 key informants of all stakeholders and focus groups to determine the suitability of the model. The finding model revealed that “The child find procedure for schools under the Ministry of Education” consists of 2 parts: A systematic administration and management child find process for school administrators using POLC and Child Find operating process using 7 steps in the Deming’s cycle for the child find procedure for identifying children with special needs as follow: 1) Educating teachers and parents on age appropriate and non-age appropriate child development 2) In-taking of special needs students through referral 3) Surveying for students who have certified disabilities 4) School-wide screening 5) Monitoring children’s development in regular classrooms 6) Assessing children’s developmental and 7) Determining development levels and impairment/disability levels by a multidisciplinary team.

Keyword : Child find Special education Young children with disabilities

บทนํา

ประเทศไทยไดพัฒนานโยบายและแผนตางๆ ที่กําหนดใหมียุทธศาสตรในการคนหาและระบุความ บกพรองของเด็กปฐมวัยที่มีความตองการพิเศษตั้งแต

ระยะแรก ดวยการกําหนดใหเด็กปฐมวัยตองไดรับการ ตรวจรางกายและประเมินพัฒนาการเพื่อคนหาและเฝา ระวังความบกพรองลาชาแตพบวา ยังขาดการบูรณา การการดําเนินงานรวมกันระหวางผูเกี่ยวของ ตลอดจน การดําเนินงานยังขาดความตอเนื่องและเปนระบบ ดังนั้นโรงเรียนที่จัดการศึกษาในระดับปฐมวัยจึงอาจ สามารถพบผูเรียนที่มีโครงสรางและ/หรือหนาที่ของ รางกาย จิตใจ หรือพฤติกรรมแตกตางไปจากปกติจนมี

ขอจํากัดในการพัฒนาความสามารถหรือไดรับประโยชน

จากการเรียนการสอนตามปกติ อันสงผลใหมีความ ตองการในการรับบริการชวยเหลือพิเศษทางการศึกษา ที่เหมาะสมกับความตองการจําเปนของแตละบุคคล เพื่อใหสามารถเรียนรูไดอยางเหมาะสมเทาเทียมกับ ผูอื่นโดยเร็วที่สุดเทาที่จะเปนไปได เนื่องจากพัฒนาการ ในลําดับตนของชีวิตมนุษยเปนพื้นฐานสําหรับพัฒนาการ ลําดับขั้นตอไป ดังนั้นอุปสรรคที่เกิดขึ้นจนทําใหผูเรียน ไมสามารถเรียนรูหรือมีสวนรวมในสังคมไดเต็มตาม ศักยภาพตั้งแตปฐมวัยยอมสงผลตอการมีพัฒนาการที่

เหมาะสมในชวงตอไป

เมื่อพิจารณาถึงความสําคัญในการใหความ ชวยเหลือโดยเร็วตามหลักของการจัดการศึกษาพิเศษ ของประเทศสหรัฐอเมริกาแลวจะพบวากฎหมาย Individuals with Disability Education Act: IDEA ซึ่งเปนกฎหมายที่กําหนดเกี่ยวกับการจัดการศึกษา สําหรับผูเรียนที่มีความตองการพิเศษโดยใหความ สําคัญตอการคนหาผูที่มีความตองการพิเศษใหพบ โดยเร็ว โดยกําหนดใหการคนหา (Child Find) เปน องคประกอบหนึ่งของกฎหมาย ดวยการกําหนดใหเปน หนาที่ของรัฐบาลโดยใหแตละมลรัฐมีนโยบายและการ

(3)

ดําเนินการเพื่อใหมีการคนหาผูเรียนที่มีความบกพรอง ลาชาของพัฒนาการหรือพฤติกรรมในรัฐของตน และ กําหนดใหผูที่เกี่ยวของกับผูเรียนสามารถสงตอผูเรียนที่

มีขอสงสัยวาอาจมีความบกพรองเบี่ยงเบนหรือลาชา ของพัฒนาการหรือพฤติกรรมเขารับการประเมิน เพิ่มเติมกอนรับบริการทางการศึกษาพิเศษ โดย กระบวนการใหการคนหาที่ปรากฏในกฎหมาย IDEA ประกอบดวย การสรางความตระหนักสาธารณะเกี่ยวกับ ลักษณะของผูมีความบกพรองลาชา การรับและการสง ตอผูเรียนที่มีความตองการพิเศษ การคัดกรอง การ ประเมินระดับพัฒนาการ และการพิจารณาความบกพรอง ลาชาโดยทีมสหวิชาชีพ ซึ่งผูวิจัยนําแนวคิดดังกลาวมา ปรับใชรวมกับแนวคิดในการเฝาระวังพัฒนาการเด็ก ปฐมวัย (Developmental Surveillance) ที่ใชการสังเกต และติดตามขอมูลจากพัฒนาการของผูเรียนจาก ผูเกี่ยวของกับผูเรียนปฐมวัยซึ่งดําเนินการอยางตอเนื่อง แทนการตัดสินความบกพรองลาชาจากผลการทดสอบ เพียงครั้งเดียว (นิชรา เรืองดารกานนท, 2554, หนา 44) เพื่อพัฒนาแนวคิดในการคนหาผูเรียนที่มีความตองการ พิเศษอยางเปนระบบในโรงเรียน เนื่องจากการ ดําเนินการที่เปนระบบจะชวยใหผูที่มีพัฒนาการที่

บกพรองลาชาไดรับความชวยเหลือที่เหมาะสมได

ทันเวลาและสามารถปองกันปญหาที่อาจเกิดขึ้น (UNICEF & WHO, 2012, p. 22) รวมทั้งการสังเกต และตรวจหาความบกพรองตั้งแตระยะแรกซึ่งเปนสวน หนึ่งของการศึกษาปฐมวัย (UNICEF, 2012, Online)

วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันการปฏิบัติใน กระบวนการคนหาผูเรียนระดับปฐมวัย กลุมอายุ 3-5 ป

ที่มีความตองการพิเศษของโรงเรียนสังกัดกระทรวง ศึกษาธิการ

2. เพื่อพัฒนารูปแบบการคนหาผูเรียนระดับ ปฐมวัย กลุมอายุ 3-5 ป ที่มีความตองการพิเศษของ โรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยนี้ใชวิธีวิจัยแบบผสมผสานระหวาง การวิจัยเชิงปริมาณที่ใชการวิจัยเชิงสํารวจและการวิจัย เชิงคุณภาพที่ใชการสัมภาษณเชิงลึกและการสนทนา กลุม

ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากรที่ใชในการวิจัยเปนผูที่มีสวน เกี่ยวของ ประกอบดวย ผูบริหารโรงเรียน ครูปฐมวัย ผูปกครอง ผูทรงคุณวุฒิดานการแพทยในการตรวจ ประเมินและรับรองความพิการ ผูทรงคุณวุฒิทางดาน สิทธิและกฎหมายสําหรับผูพิการ ผูทรงคุณวุฒิดาน การศึกษาปฐมวัย ผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงานภาครัฐ และเอกชนที่ใหบริการทางการศึกษาพิเศษ ผูทรงคุณวุฒิ

ดานการศึกษาพิเศษระดับปฐมวัย และนักวิชาการ ทางการศึกษาพิเศษที่ปฏิบัติงานกับผูเรียนปฐมวัย โดย สุมจากประชากรที่กําหนด ดวยการแบงตัวอยาง ออกเปน 3 กลุม ตามวิธีการวิจัย ดังนี้

1. กลุมที่ใชในการวิจัยเชิงสํารวจ ที่คํานวณ โดยใชสูตรของยามาเน (Yamane, 1973, p.125) ที่

ระดับความเชื่อมั่น 95% ในโรงเรียนที่จัดการศึกษา สําหรับผูเรียนกลุมอายุ 3–5 ป ในปการศึกษา 2555 ได

จํานวนโรงเรียนที่เปนกลมตัวอยาง จํานวน 345 โรง ซึ่ง ใชวิธีสุมแบบหลายขั้นตอน และเลือกกลุมตัวอยางแบบ เจาะจงจากโรงเรียนที่เปนกลุมตัวอยางไดผูบริหาร โรงเรียน ครูปฐมวัย และผูปกครอง กลุมละ 1 คน

2. กลุมที่ใชในการสัมภาษณเชิงลึก ใชการ เลือกแบบเจาะจงเปนผูทรงคุณวุฒิดานการแพทยใน การตรวจประเมินและรับรองความพิการ ผูทรงคุณวุฒิ

ทางดานสิทธิและกฎหมายสําหรับผูพิการ ผูทรงคุณวุฒิ

(4)

ดานการศึกษาปฐมวัย ผูทรงคุณวุฒิจากสํานักงาน บริหารการศึกษาพิเศษ ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา พิเศษระดับปฐมวัย และนักวิชาการทางการศึกษา พิเศษที่ปฏิบัติงานกับผูเรียนปฐมวัย จํานวน 6 คน

3. กลุมที่ใชในการสนทนากลุมเพื่อตรวจสอบ รูปแบบใชการเลือกแบบเจาะจง เปนผูทรงคุณวุฒิทาง การศึกษาพิเศษ ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษาปฐมวัย ผูทรงคุณวุฒิดานการแพทย ผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงาน ภาครัฐและเอกชนที่ใหบริการทางการศึกษาพิเศษ นักวิชาการทางการศึกษาพิเศษที่ปฏิบัติงานกับผูเรียน ปฐมวัย และผูปกครอง จํานวน 10 คน

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

ผูวิจัยสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก

1) แบบสอบถาม (มีคาระดับความเชื่อมั่นฉบับผูบริหาร โรงเรียน ฉบับครูปฐมวัย และฉบับผูปกครอง เทากับ 0.963 0.922 และ 0.943 ตามลําดับ) 2) แบบสัมภาษณ

เชิงลึกแบบมีโครงสราง และ 3) แบบประเมินความเหมาะสม ของรูปแบบ

การเก็บรวบรวมขอมูล

1. การวิจัยเชิงสํารวจ ผูวิจัยติดตอขอความ รวมมือโดยจัดสงแบบสอบถามไปใหกลุมตัวอยางและ ขอรับแบบสอบถามคืนโดยวิธีการสงแบบสอบถามทาง ไปรษณียตอบรับ

2. การสัมภาษณเชิงลึก ผูวิจัยมีสัมภาษณ

ตามประเด็นที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ผูวิจัยกําลังศึกษา โดย บันทึกเสียงขณะสัมภาษณ จดบันทึก สรุปประเด็น ตางๆ

3. การสนทนากลุมเพื่อตรวจสอบรูปแบบ ผูวิจัย สงเอกสารรูปแบบฉบับรางพรอมทั้งเอกสารประเมินให

ผูเขารวมการสทนากลุมกอนวันสนทนากลุมและขอเก็บ รวบรวมเอกสารการประเมินในวันสนทนากลุมเพื่อนํามา ใชรวมกับขอมูลที่ไดจากการบันทึกเสียงและขอมูลที่ได

จากการจดบันทึก

การวิเคราะหขอมูล

1. ขอมูลเชิงปริมาณ ใชสถิติเชิงพรรณนาใน การวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามสวนที่เปนแบบ เลือกตอบใชการแจกแจงความถี่ หาคารอยละ คาเฉลี่ย และหาคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2. ขอมูลเชิงคุณภาพ ใชวิธีการวิเคราะหเนื้อหา และสรุปเนื้อหา

3. สังเคราะหขอมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อพัฒนารูปแบบการคนหาผูเรียนที่มีความตองการ พิเศษระดับปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล

1. สภาพปจจุบันการปฏิบัติในกระบวนการ คนหาผูเรียนระดับปฐมวัย กลุมอายุ 3-5 ป ที่มีความ ตองการพิเศษของโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

1.1 ในภาพรวมทุกกลุมมีความคิดเห็น เกี่ยวกับการปฏิบัติในกระบวนการคนหาผูเรียนที่มี

ความตองการพิเศษระดับปฐมวัยตรงกันใน 4 อันดับ แรก เรียงตามลําดับดังนี้ ดานการใหความชวยเหลือ กอนพิจารณาสงตอเขารับบริการทางการศึกษาพิเศษ ดานการสรางความตระหนักแกผูเกี่ยวของกับผูเรียน ปฐมวัย ดานการติดตามพัฒนาการผูเรียนปฐมวัย และ ดานการรับผูเรียนที่มีความตองการพิเศษจากการสงตอ รายละเอียดปรากฏดังตารางที่ 1

(5)

ตารางที่ 1 จํานวนรอยละของโรงเรียนที่มีการปฏิบัติในกระบวนการปฏิบัติการเพื่อคนหาผูเรียนที่มีความตองการ พิเศษระดับปฐมวัยของโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการตามความคิดเห็นของผูบริหารโรงเรียน ครูปฐมวัย และ ผูปกครอง

รายการ ผูบริหารรงเรียน (%)

ครูปฐมวัย (%)

ผูปกครอง (%)

ดานการบริหารโรงเรียนเพื่อการคนหา 4.96 6.43 12.72

ดานการรับผูเรียนที่มีความตองการพิเศษจากการสงตอ 21.51 20.71 22.26 ดานการสํารวจคนหาผูเรียนที่ผานการรับรอง

ความพิการ

15.07 14.29 21.03

ดานการติดตามพัฒนาการผูเรียนปฐมวัย 39.90 38.57 27.92

ดานการสรางความตระหนักใหแกผูเกี่ยวของกับผูเรียน ปฐมวัย

46.57 41.42 51.42

ดานการคัดกรองและประเมินพัฒนาการ 10.29 20.36 2.42

ดานการใหความชวยเหลือกอนพิจารณาสงตอเขารับ บริการทางการศึกษาพิเศษ

78.07 69.54 80.97

สวนกลุมผูใหขอมูลสําคัญมีความคิดเห็นวา โรงเรียนยังปฏิบัติในระดับคอนขางนอยและขาดความ เหมาะสม โดยทุกคนมีความคิดเห็นสอดคลองกันวา ควรมีการปฏิบัติในกระบวนการคนหาผูเรียนที่มีความ ตองการพิเศษระดับปฐมวัย เนื่องจากชวยใหผูเรียนที่มี

ความตองการพิเศษไดรับความชวยเหลือตามความ ตองการจําเปนโดยเร็ว

1.2 ปจจัยที่มีผลตอการคนหา/คนพบ ผูเรียนที่มีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยในโรงเรียน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พบวา ทุกกลุมมีความคิดเห็น ในภาพรวมตอปจจัยในระดับมากที่สุด โดยกลุมครู

ปฐมวัยและกลุมผูปกครองมีความคิดเห็นในทิศทาง เดียวกัน กลาวคือ อันดับแรกเปนดานความรวมมือของ เกี่ยวของในการให การเก็บรวบรวม และการใชขอมูล

เพื่อการพิจารณาระดับพัฒนาการและความบกพรอง ลาชา อันดับรองลงมาเปนดานบทบาทหนาที่ของ ผูเกี่ยวของกับผูเรียนปฐมวัย อันดับที่สามเปนดาน นโยบายและการดําเนินงานภาครัฐ สวนกลุมผูบริหาร โรงเรียนมีความเห็นในดานบทบาทหนาที่ของผูเกี่ยวของ กับผูเรียนปฐมวัยเปนอันดับแรก อันดับรองลงมาเปน ดานความรวมมือของผูเกี่ยวของในการให การเก็บ รวบรวม และการใชขอมูลในการพิจารณาระดับ พัฒนาการและความบกพรองลาชา สวนอันดับที่สาม เปนดานนโยบายและการดําเนินงานภาครัฐ โดยกลุม ผูบริหารโรงเรียนและกลุมครูปฐมวัยมีความคิดเห็น เกี่ยวกับดานการบริหารโรงเรียนเพื่อการคนหาเปน อันดับที่สี่ ดังตารางที่ 2

(6)

ตอนที่ 2 เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถามในแตละกลุมที่มีตอปจจัยที่มีผลตอการคนหา/

คนพบผูเรียนที่มีความตองการพิเศษระดับปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ

รายการ ผูบริหารโรงเรียน ครูปฐมวัย ผูปกครอง

Mean S.D. Mean S.D. Mean S.D.

ดานนโยบายและการดําเนินงานภาครัฐ 4.45 0.47 4.35 0.44 4.37 0.46

ดานบทบาทหนาที่ของผูเกี่ยวของกับผูเรียนปฐมวัย 4.57 0.45 4.43 0.43 4.50 0.44

ดานการบริหารโรงเรียนเพื่อการคนหา 4.31 0.55 4.24 0.55 - -

ดานความรวมมือของผูเกี่ยวของในการให การเก็บรวบรวม และการใชขอมูลในการพิจารณาระดับพัฒนาการและ ความบกพรองลาชา

4.53 0.48 4.47 0.45 4.50 0.44

รวม 4.45 0.43 4.36 0.40 4.44 0.40

สวนกลุมผูใหขอมูลสําคัญใหความสําคัญตอ การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของผูปกครอง แพทย/

บุคลากรทางการแพทย และโรงเรียนในฐานะเปนผูที่มี

สวนเกี่ยวของกับผูเรียนปฐมวัยในการอบรมเลี้ยงดูและ สงเสริมพัฒนาการผูเรียนใหเหมาะสม โดยมีการ ติดตามพัฒนาการของผูเรียนใหความรวมมือในการ คนหา และสนับสนุนใหผูเรียนไดรับการชวยเหลือตาม ความตองการจําเปนเมื่อพบวามีความบกพรองลาชา โดยภาครัฐมีบทบาทในการกําหนดนโยบายและ ดําเนินการอยางเปนระบบสอดคลองกับบริบทของแต

ละโรงเรียน

2. กระบวนการคนหาผูเรียนที่มีความตองการ พิเศษระดับปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบดวย 2 สวน ดังนี้

2.1 กระบวนการบริหารโรงเรียนเพื่อการ คนหาผูเรียนที่มีความตองการพิเศษ ประกอบดวย 1) การวางแผน (Planning) เปนการเตรียมการในการจัด การศึกษาที่เหมาะสมโดยใหความชวยเหลือผูเรียนที่มี

ความสามารถแตกตางจากเพื่อนกอนพิจารณาสงเขา รับบริการทางการศึกษาพิเศษ และการพัฒนาความ รวมมือระหวางผูเชี่ยวชาญภายนอก ผูปกครอง และ

โรงเรียน 2) การจัดองคการ (Organizing) เปนการวาง ระบบการบริหารเพื่อดําเนินงานของงานคนหาผูเรียนที่

มีความตองการพิเศษ 3) การนํา (Leading) เปนบทบาท หนาที่ของฝายบริหารโรงเรียนในการสนับสนุนใหทุก ฝายมีสวนรวมในการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสม กับผูเรียนปฐมวัยโดยมีการใหความชวยเหลือกอน พิจารณาสงตอเขารับบริการทางการศึกษาพิเศษ การ ปฏิบัติในกระบวนการคนหาผูเรียนที่มีความตองการ พิเศษระดับปฐมวัย และการจัดการเรียนการสอนให

เหมาะสมกับผูเรียนปฐมวัยที่มีความตองการพิเศษ และ 4) การควบคุม (Controlling) เปนกระบวนการติดตาม และประเมินการบริหารจัดการคนหาผูเรียนที่มีความ ตองการพิเศษ

2.2 กระบวนการปฏิบัติการเพื่อการคนหา ผูเรียนที่มีความตองการพิเศษ เปนกิจกรรมที่สงผลตอ การคนหา/คนพบผูเรียนที่มีความตองการพิเศษที่ใช

วงจรเดมมิ่งในการบริหารงาน ประกอบดวย 7 ขั้นตอน 1) การใหความรูแกครูประจําชั้นและผูปกครองทุกคน เกี่ยวกับพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยและพัฒนาการที่

บกพรองลาชา 2) การรับผูเรียนที่มีความตองการพิเศษ จากการสงตอจากภายนอกและภายในโรงเรียน 3) การ

(7)

สํารวจคนหาผูเรียนที่ผานการรับรองความพิการดวย การสํารวจรายชื่อ ประเภทความพิการ และวิธีรับรอง ความพิการ 4) การคัดกรองผูเรียนทั้งโรงเรียนเปนระยะ โดยใชแบบคัดกรองมาตรฐาน 5) การติดตามเฝาระวัง พัฒนาการและเรียนในชั้นเรียนปกติดวยการนําขอมูล มาวิเคราะห เพื่อพิจารณาผูที่ควรไดรับการเฝาระวัง ติดตามอยางใกลชิด โดยทีมสหวิชาชีพเขาสังเกต พัฒนาการหรือพฤติกรรมของโรงเรียนในชั้นเรียนปกติ

และใหคําแนะนําในการแกปญหาเบื้องตนแกโรงเรียน และผูปกครอง 6) การประเมินระดับพัฒนาการสําหรับ ผูเรียนที่มีขอสงสัยวาอาจมีพัฒนาการบกพรองลาชา และ 7) การพิจารณาระดับพัฒนาการและความบกพรอง ลาชาโดยทีมสหวิชาชีพโดยนําขอมูลจากครอบครัว ขอมูลจากโรงเรียน และขอมูลทางการแพทยมาใชใน การพิจารณาระดับพัฒนาการและความบกพรองลาชา ของผูเรียน

อภิปรายผล

1. ประเทศไทยมีนโยบายและแผนในการ คนหาผูเรียนที่มีความตองการพิเศษตั้งแตระดับปฐมวัย ที่เปนรูปธรรมอยางชัดเจน แตขาดการบริหารจัดการ อยางเปนระบบในการนําแผนไปสูการปฎิบัติ ซึ่งมีสาเหตุ

จากภาครัฐยังไมพัฒนาระบบและกลไลสนับสนุน เชนเดียวกับประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีการกําหนดเปน กฎหมาย สนับสนุนงบประมาณ และจัดตั้งหนวยงาน คนหารับผิดชอบอยางจริงจังในการปฏิบัติงาน

2. ผูวิจัยกําหนดเงื่อนไขความสําเร็จของ รูปแบบการคนหาผูเรียนที่มีความตองการพิเศษระดับ ปฐมวัยของโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ไดแก

2.1 ผูบริหารโรงเรียนมีความตระหนักและ ใหการสนับสนุนการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของในการ คนหาผูเรียนที่มีความตองการพิเศษ เนื่องจากผูบริหาร

เปนผูมีบทบาทหนาที่บริหารงานเพื่อการทํางานรวมกัน ของบุคลากรและทรัพยากรเพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายของ องคการในการวางแผนการจัดองคการ การนํา และการ ควบคุม (Weihrich & Koontz, 1993, pp. 9-13; Robbins

& Coulter, 2003, p. 2; Dessler, 2004, p. 3; and Bateman & Snell, 2007, p. 16)

2.2 ทุกโรงเรียนสรางความตระหนักเกี่ยวกับ พัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยและพัฒนาการที่บกพรอง ลาชาตลอดจนความจําเปนรวมถึงประโยชนที่ผูเรียน กลุมดังกลาวจะไดรับจากการศึกษาพิเศษตามแนวคิด เกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของโรงเรียนในการใหความรูแก

ผูปกครองเกี่ยวกับพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย (กุลยา ตันติผลาชีวะ, 2551, หนา 9-87; และสุภาวิณี ลายบัว, 2554, หนา 34) และการสรางความตระหนักเกี่ยวกับ พัฒนาการที่บกพรองลาชาตลอดจนความจําเปน รวมถึงประโยชนที่ผูเรียนกลุมดังกลาวจะไดรับจาก การศึกษาพิเศษที่ปรากฏในกฎหมาย IDEA

2.3 ทุกฝายที่เกี่ยวของกับผูเรียนปฐมวัย ปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของตนตามแนวคิดในการ ทํางานรวมกันของทีมสหวิชาชีพในการระบุความ ตองการพิเศษที่ปรากฏในกฎหมาย IDEA

ขอเสนอแนะ

1. ภาครัฐควรกําหนดนโยบาย พัฒนาระบบ และกลไกเพื่อสนับสนุนใหผูเรียนไดพัฒนาตามวัยและ ศักยภาพ ตลอดจนติดตามพัฒนาการ คนหาและสนับสนุน ใหผูเรียนที่มีความตองการพิเศษไดรับ ความชวยเหลือ ตามความตองการของแตละบุคคลใหดําเนินอยางเปน ระบบที่ไดมาตรฐานโดยขับเคลื่อนใหมีการดําเนินการสู

การปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม

2. ผูปกครอง แพทย/บุคลากรทางการแพทย

และโรงเรียนในฐานะผูที่มีสวนเกี่ยวของกับผูเรียน ปฐมวัยมีบทบาทหนาที่ในการอบรมเลี้ยงดูตลอดจน

(8)

สงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยใหเหมาะสมตามวัยและ เต็มตามศักยภาพ ติดตามการพัฒนาของเด็ก ใหความ รวมมือในการคนหา และสนับสนุนผูที่มีความบกพรอง ลาชาไดรับความชวยเหลือทางการศึกษาพิเศษตาม ความตองการจําเปนของแตละบุคคลโดยเร็ว

3. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป

1) ศึกษารูปแบบการคนหาผูที่มีความ ตองการพิเศษตั้งแตแรกเกิด-3 ป

2) ศึกษารูปแบบการคนหา รับรองความ ตองการพิเศษ และจัดบริการแบบเบ็ดเสร็จในโรงเรียน

3) ศึกษารูปแบบการพัฒนาการสรางการ ยอมรับถึงพัฒนาการที่บกพรองลาชาที่ปรากฎในบุตร หลานของผูปกครอง

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือ

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2551). การศึกษาสําหรับผูปกครองเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: เบรน-เบส บุค.

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สํานักงาน. (2555). แผนพัฒนาการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการระยะ 5 ป

(พ.ศ. 2555-2559). กรุงเทพฯ: ดุสิต.

นิชรา เรืองดารกานนท. (2554). การติดตามเฝาระวังพัฒนาการ. ตําราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กสําหรับเวช ปฏิบัติทั่วไป ใน ทิพวรรณ หรรษคุณาชัย, รวิวรรณ รุงไพรวรรณ และชาคริยา ธีรเนตร (บรรณาธิการ). ตํารา พัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก สําหรับเวชปฏิบัติทั่วไป. กรุงเทพฯ: บียอนด เอนเทอรไพรซ.

ผดุง อารยะวิญู. (2554). อาร ที ไอ กระบวนการสอนแนวใหม (RtI: Response to Instruction). นครปฐม:

ไอ.คิว.บุคเซ็นเตอร.

เลขาธิการสภาศึกษา, สํานักงาน. (2550). นโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาเด็กปฐมวัย (0-5 ป) ระยะยาว 2550-2559. กรุงเทพฯ: วี ซี ที คอมมิวนิเคชั่น.

วัชรา ริ้วไพบูลย, ปทมา ศิริเวช, พรรณพิมล วิปุลากร, ชาติชาย มุกสง และแพรว เ อี่ยมนอย. (2553). การจัดการ ความรูและสังเคราะหแนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล: ประสบการณการ ทํางานสรางเสริมสุขภาพคนพิการ. กรุงเทพฯ: สหมิตรพริ้นติ้งแอนดพับลิสชิ่ง.

วิชาการ, กรม. (2546). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ: ครุสภาลาดพราว.

ศรียา นิยมธรรม และคณะ. (2546). การศึกษาพิเศษ. ในโครงการสารานุกรมศึกษาศาสตรคณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศรียา นิยมธรรม. (2548). การเรียนรวมสําหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: แวนแกว.

(9)

บทความในวารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ

จิตราพรรณ เวชพร และชาคริยา ธีรเนตร. (2554). ผลของการใชแบบสอบถามเพื่อประเมินพัฒนาการโดยผูปกครอง (PEDS) เพื่อประเมินปญหาพัฒนาการและพฤติกรรมในคลินิกเด็กดีทีโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา. วารสารกุมารเวช ศาสตร, 50(1), 59-68.

เอกสารอื่นๆ

กิตติ ไชยลาภ, นรินทร สังขรักษา และสุธีกาญจน ไชยลาภ. (2550). รายงานวิจัยเรื่อง ระบบการเฝาระวังและ ปองกันความพิการในชุดโครงการศึกษาวิจัยยุทธศาสตรบูรณาการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ.

กรุงเทพฯ: เอกพิมพไท.

ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2551). รายงานการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานโครงการจัดกิจกรรมการ พัฒนาคุณภาพเด็กพิการ กลุมเปาหมาย (อายุ 0-5 ป) และปฐมวัยโดยเครือขายพอแมผูปกครอง ปการศึกษา 2551 โรงเรียนการศึกษาพิเศษ และศูนยการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสํานักงาน พระพุทธศาสนาแหงชาติ.

สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ, คณะกรรมการ. แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ

ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2555-2559. กรุงเทพฯ: เทพเพ็ญวานิสย.

สุภาวิณี ลายบัว. (2554). ความสัมพันธระหวางการใหความรูแกผูปกครองกับความรูของผูปกครองในการ สรางเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในสถานศึกษา เขตอําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี.

วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม.

ปทุมธานี: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

สุวิมล อุดมพิริยะศักย. (2553). เอกสารประกอบการสอนวิชา สัมมนาการศึกษาแบบเรียนรวม. กรุงเทพฯ:

หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

Bateman, T. & Snell, S. A. (2007). Management Leading & Collaborating in a Competitive World. (7th ed.) NY : McGraw-Hill.

California Department of Education. (2000). Handbook on Assessment and Evaluation in Early Childhood Special Education Programs. Sacramento: California Department of Education.

---. (2001). Handbook on Developing and Implementing Programs and Services. California Department of Education: Sacramento.

---. (2005). Handbook on Transition from Early Childhood Special Education Programs.

Sacramento: California Department of Education.

Dessler, G. (2004). Management, Principles and Practices for Tomorrow’s Leaders. New Jersey: Pearson Education.

(10)

Kovaleski, J. & Prasse, D. (2004). Response to Instruction in the Identification of Learning Disabilities: A guide for School Teams. In A. Canter, et al. (Eds.), Helping Children at Home and School II:

Handouts for Families and Educators. Bethesda, MD: National Association of School Psychologists.

Robbins. S. P. & Coulter, M. (2003). Management. (7th ed.) Pearson Education.

United Nations. (2007). Biwako Millennium Framework for Action: Towards an Inclusive, Barrier-free and Rights-based Society for Persons with Disabilities in Asia and the Pacific. New York: UNdoc.

Weihrich, H. & Koontz, H. (1993). Management: A Global Perspective. (10th ed.) McGraw-Hill Int.

Dunst, C. J. & Trivette, C. M. (2004). Toward a categorization scheme of child find, referral, early identification and eligibility determination practices. Tracelines, 1(2), 1-18.

Foo, A. & Chaplais, J. (2008). Efficacy of pre-school surveillance services in identifying children with special needs. Community Pract, 81(1), 18-21.

Kapil, S., Robert, G. & Tamsin, F. (2006). Barriers to the identification of children with attention deficit/hyperactivity disorder. Journal of Child Psychology and Psychiatry, 47(7), 744–750.

Klingner, J. K., & Harry, B. (2006). The special education referral and decision-making process for English language learners: child study team meetings and placement conferences. Teachers College Record, 108(11), 2247–2281.

NAEYC. (1994). NAEYC position statement: a conceptual framework for early childhood professional development, adopted November 1993. Young Children, 49(3), 68–77.

Sayal, K. (2006). Annotation: Pathways to care for children with mental health problems. Journal of Child Psychology and Psychiatry, 47(7), 649–659.

Shevell, MI., Majnemer, A., Rosenbaum, P. & Abrahamowicz, M. (2001). Profile of referrals for early childhood developmental delay to ambulatory subspecialty clinics. Journal of Child Neurology, 16 (9), 645-50.

Trivette, C. M. & Dunst., C. J. (2006). Tracking pathways of referrals to early intervention. Snapshot, 2(5), 1-4.

National Association for the Education of Young Children (NAEYC) & the National Association of Early Childhood Specialists in State Departments of Education (NAECS/SDE), Position statement: early

childhood curriculum, assessment and program evaluation. Washington DC: NAEYC. Adopted November 2003.

(11)

Thornberg, R. (2008). Multi-professional prereferral and school-based health-care teams: a research review (FOG-report no 62). Linköping: Department of Behavioural Sciences and Learning (IBL), Linköping University: Sweden.

UNICEF and WHO. (2012). Early childhood development and disability: A discussion paper.

Birth to 6 Health Systems Committee of the Professional Development Initiative, Wisconsin Early Childhood Collaborating Partners (9/2006, revised 10/ 2010). (Online). Available:

http://www.collaboratingpartners.com. Accessed (28/3/2012).

Biwako Millennium Framework for Action: Towards an Inclusive, Barrier-free and Rights-based Society for Persons with Disabilities in Asia and the Pacific. (2003). (Online). Available: http://www8.cao.go.jp.

Accessed (10/6/2010).

Child Find. (2012). (Online). Available: http://www.childfindidea.org. Accessed (10/1/2012,).

Hillier, S. L., Civetta, L. and Pridham, L. (2010). A systematic review of collaborative models for health and education professionals working in school settings and implications for training. Education for Health, 10. (Online). Available: http://www.educationforhealth. Accessed (13/1/2012).

IDEA. (2004). Individuals with Disabilities Education Improvement Act of 2004. (Online). Available:

http://www.emsc.nysed.gov. Accessed (24/8/2010).

NICHY. (2012). 10 Basic Steps in Special Education. (Online). Available: http://nichcy.org. Accessed (10/1/2012).

No Child Left Behind. (Online). Available: http://www2.ed.gov. Accessed (10/1/2012).

UN Standard Rules on Equalization of Opportunities for Persons with Disabilities. (Online). Available:

http://www.un.org. Accessed (8/8/2011).

UNICEF. (2012). Ten Messages about Children with Disabilities. (Online). Available: http://www.unicef.org.

Accessed (2012/March/10).

Referensi

Dokumen terkait

Case study is a method that describes the type of research on a particular object during a certain period of time, or a phenomenon that is determined in a place that is

The research objectives were to find out the effect soft TQM elements that consist of top management commitment, continuous improvement, training and education,